Top Banner
แนวปฏิบัติทางคลินิก CNPG: นวัตกรรม สูความ เปนเลิศ มนตบงกช กนกนันทพงศ งานการพยาบาลตรวจรักษาผูปวยนอก โรงพยาบาลศิริราช 15 สิงหาคม 2551
58

CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

Jul 23, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

แนวปฏิบัติทางคลินกิ

CNPG: นวัตกรรมสูความ เปนเลิศ

มนตบงกช กนกนนัทพงศงานการพยาบาลตรวจรักษาผูปวยนอก

โรงพยาบาลศริิราช

15 สิงหาคม 2551

Page 2: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

2

มาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ พ.ศ. 2544

“การปฏิบัติบนพื้นฐานของศาสตรทางการพยาบาลและศาสตรที่เกี่ยวของที่ทันสมัย โดยยึดผูปวยเปนศูนยกลาง มีการทบทวน ประเมินการดูแลผูรับ บริการอยางเปนระบบ มีการนําความรูจากการวิจัยมาประยุกตใชในการปฏิบัติเพื่อ

พัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ

อยางตอเนื่อง”

Page 3: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

3

CNPG

แนวทางการดูแลผูปวยอยางเปนระบบ

- มกีารดูแลที่เหมาะสม- เปนการบริการพยาบาลที่มคีุณภาพ- มคีวามเทาเทียมกัน- มกีารปฏิบัติพยาบาลในแนวทางเดียวกัน

CNPG ของสภาการพยาบาลไดสรางแลวเสร็จ 54 ฉบับ โดยอนุกรรมการพัฒนา CNPG จากกลุมพยาบาลผูทรงคุณวุฒิเฉพาะสาขา

Page 4: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

4

กวาจะมาเปน CNPG Fallเริ่มวิเคราะหปญหาจากสถานการณจริง

ป 2546 ศึกษาปจจัยเสี่ยงและระดบัความเสี่ยงตอการพลัดตกหกลมของผูปวยศัลยกรรม

ป 2547 โครงการปองกนัการพลัดตกหกลมของผูปวยจักษุ

ป 2548 – ปจจบุัน ฝายการพยาบาล ตั้งคณะทํางาน สรางแนวปฏิบตัพิยาบาลเพื่อปองกนัการพลัดตกหกลมของผูปวย

ในโรงพยาบาล

Page 5: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

5

เริ่มวิเคราะหปญหาจากสถานการณจริง

สืบเนื่องจากมีปญหาการลื่น เซ หกลมของผูปวยทางจักษุการพลัดตกหกลมของผูปวยในโรงพยาบาล เปนปญหาการบริหารความเสี่ยงที่สําคัญ เปน Safety Goal ของโรงพยาบาลอัตราการพลัดตกหกลมเกือบทุกๆงานฯ ยังคงมีอยางตอเนื่องแนวทางปฏิบัติในการปองกันการพลัดตกหกลมยังไมชัดเจน/ ไมเปนระบบการพลัดตกหกลมมผีลกระทบตอ รางกาย จิตใจ สังคม เศรษฐกิจของผูปวย รวมถึงตอองคกร และบุคลากรเปนปญหาที่สะทอนใหเห็นถึงมาตรฐานดานการบริการสุขภาพ และความนาเชื่อถือของโรงพยาบาล

Page 6: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

6

ศึกษางานวิจัย:การพลดัตกหกลม

# Acute care มีการพลัดตกหกลมในหองผูปวยมากกวา 80%(Hendrich,1998,2004)

# มีผูสูงอายุลม 7 ลานคนตอป (Perry,1982, and Ray, 1992,as referenced in Monane, 1996)

# การพลัดตกหกลมสวนใหญเกิดขึ้นขณะ ผูปวยลุกจากเตียง กําลังเดิน หรือปนขางเตียง (Lane,1999; Mosley, 1998)

# ในแตละป มีผูที่มอีายุเกิน 65 ป พลัดตกหกลมมากกวา 1/3(Hausdorf,2001, Hornbrook,1994)

etc

Page 7: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

7

ปจจัยเสี่ยงตอการพลัดตกหกลม ไดแก- ปจจัยเสี่ยงภายใน (Intrinsic factors)

- ปจจัยเสี่ยงภายนอก (extrinsic factors)

การปองกันการพลัดตกหกลม ประกอบดวย- ประเมินปจจัยเสี่ยงและระดับความเสี่ยงภายในของผูปวย

- ประเมินสิ่งแวดลอมในหอผูปวย

- ปฏิบัติตามแนวทางการปองกันการพลัดตกหกลม

Page 8: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

8

จากสารนิพนธ สูแนวปฏิบัติทางคลินิกสารนิพนธเรื่อง RISK FACTORS AND RISK LEVEL OF FALLS AMONG SURGICAL PATIENTS ป 2003 ทําการศึกษาในหอผูปวยศัลยกรรม 8 แหง ใชแบบประเมินความเสี่ยงและระดับความเสี่ยงของ Hendrich Fall

Risk Model © 2002 (Hendrich A.L.,et al.,2003) ประกอบดวยปจจัยเสี่ยง 8 ขอ คะแนนรวมทั้งหมด = 16 คะแนน แบงระดับความเสี่ยง 0 คะแนน = ไมมีความเสี่ยง คะแนนรวม 1 – 4 มีความเสี่ยงต่ํา คะแนนรวม ≥ 5 มคีวามเสี่ยงสูง

Page 9: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

9

ปจจัยเสี่ยง 8 ขอ (Hendrich Fall Risk Model © 2002)

อาการสับสน/ไมรูวัน เวลา สถานที่อาการซึมเศรา

การขับถายอุจจาระ / ปสสาวะผิดปกติอาการวิงเวียน / บานหมุนเพศชาย

ไดรับยากันชัก (Antiepileptics)

ไดรับยาประเภท Benzodiazepinesความแข็งแรงของกลามเนื้อชวยยืนและเดิน

Page 10: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

10

ผลการศึกษา

ผูที่มรีะดับความเสี่ยงสูงตอการพลัดตกหกลมมีรอยละ 23.2 – 38.5

ระดับความเสี่ยงสูงตอการพลัดตกหกลม มีมากที่สุดหลัง admit14 วัน รอยละ 38.5

คะแนนความเสี่ยงตอการพลัดตกหกลม มี คะแนนสูงสุด 13 คะแนน ในวันที่ 1 และ 2 หลัง admit

ผูปวย ที่มีอายุ 16-40 ป และ ≥ 61 ป มี ความเสี่ยงสูง ตอการพลัดตกหกลมรอยละ 36.2 และ 35.3 ตามลําดับ

Page 11: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

11

ผลการศึกษา (ตอ)

ผูปวยที่มคีวามเสี่ยงสูงตอการพลัดตกหกลมในงานศัลยกรรม ไดแก- ผูปวยที่ไดรับอบุตัิเหตุรอยละ 71.4

- ผูปวยระบบประสาทรอยละ 46.2

ปจจัยเสี่ยงตอการพลัดตกหกลมที่พบมากที่สุดไดแก ความแข็งแรงของกลามเนื้อที่ชวยในการยืนและเดินรอยละ 58.3

ปจจัยเสี่ยงตอการพลัดตกหกลมภายนอก

- ภายในหองน้ํา ¤ ไมมีรองเทาเปลี่ยนรอยละ 60.8

Page 12: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

12

ผลการศึกษา (ตอ)

ปจจัยเสี่ยงตอการพลัดตกหกลมภายนอก

- ขางเตียง ¤ เตียงสูงมากกวา 51 เซนติเมตรรอยละ 95.8

¤ ระยะหางของเตียงมีความแคบรอยละ 40.8

¤ ไมมีสัญลักษณแสดงวามีความเสี่ยงตอการพลัดตกหกลมรอยละ 100

¤ ไมมีเกาอี้เหยียบขึ้นเตียงรอยละ 98.3

¤ เตียงอยูไกลจากหองน้ํารอยละ 70

Page 13: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

13

เริ่มทดลองใชในการปฏบิัติงาน

หนวยตรวจโรคจักษุเปนหนวยงานที่ใหบริการดูแลรกัษาผูปวยที่มีปญหาทางดานสายตา ทุกเพศ ทุกวัย ปจจุบัน จํานวนผูปวยมีถึง 400-500 คนตอวัน และสวนใหญจะเปนผูสูงอายุ ปญหาการพลัดตกหกลมเปนปญหาสําคัญในเรื่องความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได โดยเฉพาะในโรงพยาบาลเกดิโครงการปองกนัการพลดัตกหกลมของผูปวยจกัษุ ป 2547

- สรางแบบประเมินปจจัยเสี่ยงและระดับความเสี่ยงตอการพลัดตกหกลม- สรางแบบประเมินสิ่งแวดลอมมีการปรับรูปแบบใหเหมาะสม และสะดวกตอการปฏิบัติงานของบุคลากร- ประเมินผลจากอัตราการพลัดตกหกลมที่ลดลง และความพึงพอใจทั้งของผูปวยและบุคลากร

Page 14: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

14

การปองกันการพลัดตกหกลม

ของผูปวยในโรงพยาบาลศิริราช

โดยฝายการพยาบาลแตงตั้งคณะทํางานขึ้น

สรางแนวปฏิบตัพิยาบาลเพื่อ

ปองกนัการพลดัตกหกลมในโรงพยาบาล

เมื่อ ตลุาคม 2548

Page 15: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

รวมทีมเพื่อพัฒนา CNPG

จีรพันธุ คําโสภามนตบงกช กนกนนัทพงศ

หัวหนาโครงการทิพยสุดา ชํานาญศรีเพช็ร ทัศนีย อินทรสมใจ

Page 16: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

16

แนวคิดในการสรางแนวปฏิบัติพยาบาล

Research Utilizationการใชผลงานวิจัย ในการปฏิบัตกิารพยาบาล เพื่อพัฒนา

คุณภาพการพยาบาล

Evidence -Based Practice (EBP)การใชความรูเชิงประจักษ เปนการปฏิบัติที่รอบคอบ และอยู

บนพืน้ฐานของขอมลูทางวิทยาศาสตร

Page 17: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

17

ประโยชนที่ไดจากการนําผลการวิจัยมาใช

ตอหนวยงานและองคการ

เปนการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล มีการจัดการกับปญหาของการพลัดตกหกลมอยางเปนระบบ8 ประเมินปจจัยเสี่ยงภายใน8 สํารวจสิ่งแวดลอมภายนอกใหไดตรงตามมาตรฐาน8 ปฏิบัติพยาบาลเพื่อปองกันการพลัดตกหกลมตามปจจัยเสีย่ง

และระดับความเสี่ยงที่ประเมินพบ

Page 18: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

18

ประโยชนทางคลินิก

ลดความรุนแรงจากการเกดิการพลัดตกหกลม

ลดอตัราการเกดิการพลัดตกหกลม

Page 19: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

19

กระบวนการ Research Utilization

∗ ระบปุระเดน็ปญหา

∗ การสืบคนงานวิจัย

∗ เลือกงานวิจัย วิเคราะห และสังเคราะห

∗ สราง (CNPG)และคูมือฯ และประเมินความเปนไปไดในการ

นําไปใช

∗ ตรวจสอบความแมนตรงเชิงเนื้อหาโดยผูทรงคุณวุฒิ

∗ นําไปใชเพื่อทดสอบผล

∗ ลงสูการปฏิบัติจริงทั้งองคกรและพัฒนาใหยั่งยืน

Page 20: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

20

ระบุประเด็นปญหา Fall

High riskHigh costHigh volume

Page 21: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

21

การสืบคนงานวิจัยกําหนดคําสําคัญ fall,fall risk,fall prevention fall management fall risk assessment acute care setting systemetic review guideline ….. etc

Page 22: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

22

แหลงขอมลูในการสืบคน

OVIDBlackwell-SynergyPub MedCINAHLScience Directwww.guideline.govwww.joannabriggs.edu.auReference list

Page 23: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

23

เกณฑการคัดเลือกงานวิจัยทีเ่กี่ยวของ

เปน full text เทานั้นเปนงานวิจัยตั้งแต ป ค.ศ. 1999-2007ศึกษาในผูปวย Adult ที่รบัไวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ทุติยภูมิ หรือ acute careมีกิจกรรมการพยาบาลที่เกี่ยวของกับการดูแลผูปวยเพื่อปองกันการพลัด

ตกหกลม

ผลของการศึกษา ผูปวยไดรับการดูแลเพื่อปองกันการพลัดตกหกลม อุบัติการณลดลง บุคลากรพึงพอใจในการปฏิบัติ

Page 24: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

24

ผังการสืบคนงานวิจัย

Page 25: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

25

เกณฑในการประเมนิระดบัของหลกัฐาน (Level of evidence)

ใชเกณฑตามขอเสนอของ Stetler และคณะ (1998)ระดับ I Meta analysis of RCTระดับ II Experimental Studies (RCT)ระดับ III Quasi experimental studies, case-control

studiesระดับ IV Non-experimental studies (Descriptive,

Correlation, Qualitative studies)ระดับ V Program evaluation, Research utilization

studies, Quality improvement projects,Case reports

ระดับ VI Opinion of respected authorities or expert committees.

Page 26: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

26

สรุปงานวิจัยที่สบืคนได

งานวิจัยที่สืบคนไดและใชไดทั้งหมดมี 28 เรื่อง- Descriptive 17 เรื่อง- RCT 2 เรื่อง- Meta analysis 2 เรื่อง- Systematic review 3 เรื่อง- Protocol 1 เรื่อง- Guideline 3 เรื่อง

Page 27: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

27

ตารางวิเคราะหวิจารณ

และประเมินคุณภาพงานวิจัย

Page 28: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

28

หลักฐานที่ใชในการสนับสนุน

ขอเสนอแนะ

(Evidence support the recommendations)

Page 29: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

29

GUIDELINEตามรูปแบบ

National Guideline Clearinghouse

Page 30: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

30

คูมือการปฏิบัติพยาบาล

เพื่อปองกันการพลัดตกหกลม

ของผูปวยในโรงพยาบาล

Page 31: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

31

แนวปฏิบัติเพื่อปองกันการพลัดตกหกลม

ประเมินปจจัยเสี่ยงภายใน (F1)ควบคมุสิ่งแวดลอมใหไดตรงตามมาตรฐาน (F2)สํารวจสิ่งแวดลอมใหเปนไปตามมาตรฐาน (F2)ปฏิบัติพยาบาลเพื่อปองกันการพลัดตกหกลมตามปจจัยที่ประเมินพบ

และระดับความเสี่ยง (F4)

Page 32: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

32

ALGORITHM

Page 33: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

33

แบบประเมินความเสีย่งตอการพลัดตกหกลม

Page 34: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

34

การใชแบบประเมินความเสี่ยงตอการพลัดตกหกลม (F 1)

Page 35: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

35

การใหคะแนนการประเมิน

ดวยแบบประเมินความเสีย่งตอการพลัดตกหกลม 1. อาการสับสน/ไมรูวัน เวลา สถานที่ ประเมิน โดยมีคําถามดังนี้

“ตอนนี้เวลากลางวันหรือกลางคืน”“ ตอนนี้ คุณอยูที่ไหน”ชี้ที่พยาบาลและถามวา “คนนี้เปนใคร”

ถาผูปวยตอบไมไดเพียงขอใดขอหนึ่ง หรือตอบไดบางขอให 4 คะแนน ถาตอบไดทุกคําถามให 0 คะแนน

Page 36: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

36

การใหคะแนนการประเมิน

ดวยแบบประเมินความเสีย่งตอการพลัดตกหกลม (ตอ)

2. อาการซึมเศรา ประเมินจากการซักถามผูปวยหรือญาติวา ในชวง 1 สัปดาหที่ผานมา คุณมีความรูสึกเหลานี้หรือไม โดยมีคําถามดังนี้ 2.1 “คุณมีความรูสึกหดหูใจหรือไม”2.2 “คุณมีความรูสึกเบื่อหนายหรือไม”2.3 “ คุณมีความรูสึกกระวนกระวายใจหรือไม”2.4 “ คุณรูสึกไมมีความสุขหรือไม ”2.5 “คุณรูสึกเศราเกือบทุกวันหรือไม ”

ถาผูปวยมีอาการขอใดขอหนึ่ง หรือมีมากกวา 1 ขอ หรือมีทุกขอ ให 2 คะแนนถาไมมอีาการดังกลาวเลย ให 0 คะแนน

Page 37: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

37

การใหคะแนนการประเมิน

ดวยแบบประเมินความเสีย่งตอการพลัดตกหกลม (ตอ)

3. การขับถายผิดปกติ ประเมิน โดยมีคําถามดังนี้3.1 “ คุณมีอาการปสสาวะเล็ดหรือกลั้นปสสาวะไมได หรือไม ”3.2 “ ตอนกลางคืน คุณลุกขึ้นมาปสสาวะ กี่ครั้ง ” (ถา 4 ครั้ง หรือมากกวา หมายถึง มีความเสี่ยง)

3.3 “ คุณมีอาการทองเสียหรือทองเดิน หรือไม ”ถามีอาการอยางใดอยางหนึ่งให 1 คะแนน ถาไมมีอาการเหลานี้เลย ให 0

คะแนน

หมายเหต ุในกรณีที่ผูปวยใสสายสวนปสสาวะแลวไมมีอาการผิดปกติใดๆ ให 0 คะแนน แตถาหากมีอาการผิดปกติ เชน ปวดแสบบริเวณ urethra ปวดเบง หรือรูสึกไมสุขสบาย ให 1 คะแนน

Page 38: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

38

การใหคะแนนการประเมิน

ดวยแบบประเมินความเสีย่งตอการพลัดตกหกลม (ตอ)

4. อาการวิงเวียน/ บานหมุน ประเมนิจากการซักถามผูปวย โดยมคีําถาม

“ คุณมีอาการมนึ เวียนศีรษะ หรือบานหมนุหรอืไม ”ถาผูปวยมอีาการอยางใดอยางหนึง่ ให 1 คะแนน ถาไมมอีาการ ให 0 คะแนน

Page 39: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

39

การใหคะแนนการประเมิน

ดวยแบบประเมินความเสีย่งตอการพลัดตกหกลม (ตอ)

5. ไดรับยาประเภท : anticonvulsants (2 คะแนน)

benzodiazepines (1 คะแนน) / sedatives (1 คะแนน) /

diuretic (1 คะแนน) antihypertensive (1 คะแนน) /

antiemetics (1 คะแนน) /antipsychotics (1 คะแนน) /

narcotics (1 คะแนน)

(รวมคะแนนยาที่ไดรับแตละอยาง)

Page 40: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

40

การใหคะแนนการประเมิน

ดวยแบบประเมินความเสีย่งตอการพลัดตกหกลม (ตอ)

7. ทดสอบความแข็งแรงของกลามเนื้อ ประเมินดวย แบบทดสอบ

GET-UP-AND-GO TEST # 2 โดยใหผูปวยลุกยืนจากเกาอี้และเดิน

∗สามารถลุกขึ้นยืนไดเอง และเดินอยางนอย 5 กาวโดยไมลม ไมเซ

ได 0 คะแนน

∗ พยายามผลักตวัขึ้นเพียง 1 ครั้ง และสามารถยืนได ได 1 คะแนน

∗ พยายามหลายครั้ง และสามารถลุกยืนได ได 3 คะแนน

∗ ไมสามารถลุกขึ้นยืนไดเอง ตองมีผูชวยเหลือ ได 4 คะแนน

Page 41: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

41

คะแนนรวมของแบบประเมินทั้งชุด มคีะแนนอยูระหวาง 0 – 25 คะแนน และแบงระดบัความเสีย่งไดดังนี้

คะแนนรวม 0 ไมมีความเสี่ยงตอการพลัดตกหกลม

คะแนนรวม 1 – 4 มีความเสี่ยงตอการพลดัตกหกลมระดับต่ํา

คะแนนรวม > 4 มีความเสี่ยงตอการพลดัตกหกลมระดับสูง

Page 42: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

42

การปฏิบัติพยาบาลเพื่อปองกันการพลัดตกหกลม

Page 43: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

43

แบบสํารวจสิง่แวดลอมในหอผูปวย

เพื่อปองกันการพลัดตกหกลม

Page 44: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

44

เผยแพร CNPGฝายการพยาบาล

- จัดประชุมชีแ้จงบุคลากรโดยคณะทํางาน ประเด็นปญหาจากการพลัดตกหกลม

จํานวนและความรุนแรงที่เกิดขึ้น

การปฏิบัติในรูปแบบเดิม

กระบวนการไดมาซึ่ง CNPGการเลือกแบบประเมินฯ

- External review

Page 45: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

45

ฝายการพยาบาลกําหนดเปนนโยบาย

ทําความเขาใจรวมกับคณะกรรมการความเสี่ยง

จัดWorkshop สํารวจสภาพแวดลอม และปรับเปลี่ยนใหไดตามมาตรฐานทดลองใชแบบประเมินทั้ง F1, F2 และ F4ประเมินผลการทดลองใช แบบประเมิน ความพึงพอใจของผูปฏิบัติงานเสนอความเห็น ปรับปรุงแกไขฝายการพยาบาลจัดประชุมชีแ้จงแกผูปฏิบัติ 3 ครั้ง โดยคณะทํางาน

Page 46: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

WORKSHOP

Page 47: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

47

ผูบริหารความเสี่ยงประชุมรวมกันทุกเดือน

ผูประสานงานดานความเสี่ยง (RM Network) ของแตละงานพยาบาลนํานโยบายจากการประชุมรวมกันกับผูบริหารความเสี่ยงฯ ลงสูผูปฏิบัติ

กระบวนการและการนําลงสูการปฏิบัติ

Page 48: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

48

กระบวนการและการนําลงสูการปฏิบัติ (ตอ)

1.การประเมินผูปวย (ปจจัยภายใน) ดวย F1โดยพยาบาล1.1 ประเมินผูปวยเมื่อแรกรบัทุกราย 1.2 ประเมินทุกเวร1.3 ประเมินซ้ําเมื่อผูปวยมีอาการเปลี่ยนแปลง / หลังทําหัตถการ

/ เริ่มม ีAmbulation

2. จัดสิ่งแวดลอมในหอผูปวยใหไดตามมาตรฐาน

Page 49: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

49

กระบวนการและการนําลงสูการปฏิบัติ (ตอ)

3. การสํารวจสิ่งแวดลอม (ปจจัยภายนอก) บริเวณรอบเตียงผูปวยและภายในหอผูปวยดวย F2 โดยผูชวยพยาบาล

3.1 สํารวจทุกเวร3.2 เมื่อพบวาสิ่งแวดลอมใดไมตรงตามมาตรฐาน ใหดําเนินการ

แกไข สงซอม หรือเบิกใหมทันท ี

Page 50: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

50

กระบวนการและการนําลงสูการปฏิบัติ (ตอ)

4. การปฏิบัติเพื่อปองกันการพลัดตกหกลม4.1 ประชุมทมีการพยาบาลกอนใหการดูแลผูปวยทุกวัน

(Pre-conference)4.2 ปฏิบัติตามแนวทางการปองกันการพลัดตกหกลมตามระดับความเสี่ยง

และปจจัยที่ประเมนิพบ อยางเครงครัด 4.3 จัดสิ่งแวดลอมในหอผูปวย เพื่อปองกันการพลัดตกหกลมเสมอ

ใหไดตามมาตรฐานตลอดเวลา 4.4 สื่อสารกับทีมสหสาขา เมื่อผูปวยมีความเสี่ยง4.5 ใหความรูแกญาติผูปวยหรือผูดูแล ในการปองกันการพลัดตกหกลม

ทั้งในโรงพยาบาลและที่บาน

Page 51: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

51

กระบวนการและการนําลงสูการปฏิบัติ (ตอ)

5. การบันทึกทางการพยาบาล5.1 ผูปวยที่มีความเสี่ยง ใหทําการบันทกึลงในเอกสารทางการ

พยาบาล (Nurses’ note) ทุกเวร

5.2 เมื่อผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาล ใหเก็บแบบประเมินปจจัยเสี่ยงไวในรายงานของผูปวย

5.3 ผูปวยที่เกิดการพลัดตกหกลม ใหปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติหลังเกิดการพลัดตกหกลม (F5) และบันทึกลงในแบบบันทกึoccurrence report form และเมื่อผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาล ใหแยกเก็บสงคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของแตละงานการพยาบาล

Page 52: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

ประเมินเมือ่แรกรับ และใหคําแนะนําการปองกันพลัดตกหกลมแกผูปวยและญาติ

Page 53: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

ใช WRIST BAND สีฟา, สัญลักษณตัว F แสดงความเสี่ยงตอการพลดัตกหกลม

Page 54: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

จัดสิ่งแวดลอมใหไดตามมาตรฐาน

พื้นหองไมเปยกลื่น มรีาวติดที่ผนังใหจับ

มีที่เหยยีบขึน้เตียงติดปาย F หนาหอง

Page 55: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

55

การประเมินผล

ตดิตามประเมินผลโดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ

แตละงานการพยาบาลทุกเดอืน โดยมีระบบการติดตามดงันี้8แบบประเมิน ( ความถูกตองในการประเมิน ความถี่ในการประเมินและปญหาอืน่ๆในการประเมิน ) โดย RM Network8การสํารวจสิ่งแวดลอม 8เมื่อเกิด Fall ทาํการทบทวนเพื่อหาสาเหตุของการเกิดอุบัติการณทุกครั้ง โดย RM Network8ผลการติดตาม ฝายการพยาบาลนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห เพื่อศึกษาคณุภาพของแบบประเมินและวิธีปฏิบัติตอไป

Page 56: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

โครงการปองกันการพลัดตกหกลม

ของผูปวยในโรงพยาบาลศิริราช

ฝายการพยาบาล ไดรับรางวัล The best Implementation

of the year 2008ของ R2R โรงพยาบาลศิริราช

เมือ่ 29 พ.ค. 2551

Page 57: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย

57

120 ป ศิริราช: ความภาคภูมิใจ9 พ.ค. 51 ศิริราชยังไดรับรางวัลแบรนดโรงพยาบาลที่ผูบริโภคในประเทศไทยเชื่อมั่นมากที่สุด(ระดับทอง)เปนปที่ 2(READER’S Digest Trusted Brands Award 2008)ซึ่งบรษิัทรีดเดอรส ไดเจสท(ประเทศไทย) จํากัด ไดสํารวจแบรนดของสินคาและบรกิารที่เลือกจากผูใช ผูบรโิภคปที่ 10 โดยมีหลักเกณฑ 6 ขอ คือ

¤ ความนาเชื่อถือ ภาพลักษณที่นาเชื่อถือ คุณภาพ คุณคา ความตองการของผูบรโิภค และความคดิริเริ่มสรางสรรค

Page 58: CNPG นวัตกรรม สู เปความ นเลิศ · 2017-09-28 · การพลัดตกหกล ผลกระทบตมมี อ ร างกาย