Top Banner
ENGINEERING METALLURGY อออออออออออออ อออออ INDUSTRIAL ENGINEERING (PTWIT) 2064317 อออออออออ ออออออออ www.sunetr.iepathumwan.com
25

Chapter1 introduction metallurgy

Mar 22, 2017

Download

Education

Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Chapter1  introduction metallurgy

ENGINEERING METALLURGY

อาจารยส์เุนตร มูลทาINDUSTRIAL ENGINEERING (PTWIT)

2064317โลหะวทิยาวศิวกรรม

www.sunetr.iepathumwan.com

Page 2: Chapter1  introduction metallurgy

เกณฑ์การให้คะแนน

Page 3: Chapter1  introduction metallurgy
Page 4: Chapter1  introduction metallurgy

บทที่ 1Introduction to Engineering Metallurgy

2064317

ENGINEERING METALLURGYLECTURER: M_SUNETR

Page 5: Chapter1  introduction metallurgy

What’s cause this ship to fracture ?

1. กระบวนการผลิต2. คณุสมบติัของวสัดุ3. การใชง้าน

Page 6: Chapter1  introduction metallurgy

Introduction to Engineering Metallurgy

วชิาโลหะวทิยา เป็นวชิาท่ีวา่ด้วยกระบวนการผลิต

โลหะ ต้ังแต่การถลงุ กระบวนการอบชุบ ตลอดจนความเสยีหายท่ีเกิดขึน้กับโลหะหลังจากใชง้านแล้ว

โดยมวีตัถปุระสงค์ เพื่อให้เราทราบสาเหตุของความเสยีหายและทราบขอ้มูลท่ีจำาเป็นต่อการปรบัปรุงระบวนการผลิตให้ดียิง่ขึน้

Page 7: Chapter1  introduction metallurgy

กระบวนการผลิตแรโ่ลหะ- แรโ่ลหะเหล็ก- แรโ่ลหะนอกกลุ่มเหล็ก เชน่ - ดีบุก (Tin)

- ตะกัว่ (Lead)- ทองแดง (Copper)- อลมูเินียม (Aluminium)- แมกนีเซยีม (Magnesium)

Page 8: Chapter1  introduction metallurgy

แรโ่ลหะเหล็ก1. การแต่งแร่ คือ การแปรสภาพสนิแรใ่ห้ได้

ขนาดและคณุสมบติัท่ีเหมาะสมต่อการถลงุ เริม่ด้วย การบดแรใ่ห้ละเอียดเพื่อแยกเหล็กจากมลทิน จากนัน้

จะทำาการแยกแรด้่วยวธิต่ีางๆ ดังนี้- แยกโดยอาศัยความถ่วงเฉพาะท่ีต่างกัน

(Float)- แยกด้วยแมเ่หล็ก (Magnetic separation)

ซึง่แรท่ี่ได้จะละเอียดเกินไป ต้องทำาให้เป็นก้อน(Agglomeration)

ดังรูปท่ี 1 ก่อนป้อนเขา้เตาถลงุ เพื่อความสะดวกในการลำาเลียง

Page 9: Chapter1  introduction metallurgy

แรท่ี่เป็นวตัถดิุบในการผลิตเหล็กมกัจะอยูใ่น รูปของ ออกไซด์, คารบ์อเนต, ซลิิเกต และ ซลัไฟด์ มี

คณุสมบติัแมเ่หล็ก ได้แก่

- Magnetite (Fe3O4) จะมเีหล็กอยูป่ระมาณ70%

- Hematite (Fe3O3) จะมเีหล็กอยูป่ระมาณ70%

- Siderite (FeCO3) จะมเีหล็กอยูป่ระมาณ60%

- Pyrite (FeS2) จะมเีหล็กอยูป่ระมาณ45%

- Limonite (HFeO2) จะมเีหล็กอยูป่ระมาณ35%Magnetite Hematite Pyrite Siderite Limonite

Page 10: Chapter1  introduction metallurgy

2. การถลงุเหล็ก คือ การแปรสภาพแรเ่หล็กให้มี ความบรสิทุธิเ์พิม่ขึน้ (%เหล็กเพิม่ขึน้) โดยการขจดัสิง่

เจอืปนต่างๆออกจากแรเ่หล็ก

- “จะทำาในเตาถลงุท่ีมอุีณหภมูสิงู เรยีกวา่ Blast furnace” ท่ีทำาขึน้จากเหล็กกล้า และหุ้มด้วยอิฐทนความรอ้น

สงู โดยบรเิวณด้านล่างจะมชีอ่งให้อากาศไหลเขา้- เชื้อเพลิงท่ีใชใ้นกระบวนการน้ีคือ ถ่านหิน- จะมกีารใช้ flux คือ หินปูน CaO หรอื CaCO3 ในการ

คลมุผิวหน้านำ้าเหล็ก และเพื่อไล่แกส

Page 11: Chapter1  introduction metallurgy
Page 12: Chapter1  introduction metallurgy

เหล็กดิบเหลวท่ีได้จะมปีรมิาณธาตุเจอืปนดังน้ี•คารบ์อน∼3.5%• ∼∼ 2%,• ∼∼ 1.5%,•ซลัเฟอร∼์1%• ฟอสฟอรสั ∼1%

Page 13: Chapter1  introduction metallurgy

3. การหลอมและการปรุงสว่นผสม และ การหลอมเหล็ก คือ การให้ความรอ้นแก่ เหล็กถลงุ (Pig iron) เหล็กพรุน

หรอืเศษเหล็ก ทำาให้เหล็กหลอมเหลวท่ีอุณหภมูปิระมาณ1600°C ในเตาหลอมท่ีมหีลายแบบ

- มกีารใส่ ปูนขาว ท่ีชอ่งด้านบนของเตา เพื่อ “ปรบัปรุงสว่นผสม เพื่อให้เกิดกระบวนการ Oxidation”

จะทำาให้เหล็กมคีวามบรสิทุธิเ์พิม่มากยิง่ขึน้ คือประมาณ90%Fe

- สำาหรบัเหล็กหล่อ จะทำาในเตาท่ีเรยีกวา่“Cupola”

Page 14: Chapter1  introduction metallurgy

เตาหลอม:FURNACE1. The basic open-hearth furnace

เป็นเตาท่ีนิยมใชใ้นการผลิตเหล็กกล้าคารบ์อนธรรมดา• เตาจะมลีักษณะอ่างต้ืน หลังคาตำ่า เวลาเผาจะวางเศษเหล็กท่ีก้นอ่างแล้วเผาโดยใชเ้ปลวไฟเผาจากด้านบนให้หลอมท่ีละขา้ง

Page 15: Chapter1  introduction metallurgy

2. The Basic oxygen furnace

กระบวนการน้ีจะจะรวมนำ้าเหล็กจากเศษเหล็กและ เหล็กถลงุเหลวในเตาทรงสงู แล้วทำาการเป่า oxygen เขา้ไปในเตาด้วยความเรว็สงู เพื่อให้เกิดการเผาไหม้

และปฏิกิรยิาในการกำาจดัธาตเุจอืปน เป็นเตาท่ีมปีระสทิธภิาพสงู

Page 16: Chapter1  introduction metallurgy

3. The electric arc furnace

• เป็นเตาท่ีใชไ้ฟฟา้โดยมอิีเลคโตรดเหน่ียวนำาใหโ้ลหะหลอมเหลว “โดย Radiation”

• นิยมใชใ้นการผลิตเหล็กกล้าผสมสงู เหล็กกล้าเครื่องมอื เหล็กกล้าไรส้นิม เป็นต้น

• เตามลัีกษณะเป็นเหล็กกล้าทรงกลมหุม้ด้านในด้วยอิฐทนไฟสามารถเอียงเพื่อท่ีจะเทนำ้าโลหะได้

Page 17: Chapter1  introduction metallurgy
Page 18: Chapter1  introduction metallurgy
Page 19: Chapter1  introduction metallurgy

แรโ่ลหะนอกกลุ่มเหล็ก1. ดีบุก (TIN)

- แรท่ี่ใชผ้ลิตดีบุก คือ Cassiterite, SnO3 พบมากในเอเชยีตะวนัออกเฉียงใต้

- เราเพยีงล้างแร่ SnO3 ท่ีมลีักษณะเป็นผงด้วยนำ้า ก็จะได้แร่SnO3 ท่ีสะอาด และสามารถนำาไปถลงุท่ีอุณหภมูปิระมาณ1200°C เพื่อกำาจดัคารบ์อน

- จากนัน้จงึทำาการแยกดีบุกออกจากสิง่สกปรกอ่ืนๆ อีกด้วย การหลอมท่ีอุณหภมูติำ่า

ในอ่างท่ีมคีวามชนั เพื่อแยกดีบุกท่ีมจุีดหลอมเหลวตำ่าออกจากสารท่ีมจุีดลอมเหลว สงูกวา่ได้- จากนัน้จงึทำาการหลอมอีกครัง้ท่ีอุณหภมูสิงูและกวนเพื่อให้สารท่ีมคีวามไวต่ออกซิ เจนทำาปฏิกิรยิาและลอยขึน้มา ( ดีบุกมค่ีา affinity ตำ่าจงึรวมกับออกซเิจนได้ยาก) หลังจากกระบวนการนี้ เราจะได้ดีบุกท่ีมคีวามบรสิทุธิถึ์ง99%

Cassiterite

Page 20: Chapter1  introduction metallurgy

2. ตะกัว่ (Lead)

- แรท่ี่นำามาถลงุ คือ Galena, (PbS) พบมากในอเมรกิา, ออสเตรเลีย, สเปน, เมก ซโิก และเยอรมนันี

- กระบวนการผลิตโดยการเพิม่ความเขม้ขน้ของตะกัว่ในแร่ และนำามาเผาเพื่อให้ เกิดออกไซด์ ( เพื่อแยก Pb ออกจาก PbS) และจะมสีารมลทิน เชน่ FeS2 อยูด้่วย

- จากนัน้ทำาการลดคารบ์อน และเผาใน blast furnace ท่ีอุณหภมู9ิ00°C- จากนัน้ทำาใหม้คีวามบรสิทุธิส์งูขึ้นด้วยการเผาในอากาศท่ี 400°C และกวนเพื่อ

ใหอ้อกไซด์ต่างๆ ลอยขึ้นมาท่ีผิวด้านบน และทำาการแยกแรเ่งินออก

Page 21: Chapter1  introduction metallurgy

3. ทองแดง (Copper)

- แรท่ี่นิยมนำามาถลงุ คือ copper sulphide, Cu2S ซึง่มกัจะมสีารมลทินคือ FeS2 บนอยูอ่นขา้งมาก- เราจงึต้องแยกเหล็กออกด้วยการเผา (Roasting), กระบวนการ oxidation ตาม

ด้วยการใช้ flux- ทองแดงเหลวจะถกูทำาให้บรสิทุธิเ์พิม่ขึน้ด้วยการเติมไมเ้นื้อแขง็ลงไป เพื่อ

กำาจดักาซออกซเิจน มเิชน่นัน้แล้วโลหะทองแดงจะเปราะเนื่องจากการเกิด Cu2O “ทองแดงท่ีได้จะเรยีกวา่ Tough-pitch copper”

- สว่นโลหะทองแดงท่ีต้องการความบรสิทุธิส์งู เชน่งานด้านไฟฟา้และอิเลคทรอ นิกส์ จะใชอี้กวธิกีารหน่ึงคือการใชว้ธิทีางเคมไีฟฟา้ ดังรูปท่ี 5

Page 22: Chapter1  introduction metallurgy
Page 23: Chapter1  introduction metallurgy

4. อลมูเินียม (Aluminium)

- แรท่ี่นิยมนำามาถลงุ เรยีกวา่ Bauxite (Hydrated aluminiumoxide, Al2O3) ท่ีพบมากใน อเมรกิาเหนือ, จาไมก้า, ยุโรปและ รสัเซยี- กระบวนการทางเคมใีนการแยกอลมูเินียอออกไซด์เรยีกวา่ “Bayer process” โดยการละลายออกไซด์ใน กรดคอสติก

ภายใต้ความดัน และอุณหภมูิ จะได้ Pure aluminiumoxide มี ความบรสิทุธิป์ระมาณ 99.4%

- จากนัน้จะทำาการหลอม และผ่านกระบวนการไฟฟา้เคมเีพื่อดึง

“อะตอมของธาตอุลมูเินียมมารวมกัน เรยีกวา่ Hall Process” ดังรูปท่ี 6 อลมูเินียมท่ีได้จากกระบวนการนี้จะมคีวามบรสิทุธิ์

99.5-99.9percent aluminium

Page 24: Chapter1  introduction metallurgy

5. แมกนีเซยีม (Magnesium)

- แรท่ี่นิยมนำามาเป็นวตัถดิุบ คือ magnesite(MgCO3), dolomite (MgCO3), brucite(MgO.H2O), carnallite(MgCl2.KCl.6H2O) และนำ้าทะเล- นิยมใชก้ระบวนการ Dow chemical electrolytic process โดยใช้ คลอไรด์ เป็น

อิเลคโตรไลท์ และใชค้ลอรนีเป็นขัว้บวก จะได้แมกนีเซยีมบรสิทุธิ์ 99.9%- วธิี Elektronprocess เริม่ด้วยการบดผง คือ magnesite(MgCO3) หรอื dolomite (MgCO3) ให้เป็นผง และทำาให้อยูใ่นรูป magnesia บดละเอียดอีกครัง้ และทำาให้

เป็น anhydrous magnesium chloride แล้วจงึเผาแยกได้แมกนีเซยีม และคลอรนี

Page 25: Chapter1  introduction metallurgy

SUMMARYกรรมวธิใีนการผลิตแรโ่ลหะ

- แต่งแร่ โดยใชห้ลักการความถ่วงจำาเพาะ , แม่เหล็ก

- บดละเอียด- ทำาให้บรสิทุธิโ์ดยการหลอม เติม Flux- ไฟฟา้เคมี

เตาหลอมท่ีใชใ้นการหลอม- The open-hearth furnace- The basic oxygen furnace- The electric arc furnace