Top Banner
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรเชษฎ์ เชษฐมาส ดร.ประเสริฐ สอนสถาพรกุล
46

Cc 3 ส.ค. 58

Apr 13, 2017

Download

Environment

Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Cc 3 ส.ค. 58

1

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรเชษฎ ์ เชษฐมาส ดร.ประเสริฐ สอนสถาพรกุล

Page 2: Cc 3 ส.ค. 58

2

1. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านการท่องเที่ยว หมายถึงอะไร2. ประเภทของขีดความสามารถรองรับได้3. ท าไมจึงต้องมีการก าหนดขีดความสามารถรองรับได้ ตามแหล่งท่องเท่ียว4. ปัจจัยหรือตัวแปรในการก าหนดขีดความสามารถรองรับได้5. แนวทางการก าหนดขีดความสามารถรองรับได้ในอุทยานแห่งชาติ6. สัมมนาและสรุป (ถาม-ตอบและข้อคิดเห็น เพื่อน าไปถ่ายทอดต่อ)

2

Page 3: Cc 3 ส.ค. 58

“ ขีดความสามารถ

รองรับได้ด้านการท่องเที่ยว

หมายถึงอะไร ? ”

3

Page 4: Cc 3 ส.ค. 58

ขีดความสามารถรองรับได้ด้านการท่องเที่ยว หรือTourism Carrying Capacity (TCC) หรือ Recreation Carrying

Capacity (RCC) หมายถึง...

“จ านวนคนสูงสุดที่อาจไปเยือนแหล่งท่องเที่ยวในช่วงเวลาเดียวกัน โดยไม่สร้างความเสียหายหรือความเสื่อมโทรมต่อสิ่งแวดล้อมทางชีวกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม-วัฒนธรรม และไม่ท าให้ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวลดน้อยลงในระดับที่ยอมรับไม่ได”้ (UNWTO, ไม่ระบุปี)

4

Page 5: Cc 3 ส.ค. 58

ประเภทของขีดความสามารถรองรับได้ มีกี่ประเภท ?

1. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านกายภาพ (Physical CC)2. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านชีวกายภาพ (Biophysical CC)3. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านสังคม (Social CC)4. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านเศรษฐกิจ (Economic CC)

5

Page 6: Cc 3 ส.ค. 58

ท าไมจึงตอ้งก าหนดขีดความสามารถรองรับได้ตามแหล่งท่องเที่ยว ?

6

Page 7: Cc 3 ส.ค. 58

7

1. ปริมาณนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มสูงขึ้น2. นักท่องเที่ยวและสิ่งอ านวยความสะดวกเป็นปัจจัยก่อให้เกิด ผลกระทบ3. แหล่งท่องเที่ยวมีขีดความสามารถรองรับได้อย่างจ ากัด4. การดูแลรักษาเอกลักษณ์-อัตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวเป็น หัวใจหลัก5. การส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวได้รับประสบการณ์ที่ดีเป็นเป้าหมาย ส าคัญ

7

Page 8: Cc 3 ส.ค. 58

8

ปัจจัยหรือตัวแปร ในการก าหนดขีดความสามารถรองรับได้ มีอะไรบ้าง ?

8

1. ที่ราบ/ผืนน้ า (flat land/water surface)

2. ความจุของที่พักแรม (accommodation capacity)

3. ปริมาณน้ าจากธรรมชาติ (water supply)

Page 9: Cc 3 ส.ค. 58

9

4. ขีดความสามารถในการจัดการขยะและน้ าเสีย (waste disposal capacity)

5. ขีดความสามารถในการให้บริการและความปลอดภัย

(service and safety rendered)

6. ระดับความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว

(levels of visitors’ satisfaction)

7. การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบด้านชีวกายภาพในระดบัที่ยอมรับได้

(levels of acceptable change on biophysical setting)9

Page 10: Cc 3 ส.ค. 58

10

แนวทางปฏิบัติเพื่อก าหนดขีดความสามารถ

รองรับได้มีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง ?

10

Page 11: Cc 3 ส.ค. 58

11

แนวทางปฏิบัติเพื่อก าหนดขีดความสามารถรองรับได้มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน

ขั้นตอนที่ 1 : อุทยานฯทุกแห่ง ต้องก าหนดขีดความสามารถรองรับได้ เป็น 2 กลุ่มเวลา๐ จ านวนนักท่องเท่ียวสูงสุดในช่วงกลางวัน (day-use)๐ จ านวนนักท่องเที่ยวสูงสุดในช่วงกลางคืน (overnight stay)11

Page 12: Cc 3 ส.ค. 58

12

ขั้นตอนที่ 2 : กรณีประเมินจ านวนนักท่องเที่ยวสูงสุดในช่วงกลางวันให้ใช้ที่ราบหรือผืนน้ าเป็นตัวตรวจวดั โดยใช้สูตร

ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = เนื้อที่ (ตร.ม.) x จ านวนคนตอ่ ตร.ม. x จ านวนช่วงเวลาต่อวัน12

Page 13: Cc 3 ส.ค. 58

13

1) เนื้อที่ หมายถึง ขนาดของพื้นผิวน้ า หรือที่ดิน ที่เป็นที่ราบหรือที่มีความลาดชันต่ า หรือน้อยกว่า 15 องศา (และไม่มีสภาพเป็นป่า หรือเป็นที่อยู่อาศัย หรือที่หากินของสัตว์ป่าส าคัญ หรือเป็นที่ตั้งของสิ่งโดดเด่นทางธรรมชาติ ) ที่ จัดให้มีกิจกรรมนันทนาการชนิดต่างๆบริการ แก่นักท่องเที่ยว 13

Page 14: Cc 3 ส.ค. 58

14

2) จ านวนคนต่อ ตร.ม. ต้องปรับค่าให้สอดคล้องกับช่วงชั้นโอกาสทางนันทนาการ (ROS) ในพื้นที่อุทยานฯ โดยก าหนดให้

เขตบริการ รับนักท่องเท่ียวได้ 1 คน โดยใช้พื้นที่ 4 ตร.ม.

เขตกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงได้ รับได้ 1คนโดยใช้พื้นที่ 6 ตร.ม. และเขตกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงไม่ได้ รวมถึงเขตสันโดษ รับได้ 1 คนโดยใช้พื้นที่ 20 ตร.ม.

3) จ านวนช่วงเวลาต่อวัน ก าหนดให้อุทยานแห่งชาติทางบกเป็น 2 ช่วงเวลา และอุทยานแห่งชาติทางทะเลเป็น 4ช่วงเวลา

14

Page 15: Cc 3 ส.ค. 58

15

ช่วงชัน้โอกาสทางนันทนาการ (ROS)

Page 16: Cc 3 ส.ค. 58

16

ตัวอย่าง เขตบริการล าตะคอง อุทยานฯเขาใหญ่ มีที่ราบโดยประมาณ(ไม่นับรวมถนน ลานจอดรถ สนามหญ้า อาคารสถานที่ที่ไม่ใช้ในการบริการนักท่องเที่ยว) 6,000 ตร.ม.

เมื่อแทนค่าในสูตรข้างต้น

ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = 6,000 x (1/4) x 2= 3,000

16

Page 17: Cc 3 ส.ค. 58

17

เขาพงิกัน อุทยานแห่งชาตอ่ิาวพังงา

Page 18: Cc 3 ส.ค. 58

18

Page 19: Cc 3 ส.ค. 58

19

ตัวอย่าง เขาพิงกัน อุทยานฯอ่าวพังงา มีที่ราบให้นักท่องเที่ยวขึ้นไปชมความมหัศจรรย์ของธรรมชาติทางธรณีวิทยา ถ่ายภาพเขาตาปู และเดินตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติ อยู่ประมาณ 1,500 ตร.ม. ชั้นโอกาสทางนันทนาการเป็นเขตก่ึงสันโดษที่เรือยนต์เข้าถึงได้ และสามารถเปิดให้เรือนักท่องเที่ยวเข้าจอดได้วันละ 4 รอบ

เพราะฉะนั้นเมื่อแทนค่าในสูตรข้างต้น

ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = 1,500 x (1/6) x 4= 1,000

19

Page 20: Cc 3 ส.ค. 58

20

กิ่วแม่ปานอุทยานแห่งชาติดอยอนิทนนท์

Page 21: Cc 3 ส.ค. 58

21

ตัวอย่าง เส้นทางศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน อุทยานฯดอยอินทนนท์ มีท่ีราบโดยประมาณ (ความยาว x ความกว้าง + ลานพักตามเส้นทาง โดยไม่นับรวมลานจอดรถ) 2,300 ตร.ม. จัดเป็นเขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่รถยนต์เข้าถึงไม่ได้ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = 2,300 x (1/20) x 2

= 230

21

Page 22: Cc 3 ส.ค. 58

22

ขั้นตอนที่ 3 : จ าแนกจุดท่องเที่ยว หรือ บริเวณที่จัดให้มีกิจกรรมนันทนาการทุกชนิด ภายใต้ชั้นโอกาสด้านนันทนาการ โดยแบ่งได้เป็น 2 กรณี

1. กรณีอุทยานฯทางทะเล

2. กรณีอุทยานฯทางบก

22

Page 23: Cc 3 ส.ค. 58

23

1. เขตบริการ หรือ เขตนันทนาการที่มีการพัฒนาแล้ว อาจประกอบด้วยพื้นที่ที่เป็นศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหาร ร้านขายของที่ ระลึก ชายหาด และลานกิจกรรม โดยไม่นับรวมท่าเทียบเรือ บังกะโล เรือนแถว ลานกางเต็นท์ และอื่นๆ

1. กรณีอุทยานฯทางทะเล

23

Page 24: Cc 3 ส.ค. 58

24

2. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษ ที่เรือยนต์/รถยนต์เข้าถึงได้ ได้แก่ เกาะที่มีการพัฒนาสิ่งอ านวยความสะดวกเท่าที่จ าเป็น เพื่อกิจกรรมนันทนาการชนิดต่างๆ เช่น กิจกรรมพักผ่อนชายหาด เล่นน้ า ด าน้ าดูปะการังน้ าตื้น เดินศึกษาธรรมชาติ และชมทิวทัศน์ ฯลฯ โดยไม่นับรวมท่าเทียบเรือ ลานกางเต็นท์ และอื่นๆ

24

Page 25: Cc 3 ส.ค. 58

25

3. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่ เรือยนต์ /รถยนต์เข้าถึงไม่ได้ และเขตนันทนาการแบบสันโดษ ได้แก่ เกาะและบริเวณโดยรอบ หรือพื้นที่บริเวณชายฝั่งที่ไม่มีการพัฒนาใดๆเลย แต่ มี นั กท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ข้ า ไ ปท า กิ จ ก ร รมนันทนาการ เช่น การด าน้ าดูปะการังน้ าลึก การเล่นเรือแคนู หรือเรือคายัค การเดินป่าระยะไกลและอาจมีการค้างแรม เป็นต้น

25

Page 26: Cc 3 ส.ค. 58

26

2. กรณีอุทยานฯทางบก

1. เขตบริการ หรือเขตนันทนาการที่มีการพัฒนาแล้ว อาจประกอบด้วย พ้ืนที่ที่เป็นศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก โดยไม่นับรวมพื้นที่ถนน ลานจอดรถ บังกะโล เรือนแถว ลานกางเต็นท์ สนามหญ้า และอาคารสถานที่ที่ไม่ใช้ในการบริการนักท่องเที่ยว 26

Page 27: Cc 3 ส.ค. 58

27

2. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงได้ ได้แก่ บริเวณที่มีการพัฒนาสิ่งอ านวยความสะดวกเท่าที่จ าเป็น เพื่อกิจกรรมนันทนาการชนิดต่างๆ เช่น จุดชมวิว กิจกรรมบริเวณน้ าตก ทางเดินศึกษาธรรมชาติและชมทิวทัศน์ ถ่ายรูป เส้นทางขี่จักรยาน ฯลฯ โดยไม่นับรวม ลานจอดรถ หรือท่าเทียบเรือ ลานกางเต็นท์ ห้องน้ า ห้องสุขา และอื่นๆ

27

Page 28: Cc 3 ส.ค. 58

28

3. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงไม่ได้ และเขตนันทนาการแบบสันโดษ ได้แก่ พื้นที่ที่เป็นป่าเขาอันสมบูรณ์ มีเป้าหมายเพื่อการสงวนรักษาสภาพธรรมชาติดั้งเดิมไว้ให้อ านวยประโยชน์เชิงนิเวศ แต่เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าไปพักผ่อนและศึกษาเรียนรู้ได้อย่างจ ากัด เช่นการเดินป่าระยะไกลและพักค้างแรม การถ่ายรูปธรรมชาติและสัตว์ป่า การล่องแก่ง การพายเรือแคนูหรือเรือคายัค การปีนป่ายเขา เป็นต้น 28

Page 29: Cc 3 ส.ค. 58

29

ขั้นตอนที่ 4 : น าผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนที่ 3 ไปคิดค านวณหาขีดความสามารถรองรับได้ด้านกายภาพต่อวัน โดยใช้สูตร ดังระบุในขั้นตอนที่ 2

29

Page 30: Cc 3 ส.ค. 58

30

ขั้นตอนที่ 5 : กรณีประเมินขีดความสามารถรองรับได้ในช่วงกลางคืน ให้ใช้ จ านวนนักท่องเที่ยวสูงสุดที่สามารถเข้าพักแรมในเขตอุทยานฯได้ โดยพิจารณาจากที่พักทุกประเภท (บังกะโล + เรือนแถว + เต็นท์นอน) แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินปริมาณน้ าที่กักเก็บได้จากธรรมชาติ และเปิดให้นักท่องเที่ยวใช้อย่างประหยัด โดยที่นักท่องเที่ยวยังคงพึงพอใจได้

30

Page 31: Cc 3 ส.ค. 58

• ความต้องการน า้เพื่อการท่องเที่ยว

เฉล่ีย ๓๕๐ ลิตร/คน/วัน (ธงชัย,๒๕๔๐)

31

Page 32: Cc 3 ส.ค. 58

32

การวัดพืน้ที่

หน้าผา วัดกว้าง x ยาวข อ ง พื ้น ท่ี ห น้ า ผ า ท่ี ย่ื นออกไป จนถึงแนวต้นไม้ แนวหญ้า ด้านหลงั

ผาชมวิว

Page 33: Cc 3 ส.ค. 58

33

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

เส้นทางศกึษาธรรมชาติวัดกว้าง x ยาวตามขนาดของเส้นทาง

Page 34: Cc 3 ส.ค. 58

34

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

Page 35: Cc 3 ส.ค. 58

35

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

จุดชมววิวดัเนือ้ท่ี กว้าง x ยาว ตามขนาดพืน้ ท่ีของจุดชมวิวนัน้ๆ

Page 36: Cc 3 ส.ค. 58

36

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

หอดูสัตว์วัดเนือ้ท่ีเฉพาะตัวหอท่ีใช้สอ่งสตัว์

Page 37: Cc 3 ส.ค. 58

37

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว วั ด เ นื ้อ ท่ี ก ว้ า ง x ย า ว เฉพาะบริเวณท่ีให้บริการ นทท. ไม่นบัรวม โต๊ะ เก้าอี ้ตู้ สนามหญ้า ฯลฯ

Page 38: Cc 3 ส.ค. 58

38

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

แก่งต่างๆ วัดเนือ้ท่ีกว้าง x ยาว ของล าน า้

Page 39: Cc 3 ส.ค. 58

39

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

น า้พุร้อน วดัเนือ้ท่ีกว้าง x ยาว ของพืน้ ท่ีใ ช้สอย + ห้องอาบน า้แร่ (จ านวนห้อง x จ านวนคนที่จไุด้สงูสดุ)

Page 40: Cc 3 ส.ค. 58

40

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

ถ า้ วัดเนือ้ท่ีกว้าง x ยาว ของพื น้ ท่ี ราบหน้าถ า้ + เ นื อ้ ท่ีก ว้าง x ยาว ของเส้นทางภายในถ า้ ถ า้ท่ีมี boardwalk ใช้ค่า ROS 6 คน/ตร.ม.หากไม่มี boardwalk ใช้คา่ ROS 20 คน/ตร.ม.

Page 41: Cc 3 ส.ค. 58

41

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

ชายหาด วดัเนือ้ท่ีกว้าง x ยาว ของพืน้ท่ีชายหาดนัน้ๆ

Page 42: Cc 3 ส.ค. 58

42

การวัดพืน้ที่ (ต่อ)

แนวปะกา รั ง วัด พื น้ ท่ีก ว้ า ง x ย า ว ขอ งแนวปะการังท่ีระดับความลึก 1.80 เมตร (ระดับท่ีคนยืนไมถ่งึ)

Page 43: Cc 3 ส.ค. 58

43

แบบฟอร์มในการกรอกข้อมูล

ล าดับ อุทยานแหง่ชาติ ชื่อแหล่งทอ่งเทีย่ว ช่วงชั้นโอกาส

ที่ ด้านนันทนาการ

เอกสารแนบ 1

ใช้ประโยชน์ (ตร.ม.)

ขนาดพ้ืนที่

ข้อมูล ณ วนัที.่.................สิงหาคม 2558

รายชื่อแหลง่ทอ่งเทีย่วและขนาดพ้ืนทีข่องแหลง่ทอ่งเทีย่วแตล่ะแหง่ในอุทยานแหง่ชาติ

ส านักบริหารพ้ืนทีอ่นุรักษ์ที่.....

Page 44: Cc 3 ส.ค. 58

44

Page 45: Cc 3 ส.ค. 58

1

ล าดบั อุทยานแห่งชาติ ชื่อแหลง่ท่องเที่ยว ช่วงชั้นโอกาส

ที่ ดา้นนันทนาการ

หมายเหต ุ 1. ให้อุทยานแห่งชาตกิรอกข้อมูลรายชื่อแหลง่ท่องเที่ยวทุกแห่งที่เปิดให้บริการ พร้อมทั้งวดัขนาดพ้ืนที่ให้บริการ (หน่วยเป็น ตร.ม.)

ในแหลง่ท่องเที่ยวน้ันๆ แลว้รวบรวมสง่ส านักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่สงักัดเพ่ือแจง้กรมอุทยานแห่งชาต ิสตัวป์่า และพันธุ์พืช ตอ่ไป

รายชือ่แหล่งทอ่งเที่ยวและขนาดพ้ืนที่ของแหล่งทอ่งเที่ยวแต่ละแหง่ในอุทยานแหง่ชาติ

ส านักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่.....

เขตก่ึงก่ึงสนัโดษที่รถยนต/์เรือยนตเ์ข้าถึงไม่ได ้รวมถึงเขตสนัโดษ รับ นทท. ได ้1 คน/20 ตร.ม.

2. ช่วงชั้นโอกาสดา้นนันทนาการ (ROS) ในพ้ืนที่อุทยานฯ ก าหนดดงัน้ี

เขตบริการ รับ นทท. ได ้1 คน/4 ตร.ม.

ใช้ประโยชน์ (ตร.ม.)

เขตก่ึงสนัโดษที่รถยนต/์เรือยนตเ์ข้าถึงได ้รับ นทท. ได ้1 คน/6 ตร.ม.

เอกสารแนบ 1

ขนาดพ้ืนที่

ข้อมูล ณ วนัที.่.................สงิหาคม 2558

Page 46: Cc 3 ส.ค. 58

2