Top Banner
สารบัญ 1 Introduction...................................................................................................................................... 1 Illustrator คืออะไร แนะนําเครื่องมือ .................................................................................................... 1 2 Drawing Paths .................................................................................................................................. 5 การวาดรูปโดยใชรูปทรงสําเร็จ ............................................................................................................. 5 ความสําคัญของ Path............................................................................................................................. 9 การวาดโดยใช Pen tool และ Selection Tools ตางๆ .......................................................................... 10 3 Painting Objects ............................................................................................................................. 12 ระบบสีในโปรแกรม Illustrator .......................................................................................................... 12 การกําหนดคุณสมบัติของเสนดวย Stroke Palette .............................................................................. 15 Swatch Palette ..................................................................................................................................... 16 4 Painting Tools ................................................................................................................................ 16 การใสสีดวย Eyedropper .................................................................................................................... 16 การใสสีดวย Paint Bucket .................................................................................................................. 17 วิธีการใช Brush ................................................................................................................................... 17 5 Type ................................................................................................................................................. 19 เครื่องมือที่ใชในการสรางขอความและทิศทางการเรียงตัวของตัวหนังสือ ........................................ 19 การจัดหนากระดาษและการกําหนด Paragraph .................................................................................. 20 การเลื่อนตําแหนงของขอความบนเสน Path....................................................................................... 22 การพลิกตัวหนังสือบน Path ............................................................................................................... 22 6 Text Effects ..................................................................................................................................... 23 การลิงค (Link) ขอความที่ลนกรอบไปยังกรอบใหม .......................................................................... 23 การแบงขอความเปนคอลัมนเพื่อจัดเลเอาต ........................................................................................ 24 การทําขอความลอมรอบภาพ (Text Wrap) ......................................................................................... 24 การทําใหตัวหนังสือกลายเปน Path (Create Outline) ......................................................................... 25 7 Transformations ............................................................................................................................ 25 Origin Point ........................................................................................................................................ 25 การปรับแตงวัตถุ (Transforming) ....................................................................................................... 26 8 Mask and Compound Paths ......................................................................................................... 28 Place .................................................................................................................................................... 28 การทํา Clipping Mask......................................................................................................................... 29 การใช Pathfinder ................................................................................................................................ 29 การจัดเรียงวัตถุ (Align)....................................................................................................................... 31 การจัดลําดับการซอนทับวัตถุ (Arrange)............................................................................................. 32
36
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Bku illustrator cs

สารบัญ 1 Introduction...................................................................................................................................... 1 Illustrator คืออะไร แนะนําเครื่องมือ .................................................................................................... 1 2 Drawing Paths.................................................................................................................................. 5 การวาดรูปโดยใชรูปทรงสําเร็จ............................................................................................................. 5 ความสําคัญของ Path............................................................................................................................. 9 การวาดโดยใช Pen tool และ Selection Tools ตางๆ .......................................................................... 10 3 Painting Objects............................................................................................................................. 12 ระบบสีในโปรแกรม Illustrator .......................................................................................................... 12 การกําหนดคุณสมบัติของเสนดวย Stroke Palette .............................................................................. 15 Swatch Palette..................................................................................................................................... 16 4 Painting Tools ................................................................................................................................ 16 การใสสีดวย Eyedropper .................................................................................................................... 16 การใสสีดวย Paint Bucket .................................................................................................................. 17 วิธีการใช Brush................................................................................................................................... 17 5 Type................................................................................................................................................. 19 เครื่องมือที่ใชในการสรางขอความและทิศทางการเรียงตัวของตัวหนังสือ ........................................ 19 การจัดหนากระดาษและการกําหนด Paragraph.................................................................................. 20 การเลื่อนตําแหนงของขอความบนเสน Path....................................................................................... 22 การพลิกตัวหนังสือบน Path ............................................................................................................... 22 6 Text Effects..................................................................................................................................... 23 การลิงค (Link) ขอความที่ลนกรอบไปยังกรอบใหม.......................................................................... 23 การแบงขอความเปนคอลัมนเพื่อจัดเลเอาต ........................................................................................ 24 การทําขอความลอมรอบภาพ (Text Wrap) ......................................................................................... 24 การทําใหตัวหนังสือกลายเปน Path (Create Outline)......................................................................... 25 7 Transformations ............................................................................................................................ 25 Origin Point ........................................................................................................................................ 25 การปรับแตงวัตถุ (Transforming) ....................................................................................................... 26 8 Mask and Compound Paths ......................................................................................................... 28 Place.................................................................................................................................................... 28 การทํา Clipping Mask......................................................................................................................... 29 การใช Pathfinder ................................................................................................................................ 29 การจัดเรียงวัตถุ (Align)....................................................................................................................... 31 การจัดลําดับการซอนทับวัตถุ (Arrange)............................................................................................. 32

Page 2: Bku illustrator cs

11 Introduction Illustrator คืออะไร และทําอะไรไดบาง

โปรแกรมพื้นฐานที่นักออกแบบทุกคนตองเรียนรูในการสรางงานกราฟกมี 2 ชนิด คอืโปรแกรมประเภทวาดภาพ และโปรแกรมประเภทตกแตงภาพ Illustrator คือ โปรแกรมที่ใชในการวาดภาพ โดยจะสรางภาพที่มีลักษณะเปนลายเสน หรือที่เรียกวา Vector Graphic จัดเปนโปรแกรมระดับมืออาชพีที่ใชกันเปนมาตรฐานในการออกแบบระดับสากล สามารถทํางานออกแบบตางๆ ไดหลากหลาย ไมวาจะเปนสิ่งพิมพ บรรจุภัณฑ เว็บ และภาพเคลื่อนไหว ตลอดจนการสรางภาพเพื่อใชเปนภาพประกอบในการทาํงานอื่นๆ เชน การตูน ภาพประกอบหนังสือ เปนตน

แนะนําเคร่ืองมือตางๆ ในโปรแกรม เมื่อเราเขาสูโปรแกรมหรือเมื่อเราสรางไฟลใหมดวยการคลิกที่เมนู File>New จะปรากฏหนาตาของโปรแกรมเหมอืนตัวอยางขางลางนี้

หนาตาโดยรวมของโปรแกรม Illustrator 1. แถบคําสั่ง (Menu Bar) 2. แถบเครื่องมือ (Tool Box) 3. พื้นที่ทํางาน (Art Board) 4. จานเครื่องมือตางๆ (Palette)

1

4

2 3

Page 3: Bku illustrator cs

2แถบคําสั่ง (Menu Bar)

เปนเมนูคําสั่งหลักโปรแกรม แบงออกเปนหมวดหมูตางๆ ดังนี้ File: เปนหมวดของคําสั่งที่จัดการเกีย่วกับไฟลและโปรแกรมทั้งหมด ไมวาจะเปนการ เปด-ปดไฟล การบันทึกไฟล การนําภาพเขามาใช (Place) ตลอดจนการออกจากโปรแกรม (Exit) Edit: เปนหมวดของคําสั่งที่จัดการแกไข เชน Undo Cut Copy Paste Select รวมทั้งการกําหนดคณุสมบัติตางๆ ที่มีผลตอการปรับแตงภาพดวย เชนการสรางรูปแบบ (Define Pattern) การกําหนดคาสี (Color Setting) เปนตน Type: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชจัดการตัวหนังสือ เชน Fonts Paragraph เปนตน Select: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชในการเลือกวัตถุ สามารถเลือกดวยคณุสมบัติได เชน เลือกวัตถุทีม่ี Fill และ Stroke แบบเดยีวกัน วตัถุที่อยูบน Layer เดียวกัน เปนตน Filter: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชสรางเทคนิคพิเศษใหกบัภาพ โดยจะมีผลตอรูปรางของ Path Effect: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชสรางเทคนิคพิเศษใหกบัภาพคลาย Filter แตจะไมมผีลกับรูปรางของ Path View: เปนหมวดของคําสั่งเกี่ยวกับการมองทุกสิ่งในงาน เชน Zoom Show/Hide Ruler Bounding Box Outline Mode/Preview Mode เปนตน Window: เปนหมวดของคาํสั่งเกี่ยวกับการเปด-ปดหนาตางเครื่องมือตางๆ เชน Palette Tool Box เปนตน Help: เปนหมวดที่รวบรวมวธีิการใชงานและคําแนะนําเพื่อชวยเหลือผูใชโปรแกรม

กลองเครื่องมือ (Tool Box) Tool Box เปนเครื่องมือพื้นฐานที่ใชในการทํางานเกีย่วกบัภาพทั้งหมด ซ่ึงจะแบงออกเปนชวงๆ ตามกลุมการใชงาน ดังนี ้

1. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการเลอืกวัตถุ 2. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการวาดและการสรางตัวหนังสือ 3. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการปรบัแตงวัตถุ 4. กลุมเครื่องมือในการสราง Symbol และ Graph 5. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการกําหนดส ี6. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการตดัแบงวัตถุ 7. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับพืน้ที่ทาํงาน 8. กรอบที่ใชระบุสีใหวัตถุและสีของเสน 9. ปุมกําหนดรูปแบบของมุมมองในหนาจอโปแกรม

1

3

2

4 5

6 7

8 9

Page 4: Bku illustrator cs

3พื้นท่ีทํางาน (Art board Area) เปนขอบเขตของพื้นที่การทาํงาน ซ่ึงมีจุดที่ตองระวังคือ บริเวณที่อยูในเสนประเปนพื้นที่ที่จะถูกพิมพออกมา และสวนของภาพที่อยูนอกเสนนี้จะถูกตัดขาดไปเวลาพิมพ

จานเครื่องมือตางๆ (Palette) เปรียบเสมือนแผนหรือจานผสมสีของจิตรกร ที่เปนแหลงกําเนิดของเสนสายหรือสีสันของภาพ จาน

เครื่องมือตางๆ เหลานี้เปนหนาตางขนาดเล็กที่รวบรวมคําสั่งและคุณสมบัติของเครื่องมือตางๆ ไวเปนหมวดหมูการเรียกใช Palette ใหคลิกที่เมนู Window จะเหน็รายชื่อ Palette ตางๆ ใหเลือกตามตองการ ซ่ึง Palette ที่ใชบอยๆ มีดังนี ้

1. Palette ท่ีเก่ียวของกับการใชสีและเสน ไดแก Color Palette: เหมือนจานสีที่ใชผสมสีไวใชเอง โดยระบุคาสีหรือสุมเลือกที่แถบสีดานลางก็ได เพื่อใหไดสีใหมไมจํากัดอยูแตสีที่ผสมไวใหใน Swatch

Swatch Palette: เหมือนกลองเก็บสีที่ผสมสําเร็จรูปไวใชไดทันที ทําใหไมตองผสมใหมทุกครั้งที่จะใสสี

Gradient Palette: ใชกําหนดคาการไลโทนสีใหวัตถุ ทั้งการกําหนดรูปแบบการไลสีระหวางแบบเสนตรงหรือรัศมี และปรับแตงโทนโดยใชแทบ Gradient Bar ดานลางทําใหรูปมีมิตแิละความลึกมากขึ้น

Stroke Palette: ใชกําหนดคณุสมบัติตาง ๆ เชนขนาดของเสน รูปแบบของรอยตอหรือปลายเสน ฯลฯ

Brushes Palette: บรรจุชนิดของหัวพูกันสาํเร็จรูปไวใหเลือกใช โดยสามารถเลือกกําหนดคุณสมบัติของหัวพูกนัไดดวย ทาํใหเสนสายพลิ้วพราย มีลูกเลนไมธรรมดา

Page 5: Bku illustrator cs

42. Palette ท่ีเก่ียวของกับการปรับแตงและจัดการวัตถุ

Transform Palette: ใชกําหนดตําแหนง ขนาดและปรับแตงรูปรางของวัตถุ โดยการระบุคาเปนตวัเลข เพื่อใหไดระยะที่ถูกตองและแมนยํา

Align Palette: ใชควบคุมการจัดเรียงวัตถุ ไมวาจะเปนการจัดแนวของวัตถุใหตรงกนัในแนวตาง ๆ หรือการจัดระยะหางระหวางวัตถุ โดยคลิกเลือกวัตถุกอน แลวเลือกวิธีการจดัเรียงที่ตองการ ชวยใหงานมีระเบียบเรยีบรอยสวยงาม Pathfinder Palette: ใชสรางวัตถุใหม จากการรวมรูปรางของวัตถุเดิมเขาดวยกัน ชวยในการสรางวัตถุ โดยไมจําเปนตองเริ่มวาดเองใหมทั้งหมด ใชรวมกนัใหเกิดเปนรูปรางใหมไดสะดวกและรวดเร็ว

3. Palette ท่ีเก่ียวของกับการใชงานตัวหนงัสือ Character Palette: ใชกําหนดรูปแบบตัวหนังสือ โดยกําหนดไดละเอยีดมาก ทั้งชนิด ขนาด ความสงู ความกวาง ตัวยก ตัวหอย ฯลฯ เพื่อทําใหตัวอักษรดูหลากหลายและมลูีกเลนตาง ๆ

Paragraph Palette: ใชกําหนดรูปแบบการจัดเรียงขอความ โดยกําหนดไดละเอียดมาก ทัง้การจัดชิดซาย ขวา กลาง ฯลฯ ตลอดจนระยะยอหนาตาง ๆ ซ่ึงสามารถระบุคาเปนตวัเลขได เพื่อทําใหขอความเปนระเบียบเรียบรอยสวยงาม

4. Palette ท่ีเก่ียวของกับการควบคุมและการจัดการในหนากระดาษ

Layers Palette: ใชจัดการวตัถุที่บรรจุอยูในแตละเลเยอร ซ่ึงทํางานเหมอืนเปนแผนใสที่ซอนกันเปนชัน้ ๆ ใชควบคมุทั้งการมองเห็น การล็อควตัถุ การจัดลําดับซอนทับกัน ฯลฯ

Links Palette: ใชควบคุมการเชื่อมตอขอมูลกับภาพตนฉบับที่นําเขามาใช โดยสามารถเลือก ใหไฟลภาพที่นําเขามาลิงคอยูหรือฝงอยูในไฟลก็ได สวนใหญมักจะเลือกลิงคภาพเพื่อไมใหไฟลงานมีขนาดใหญเกินไป

Page 6: Bku illustrator cs

55. Palette ท่ีเก่ียวของกับการใสลูกเลนหรือเอฟเฟกตใหวัตถุ

Transparency Palette: ใชกําหนดคาความโปรงแสงของวัตถุ โดยคลิกเลือกรูปแบบของ Blending Mode ที่ตองการและกําหนดคาความทึบทีช่อง Opacity เพื่อทําใหภาพมีลูกเลนแปลก ๆ โดยสัมพันธกับวัตถุอ่ืน ๆ ที่ซอนกันอยูดานลาง

Styles Palette: ใชกําหนดสี เสน และเอฟเฟกตตาง ๆ แบบสําเร็จรูป โดยคลิกเลือกวัตถุแลวคลิกเลือกไอคอนสไตลที่ตองการ ชวยใหทํางานไดเร็วขึ้น เพราะเปนการเก็บคุณสมบัติไวใชกับวตัถุอ่ืน ๆ ไดโดยไมตองกําหนดใหมทีละอัน ๆ

Symbols Palette: บรรจุชนิดของวัตถุสําเร็จรูปใหใชซํ้า โดยใชรวมกับเครื่องมือในกลุม Symbolism Tool เปนการเอาวัตถุเดียวมาใชซํ้าไปซ้าํมาในงาน จึงมีขอมูลเพียงอันเดียวของวัตถุสําเร็จรูปนั้น ชวยลดขนาดของไฟลไดมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อนําไปใชในงานที่เกี่ยวกับเว็บ

นอกจากนี้ยังม ีPalette อ่ืน ๆ อีกบางอันที่ไมไดกลาวถึงในตอนนี้ เพราะไมไดใชมากนัก จะนําไปไวในสวนเนื้อหาที่เกี่ยวของโดยตรงในภายหลัง

2 Drawing Paths การวาดภาพโดยใชรูปทรงสาํเร็จ

รูปเลขาคณิตและรูปรางที่ใชกันบอย ๆ ไดแก ส่ีเหล่ียมจตัุรัส ส่ีเหล่ียมผืนผา ส่ีเหล่ียมมุมมน สามเหลี่ยม วงกลม วงรี รูปหลายเหลีย่ม รูปดาว ฯลฯ ซ่ึงสามารถสรางไดงาย ๆ ดวยเครื่องมือในกลุม Shape Tool ซ่ึงมีทั้งหมด 6 ชนิดคือ

1. Rectangle Tool ใชสรางสี่เหล่ียมทั้งจัตุรัสและผืนผา 2. Rounded Rectangle Tool ใชสรางสี่เหล่ียมทั้งจัตุรัสและผืนผาที่มีมุมโคงมน 3. Ellipse Tool ใชสรางวงกลมและวงร ี

1 2 3 4 5 6

Page 7: Bku illustrator cs

64. Polygon Tool ใชสรางรูปหลายเหลี่ยม เชน สามเหลี่ยม หาเหล่ียม หกเหลี่ยม ฯลฯ 5. Star Tool ใชสรางรูปดาว รูปหลายแฉก 6. Flare Tool ใชสรางรูปประกายรัศมี

เครื่องมือที่ชวยในการวาดรูปรางพื้นฐาน มีหลักการใชอยู 2 แบบ เชนเดียวกับ Line Tool คือ 1. วาดอิสระตามการแดรกเมาส (Freehand) 2. วาดโดยการระบุคาตาง ๆ ใหโปรแกรมคํานวณออกมาเปนภาพ (Properties Specification) การอธิบายเครื่องมือจะอยูบนพื้นฐานการวาดทั้ง 2 แบบนี้ จะเลือกใชวธีิการใดก็ขึ้นกบัความตองการ

และความถนดัของผูใช โดยมากการวาดแบบที่ 2 มักใชเมื่อตองการงานที่แมนยํา เชน งานอารตเวริก เปนตน การวาดสี่เหลี่ยม วงกลมและวงรี เครื่องมือที่ใชในการวาดสี่เหล่ียม วงกลม และวงรี มหีลักการใชงานคลายคลึงกันดังนี้

วิธีท่ี 1 การวาดเสนแบบอิสระ (Freehand)

วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี ้

1. คลิกเครื่องมือ รูปสี่เหล่ียม ส่ีเหล่ียมมุมมน หรือวงรี ตามตองการ 2. ถายังไมไดเปดหนาตาง Stroke Palette และ Swatch Palette ใหเปด Palette ทั้งสองโดยไปที่

เมน ูแลวเลือก Window > Stroke (หรือกด F10 ) และ Window > Swatches 3. เลือกขนาดของเสนที่ Stroke Palette ในชอง Weight 4. คลิกที่ Stroke Box คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกาํหนดสีใหกับเสน 5. คลิกที่ Fill Box 6. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับวัตถุ 7. แดรกเมาสบน Art board จากมุมหนึ่งไปยงัอีกมุมหนึ่ง

การวาดสามเหลี่ยมและรูปหลายเหลี่ยม เครื่องมือที่ใชในการวาดรูปสามาเหลี่ยมและรูปหลายเหลี่ยมคือ เครื่องมือ Polygon Tool

วิธีท่ี 1 การวาดเสนแบบอิสระ (Freehand)

แดรกเมาสตามทิศลูกศร

แดรกเมาสตามทิศลูกศร

Page 8: Bku illustrator cs

7วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี ้

1. คลิกเครื่องมือ Polygon Tool 2. เลือกขนาดของเสนที่ Stroke Palette ในชอง Weight 3. คลิกที่ Stroke Box 4. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับเสน 5. คลิกที่ Fill Box 6. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับวัตถุ 7. เล่ือนเคอรเซอรไปยังตําแหนงที่ตองการใหเปนศูนยกลางของรูปหลายเหลี่ยม แลวแดรก

เมาสจนไดรูปในขนาดทีต่องการ โดยขณะที่แดรกใหลองหมุนเคอรเซอรไปมา จะเปนการหมุนรูปหลายเหล่ียม

8. กดคีย Shift คางขณะแดรกเมาสจะเปนการสรางรูปหลายเหลี่ยมที่ยดืออกในมุม 45องศาเสมอไมวาจะแดรกไปในทศิทางไหนก็ตาม

9. กดปุมลูกศรขึน้-ลงขณะแดรกเมาส จะเปนการเพิ่ม-ลดจํานวนดานของรูปหลายเหลี่ยม โดยจํานวนดานทีน่อยที่สุดคือ รูปสามเหลี่ยม และจํานวนดานที่มากที่สุดกจ็ะไดรูปใกลเคียงวงกลม

วิธีการวาดโดยการระบุคาตาง ๆ (Properties Specification) วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี ้

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Polygon Tool 2. คลิกบน Art board หรือดับเบิลคลิกที่รูปเครื่องมือ จะปรากฏหนาตางขึ้นมาเพื่อกําหนดคา

ตาง ๆ 3. ระบุคาที่ตองการแลวกดปุม OK

Radius คือรัศมีจากจุดศูนยกลางไปยงัจุดมุมของรูป ซ่ึงเทากับความยาวของเสน ในแตละดาน

Sides คือจํานวนดานของรูปหลายเหลี่ยม

3 cm

Page 9: Bku illustrator cs

8การวาดรูปหลายแฉก (Star)

วิธีการที่ 1 การวาดเสนแบบอิสระ (Freehand) วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี ้

1. คลิกเครื่องมือ Star Tool 2. ถายังไมไดเปดหนาตาง Stroke Palette และ Swatch Paletteใหเปด Palette ทั้งสองโดยไปที่

เมนู แลวคลิก Window > Stroke (หรือกด F10) และ Window > Swatches 3. เลือกขนาดของเสนที่ Stroke Palette ในชอง Weight 4. คลิกที่ Stroke Box 5. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับเสน 6. คลิกที่ Fill Box 7. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับวัตถุ 8. เคลื่อนเคอรเซอรไปยังตาํแหนงที่ตองการใหเปนศูนยกลางของรูปหลายแฉก แลวแดรก

เมาสจนไดรูปในขนาดทีต่องการ โดยขณะที่แดรกใหลองหมุนเคอรเซอรไปมาจะเปนการหมุนรูปหลายแฉก

9. กดคีย Shift ขางขณะแดรกเมาสจะเปนการสรางรูปหลายแฉกที่ยดืออกในมุม 45องศาเสมอ ไมวาจะแดรกไปในทิศทางไหนก็ตาม

10. กดปุมลูกศรขึน้-ลงขณะแดรกเมาส จะเปนการเพิ่ม-ลดจํานวนดานของรูปหลายแฉก โดยจํานวนดานทีน่อยที่สุดคือรูปสามเหลี่ยม

วิธีท่ี 2 การวาดโดยการระบคุาตาง ๆ (Properties Specification) วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี ้

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Star Tool 2. คลิกบน Art board หรือดับเบิลคลิกที่รูปเครื่องมือ จะปรากฏหนาตางขึ้นมาใหกรอกขอมูล 3. ระบุคาที่ตองการ แลวกดปุม OK

แดรกเมาสตามทิศลูกศร

Page 10: Bku illustrator cs

9Radius 1 คือระยะจากจุดศนูยกลางไปยังจดุที่อยูนอกสุด Radius 2 คือระยะจากจุดศนูยไปยังจุดที่อยูในสุด Points คือจํานวนแฉกของรูปหลายเหลีย่ม

ความสําคัญของ Path “หากไมมี Path ก็ไมมีภาพ” เปนคํากลาวทีไ่มเกินจริงเลยสําหรับโปรแกรมนี้ เพราะ Path คือหัวใจของโปรแกรมสรางภาพแบบเวกเตอรแทบทุกโปรแกรม ไมวาจะเปน Freehand Corel Draw แมกระทั่ง Flash แตในขณะเดยีวกัน เราอาจมีเสน Path โดยไมมีภาพได ธรรมชาติของ Path Path ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้

1. จุดปลายของ Path (End Point) หรือเรียกสั้น ๆ วา “จุดปลาย” เปนจุดทีอ่ยูปลายสุดของPath ทั้ง 2 ดาน คือ ทั้งจุดเริ่มตนและจุดสุดทายของ Path

2. จุดยดึ (Anchor Point) หรือเรียกกันวา ” จุด Anchor” (แอง-เคอร)เปนจุดที่อยูบนเสนระหวางจดุปลายทั้งสองดาน ใชเพื่อเปลีย่นทิศทางของเสน นึกภาพงาย ๆ เหมือนกบัการเดินสายไฟบนผนังซ่ึงตองใชหมดุยึดเมื่อตองการเปลี่ยนทิศทางของสายไฟ

3. เสน (Segment) ไมวาจะเปนเสนตรงหรือเสนโคง เกิดจากการเชื่อมตอกนัของจุด 2 จุดไมวาจะเปนจุดปลายหรือจุด Anchor จํานวนของเสนมีผลตอความนุมนวลของ Path (ใชในการสรางภาพแบบระบคุา ซ่ึงจะกลาวถึงภายหลัง)

4. แขนปรับทิศทาง (Direction Line) หรือเรียกสั้น ๆ วา “แขน” เปนตัวช้ีบอกวาเสนจะโคงไปทางไหนและมีความโคงมากนอยเทาไหร

5. จดุปลายของแขนปรับทิศทาง (Direction Point) หรือเรียกสั้น ๆ วา “จุดปรับ” เปนจดุที่อยูตรงปลายแขนปรบัทิศทาง ใชเปนตัวบังคับให “แขน” ช้ีไปในทิศทางที่ตองการ

1

2

5

3 4

Page 11: Bku illustrator cs

10ซ่ึงองคประกอบเหลานี้จะทําใหเกิด Path ที่มีรูปรางแตกตางกันไป รูปรางของ Path มี 2 ลักษณะ

ใหญ ๆ คือ

1. Path ที่เปนรูปเปด คือรูปรางที่มีจุดปลายของ Path เปนคนละจุดแยกจากกัน 2. Path ที่เปนรูปปด คือรูปรางที่มีจุดปลายของ Path มาบรรจบกันและเปนจุดเดียวกนั

Anchor และแขน (Direction Line) มีผลกับ Path อยางไร จุด Anchor และแขนเปนตวักาํหนดรูปรางของ Path วา Path นั้นจะไปในทิศทางไหน เปนเสนตรง

หรือเสนโคง โคงมากหรือโคงนอย ในการวาด Path เราจะใสจุด Anchor ในตําแหนงทีต่องการเปลี่ยนทิศทางของเสน หรือตองการดัดเสนใหโคง แลวลากแขนไปในทิศทางที่เราตองการใหโคงไปทางนั้น

จุด Anchor บน Path มี 2 ชนิดคือ จุด Anchor ที่เปนมุม (Comer Point) และจดุ Anchor ที่เปนรอยตอของเสนโคง (Smooth Point) ในการวาด Path ตองเลือกใช Anchor ใหถูกชนิดมาผสมกัน จึงจะไดเสนที่ตองการ ดังตัวอยาง

รูปที่ 1 คือจุด Anchor ที่ไมมีแขน ทําใหเกดิเสนตรงหักมมุตอกัน รูปที่ 2 คือจุด Anchor ที่มีแขน 1 ขาง ทําใหเกิดเสนโคงและเสนตรงตอกัน รูปที่ 3 คือจุด Anchor ที่มีแขน 2 ขาง ทําใหเกิดเสนโคง 2 เสนตอกัน

การวาดโดยใช Pen tool • Pen เปนเครื่องมือที่ใชในการวาดเสนและรูป สามารถวาดไดทั้งเสนตรงเสนโคง

1

2

1

2

3

Page 12: Bku illustrator cs

11วิธีการใชงาน 1. เสนเฉียง ใชเครื่องมือ Pen Click บนกระดาษตามแนวที่ตองการไดเลย 2. เสนตรง ใหกดปุม Shift คางไว แลวใชเครื่องมือ Pen Click บนกระดาษ เสนที่ไดจะเปนเสนตรง

แนวตั้ง แนวนอน และเฉยีง 45 องศา 3. เสนโคง ใชเครื่องมือ Pen Drag บนกระดาษจะมแีขนเกิดขึ้นตรงจุดที่ Drag จากนัน้ให Drag จุด

ตอไปนี้จะมีเสนโคงเกิดขึ้นระหวางจุดแรกกับจุดที่สอง เมื่อ Drag จุดตอไปจะมีเสนโคงเกิดขึ้นระหวางจุดที่ Drag จะเปนอยางนี้เร่ือยไป

การเลือกวัตถุโดยใช Selection Tools

• Direct Selection เปนเครื่องมือที่ใชในการเลือกวัตถุที่จะทํางานดวย โดยวัตถุนัน้จะมสีถานะเปน Ungroup ช่ัวคราว การใชเครือ่งมือชนิดนี้เพื่อแกไขรูปทรงของรูป

วิธีการใชงาน 1. เปนการเลือกแกไขจากจุด Anchor โดยตรงเมื่อแดรกเมาสไปที่จุดแลวเล่ือนจะเห็นวาจดุจะถูกยาย

ตําแหนงไปตามเมาสและเสนที่เชื่อมกับจดุนั้นกเ็ล่ือนตามไปดวย 2. เปนการเลือกแกไขจากจุด Direction Point นั้นจะสังเกตไดวาจดุ Anchor ไมไดเล่ือนไปไหน จะ

เล่ือนไปก็เฉพาะแขนทั้งสองดานเทานัน้ 3. เราสามารถแกไขโดยตรงจากเสน Segment ไดดวยจากรปูจะเห็นวามีการยืดออกของเสน Segment

และ แขน Direction Point แตจุด Anchor ที่ยึดอยูทั้งสองขางไมมีการเปลี่ยนแปลง • Group Selection เปนเครื่องมือที่ใชในการเคลื่อนยาย Object ออกจากกลุมงานที่ใชคําสั่ง Group โดย

ช่ัวคราว ( ขณะที่อยูใน View ที่เปน Art work) วิธีการใชงาน

ขณะที่เปน View-Art work ใชเครื่องมือนี้ Drag Object ที่ตองการแยกออกจากกลุมชัว่คราวจะเหน็ไดวารูปที่ Drag เทานั้นที ่Active สวนรูปอื่น ๆ จะไม Active

Page 13: Bku illustrator cs

12• Add Anchor Point เปนเครื่องมือที่ถูกใชในการเพิ่มจดุบนเสน เพื่อใชงานกับจดุนั้น

วิธีการใชงาน นําเครื่องมือ Add Anchor Point มา Click บนเสนก็จะเกิดจุดขึ้นตามที่ตองการ

• Delete Anchor Point เปนเครื่องมือที่ใชในการลบจุดที่ไมตองการออก

วิธีการใชงาน นําเครื่องมือ Delete Anchor Point มา Click ที่จุดที่ตองการลบ จุดก็จะหายไป

• Convert Direction Point เปนเครื่องมือในการเพิ่มแขน หรือหักแขนของจุด

วิธีการใชงาน

1. เพิ่มแขนใช Selection Tool Click รูปที่ตองการจะเพิ่มแขน หลังจากนั้นใชเครื่องมือConvert Direction Point Drag ที่จุด Anchor เพื่อเพิ่มแขนใหกับจุดนัน้

2. หักแขนใช Selection Tool Click รูปที่ตองการจะหกัแขน หลังจากนัน้ใชเครื่องมือ Convert Direction Point Drag ที่จุดปลายแขนเพื่อหักแขนใหกับจุดนัน้

3 Painting Objects ระบบสีในโปรแกรม Illustrator (Color Mode)

หลายๆคนคงจะสงสัยวาจะทํางานที่ทําอยูในระบบสีอะไรดี ทําไมตองเลือกตั้งแตแรกเวลาสั่ง New File ดวย นั่นเพราะการกําหนดสีใหกับไฟลมีผลตอสีของภาพที่ปรากฏเมื่อเรานําไฟลไปใช โหมดสใีน Illustrator มี 5 โหมดสีคือ Grayscale RGB HSB CMYK และ Web Safe RGB

Grayscale Mode เปนโหมดสีของภาพขาวดํา คือมีแตสีดําโทนตางๆ ไลตั้งแตไมมีสี (คือสีขาว) สีเทาไปจนถึงดาํ

Page 14: Bku illustrator cs

13RGB Mode ระบบสี RGB เปนระบบสีของแสง (Red Green Blue) ไดแก สีบนหนาจอคอมพิวเตอรและสีในโทรทัศน

HSB Mode คือหลักการมองเห็นสีตามสายตามนุษย ประกอบดวย Hue Saturation Brightness CMYK Mode เปนระบบสีทางการพิมพระบบออฟเซต ที่ใชหลักการผสมสี 4 ชนิดคือ Cyan สีฟา Magenta สีมวงแดง Yellow สีเหลือง และ Black สีดํา Web Safe RGB เปนภาพโหมด RGB ที่ลดทอนจํานวนสีลง และระบุเปน Code ของคาสีเพื่อใชบนเว็บ

องคประกอบพื้นฐานที่ใชในการระบุสีและเลือกสี เมื่อเราเลือกโหมดสีใหกับไฟลแลว ก็มารูจักวิธีการใสสีกัน การระบุสีใหกับวัตถุส่ิงที่ตองรูเปนพืน้ฐานก็คือ

1. หนาตาง Fill Box และ Stroke Box ใน Tool Box 2. Color Palette 3. Stroke Palette

หนาตาง Fill Box และ Stroke Box ใน Tool Box 1. Fill Box เปนกรอบที่บอกสีของวัตถุ 2. Stroke Box เปนกรอบที่บอกสีของเสน 3. Swap Fill and Stroke 4. Default Fill and Stroke 5. Color คลิกเพือ่เลือกใชสีธรรมดา (Solid Color) 6. Gradient คลิกเพื่อเลือกใชสีไลโทน (Gradient Color) 7. None คลิกเพื่อไมใชสีใดๆ (โปรงใส)

1

4

5

3

2

7

6

Page 15: Bku illustrator cs

14วิธีการใสสีใหกับวัตถุ

1. คลิกเลือกวัตถุที่จะใสสี

2. ดับเบิลคลิกที่ชอง Fill Box เพื่อเลือกสีใหวตัถุ จะปรากฏหนาตาง Color Picker ขึ้นมา เลือกสีที่ตองการแลวคลิกปุม OK

3. ดับเบิลคลิกที่ชอง Stroke Box เพื่อเลือกสีใหเสน จะปรากฏหนาตาง Color Picker ขึ้นมา เลือกสีที่

ตองการแลวคลิกปุม OK 4. คลิกที่ปุม Swap Fill and Stroke เพื่อสลับสีระหวางสี Fill และ Stroke จะเหน็สีของวัตถุและเสน

สลับกัน

5. คลิกที่ปุม None จะเปนการยกเลิกสีใชไดทัง้ Fill Box และ Stroke Box

Page 16: Bku illustrator cs

156. คลิกที่ปุม Gradient จะเปนการใสสีแบบไลโทนใหแกวัตถุที่ถูกเลือก (ใชไดเฉพาะกับสีพื้น ไม

สามารถใชกับสีของเสนได)

7. คลิกที่ปุม Default Fill and Stroke เปนการทําใหสีกลับไปเหมือนคาเริม่ตนคือขาวดํา

การกําหนดคณุสมบัติของเสนดวย Stroke Palette

เมื่อวาดเสนเสร็จแลว ถาอยากไดเสนชนิดอื่น เชน เสนประ เสนปลายมน ฯลฯ ทําโดยกําหนดขนาดและรูปแบบของเสนไดใน Stroke Palette โดยวิธีการทํามีขั้นตอนดังนี ้

1. คลิกเลือกเครื่องมือลูกศรสีดํา เพื่อใชเลือกวัตถุ 2. คลิกที่เสนบนArt broad เปนการเลือกเสน

Weight: ใสตัวเลขหรือคลิกที่สามเหลี่ยมเพือ่กําหนดความหนาของเสน Miter Limit: ใสตัวเลขเพื่อปรับความแหลมของมุมรอยตอของเสน โดยการกําหนดใหเปนตัวคูณของความหนาของเสน (Weight) คาปกติจะอยูที่ 4 ถาเสนหนาขึ้นตองกําหนดคา Miter ใหมากขึ้น มุมจึงจะแหลม Cap: คลิกเลือกรูปแบบของปลายเสน ใหเปนปลายตัดตรงพอดีกับจุดปลาย ปลายมนหรือปลายตดัที่ยื่นเกนิจดุปลาย ตามลําดับ Join: คลิกเลือกรูปแบบของรอยตอของเสนใหเปนมุมแหลม มุมมน หรือมุมตัด ตามลําดับ

เปรียบเทียบเสนที่ใช Join ชนิดตางๆ

Page 17: Bku illustrator cs

16Dashed Line: คือ เสนประใหคลิกที่ชองสี่เหล่ียมหนาคําวา Dashed Line เพื่อเลือก

a. Dash ความยาวของเสนประ b. Gap ระยะหางระหวางเสนประ

เปรียบเทียบการกําหนด Cap ชนิดตางๆ

Swatch Palette

เปรียบเหมือนสีที่ผสมสําเร็จเก็บเปนชดุๆ ไวใชซํ้า ทําใหไมตองระบุคาสีใน Color Palette ทุกครั้ง

4 Painting Tools

การใสสีโดยใชเคร่ืองมือชวย การใสสีดวย Eyedropper

มีหลักการใชคลายกับ Paint Bucket แตเปนการดูดคาทั้งหมดจากวัตถุอ่ืนมาใชกับวตัถุที่ถูกเลือกไม

วาจะเปนคาสขีอง Fill และ Stroke ขนาดของเสน ชนิดของ Brush รวมทั้ง Style ดวย

1

2 3

Page 18: Bku illustrator cs

17

การใสสีดวย Paint Bucket

เปนการใสสีของทั้งคาสีของ Fill และ Stroke ขนาดของเสน ชนิดของ Brush รวมทั้ง Style ดวยแต

ไมดูดคาจากวตัถุอ่ืนไดเหมอืน Eyedropper ตองคาสีเอาเอง

วิธีการใช Brush การใช Brush ทําได 2 วิธีคือ วิธีที่ 1 วาดใหมดวยเครื่องมือ Paintbrush Tool วิธีที่ 2 กําหนดชนิดของ Brush ใหกับเสน Path ที่วาดไวแลว

วิธีท่ี 1 วาดเสนพูกันดวย Paintbrush Tool มีขั้นตอนการทําดังนี ้

1. เลือกเครื่องมือ Paintbrush Tool 2. หากยังไมไดเปด Brush Paletteใหเปดโดยไปที่เมน ูWindow > Brushes หรือกด F5 แลวเลือก

ชนิดของหวัพูกันที่ตองการ 3. แดรกบน Art board จากตําแหนงที่จะใหเปนจุดเริ่มตน ไปยังตําแหนงที่จะใหเปนปลายของเสน

วิธีท่ี 2 การกําหนด Brush ใหกับเสน Path ท่ีวาดไวแลว วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี ้

1

2 3

1

3

2

1 2

3

Page 19: Bku illustrator cs

181. คลิกเลือกลูกศรสีดํา เพื่อใชเลือกวัตถุ 2. คลิกเลือกเสน Path บน Art board 3. หากยังไมไดเปด Brush Palette ใหเปดโดยไปที่เมนู Window > Brushes หรือกด F5 แลวเลือก

ชนิดของหวัพูกันที่ตองการใน Brush Palette

การสราง Brush ใหมไวใชเอง หากดใูน Libraries แลวยังไมถูกใจ เราสามารถที่จะสรางหัวพูกันไวใชเอง โดยการสรางชนิดของ Brush ใหมเพือ่เก็บไวใชได โดยทําดังนี ้

1. วาดรูปบน Art board จะเปนเสนหรือรูปปดก็ได

2. ที่ Brush Palette ใหกดปุม New เพื่อกําหนดใหรูปที่สรางเปน Brush ชนิดหนึ่งจะปรากฏหนาตางใหเลือกประเภทของ Brush เปน New Art Brushใหเลือกแลวคลิก OK

1

2

3

ได Brush ใหมขึ้นมาแลว

Page 20: Bku illustrator cs

193. จะปรากฏหนาตางคุณสมบัติของ Brush ใหระบุคาตาง ๆ ซ่ึงจะเปนหนาตางตามประเภทของ

Brush ที่เลือกไว ใหกําหนดคุณสมบัติและตั้งชื่อ แลวคลิก OK จะเห็นไอคอนใหมใน Brush Palette เปนรูปที่สราง

5 Types เคร่ืองมือท่ีใชในการสรางขอความและทิศทางการเรียงตวัของตัวหนงัสือ

ในโปรแกรม Illustrator มีเครื่องมือที่ใชในการสรางขอความอยูหลายตวั รองรับการทํางานทั้งแบบขอความปกติ การสรางลูกเลนตาง ๆ และการใชงานขอความยาว ๆ ซ่ึงมีทั้งหมด 6 ชนิดดวยกันคือ

1. Type Tool ใชสรางขอความปกต ิ

2. Area Type Tool ใชสรางจอความภายในขอบเขตที่กําหนด

3. Path Type Tool ใชทําขอความที่โคงไปตามรูปรางของ Path

4. Vertical Type Toolใชสรางขอความตามแนวตั้ง รองรับการใชภาษาจีนหรือ

ญ่ีปุนไดด ี

นํา Brush ใหมมาใชในงานไดเลย

Page 21: Bku illustrator cs

205. Vertical Area Type Toolใชสรางขอความตามแนวตั้งภายในขอบเขต

ที่กําหนด

6. Vertical Path Type Tool ใชสรางขอความตามแนวตั้งที่โคงไปตามรูปรางของ Path

การจัดหนากระดาษและการกําหนด Paragraph

1. Align Left คลิกเพื่อจัดหนากระดาษชดิซาย 2. Alight Center คลิกเพื่อจัดหนาแบบยดึแกนกลางเปนหลัก 3. Alight Right คลิกเพื่อจัดหนากระดาษชิดขวา 4. Justify Full Lines คลิกเพื่อจดัหนาแบบตรงแนวดานขวาใหเทากัน ทําใหเปนระเบียบดวยการยดึ

ระยะหางของคํา (ชองวางทีก่ด spacebar) 5. Justify All Lines คลาย ๆ กบั Justify Full Lines แตจะยดึระยะทุกบรรทัดรวมทั้งบรรทัดสุดทาย

ดวย ซ่ึงอาจทําใหระยะตวัอักษรเพียนเกนิไปได 6. Left Indent คือการกําหนดระยะที่ยนเขามาทางดานซาย 7. First Line Left Indent คือการกําหนดระยะยอหนาในบรรทัดแรก 8. Right Indentคือการกําหนดระยะที่ยนเขามาทางดานขวา 9. Space Before Paragraph คือการกําหนดระยะหางระหวาง Paragraph จะชวยใหแบงขอความแต

ละชวงออกจากกันชดัเจนและอานงายขึน้ ระยะที่นยิมกําหนด ไดแก 6 pt. 12 pt. เปนตน

1 2 3 4 5

6 7

8 9

Page 22: Bku illustrator cs

21การเปล่ียนรายละเอียดของตัวอักษร การเปลี่ยนรายละเอียดของตวัอักษรตาง ๆ ของตัวอักษร ทําไดโดยใช Character Palette ซ่ึงสามารถเรียกใชไดโดยไปที่เมนู Window > Type > Character จะปรากฏหนาตาง Character Palette ซ่ึงสามารถเรียกดู Option เพิ่มไดโดยคลิกที่ แลว Show Option

วิธีการแกไขนัน้เราตองทําการเลือกขอความที่ตองการกอน จะใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวัตถุที่เปนขอความทั้งชิ้น หรือใช Type Tool แดรกใหเปนแถบดําเฉพาะขอความที่ตองการแกไขก็ได เมื่อเราเลือกขอความเสร็จแลว ก็ระบุรายละเอียดใหมตามตองการ โดยแตละรายการใน character Palette ใชเปลี่ยนรายละเอียดดังตอไปนี ้

1. Font Family คลิกเลือกชนิดของตัวอักษร 2. Font Style คลิกเลือกลักษณะของตัวอักษร ไดแก ตัวปกติ ตัวเอียง ตัวหนา ตวัหนาและเอียง 3. Font Size ใชเปลี่ยนขนาดของตัวอักษร 4. Leading ใชปรับระยะหางระหวางบรรทัด 5. Kerning ใชปรับระยะหางระหวางตวัอักษร 2 ตัวที่อยูขางกัน 6. Tracking ใชปรับระยะหางของตัวอักษรทั้งชุด 7. Vertical Scale ใชปรับความสูงของตัวอักษร 8. Horizontal ใชปรับความกวางของตัวอักษร 9. Baseline Shift ใชทําตัวยกหรือตัวหอยเชน 1010 H2O เปนตน

การเลื่อนตําแหนงของขอความบนเสน Path

1. ใชลูกศรสีดําคลิกที่ขอความหนึ่งครั้ง จะเหน็ I-beam ปรากฏขึ้นมา

2. แดรกตรง I-beam เล่ือนไปมา จะเปนการเปลี่ยนตําแหนงของขอความบน Path

1 2 3

4 5 6 7

8 9

Page 23: Bku illustrator cs

22การพลิกตัวหนังสือบน Path

1. ใชลูกศรสีดําคลิกที่ขอความหนึ่งครั้ง จะเหน็ I-beam ปรากฏขึ้นมา

2. แดรกตรง I-beam เล่ือนกลับลงมาอีกดานหนึ่ง จะเปนการาํลิกกลับดานของขอความPath

การสรางขอความในกรอบสีเ่หลี่ยม

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Type Tool 2. แดรกบน Art board จากจดุหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง จะเหน็กรอบ

ส่ีเหล่ียมดังรูป

3. พิมพขอความตามตองการ โดยตวัหนังสือจะตัดขึน้บรรทัดใหมอัตโนมัติเมื่อสุดขอบของสี่เหล่ียมแตหากขอความยาวเกนิกรอบที่วาดไว จะเหน็เปนจุดสี่เหล่ียมที่มุมขวาลาง แสดงวายังมีขอความตอแตไมปรากฏใหเหน็

6 Text Effects การลิงค (Link) ขอความทีล่นกรอบไปยงักรอบใหม

1. สรางรูปสี่เหล่ียมเพื่อเปนกรอบขอความใหม 2. คลิกเลือกกรอบขอความและสี่เหล่ียมที่จะใหเปนกรอบใหม

Page 24: Bku illustrator cs

23

3. ไปที่เมนูแลวคลิกเลือก Type > Block > Link 4. ขอความสวนที่ซอนอยูในกรอบแรกจะปรากฏในกรอบใหมและตอเนื่องกัน เชน หากลบ

ขอความในกรอบแรก ขอความในกรอบหลังก็จะเลื่อนขึน้ไปแทนที่ เปนตน

การแบงขอความเปนคอลัมนเพื่อจัดเลเอาต ในการทํางานที่มีขอความยาว ๆ นั้น การแบงเนื้อหาออกเปนคอลัมนจะทําใหจัดหนากระดาษไดเปนระเบียบ สวยงาม และอานงายขึ้น การแบงคอลัมนทําไดดังนี ้

1. คลิกเลือกขอความที่ตองการแบงเลเอาต 2. ไปที่เมนู Type > Row & Column จะปรากฏหนาตางขึ้นมาใหระบ ุ3. ระบุรายละเอยีดตามตองการ แลวกด OK

Rows เปนการกําหนดคาตางๆ ของแถว Number คือจํานวนแถว

Page 25: Bku illustrator cs

24 Height คือความสูงของกรอบขอความ Gutter คือชองวางระหวางแถว จะแปรตามความสูงที่กําหนดใหมโดยอัตโนมตัิ Total คือความสูงของแถวทั้งหมดรวมกัน Columns เปนการกําหนดคาตางๆ ของหลัก Number คือจํานวนหลกั Width คือความกวางของกรอบขอความ Gutter คือชองวางระหวางหลัก จะแปรตามความกวางที่กาํหนดใหมโดยอัตโนมัติ Total คือความกวางของหลักทั้งหมดรวมกนั Options Text Flow คือการกําหนดทิศทางการเรียงลําดับเนื้อหาในแตละกรอบขอความ Add Guides คือการสั่งใหเสนไกดของแถวและหลกัดวย โดยจะเปนชุดไกดแยกตางหาก

การทําขอความลอมรอบภาพ (Text Wrap) มีประโยชนในการจัดขอความไมใหซอนทับภาพ หรือใชสรางลูกเลนในการจดัหนากระดาษ ซ่ึงไมจําเปนตองจดัแบบคอลัมนส่ีเหล่ียมเสมอไป วิธีการทํามขีั้นตอนตัวนี ้

1. วาด Path ลอมรอบวัตถุที่ตองการทํา Text Wrap

2. คลิกที่ Stroke Box ใหทํางาน 3. คลิกปุม None เพื่อไมใสสีใหเสน 4. คลิกเลือก Path และกรอบขอความ 5. ไปที่เมนู Type > Wrap >Make

Page 26: Bku illustrator cs

25

การทําใหตัวหนังสือกลายเปน Path (Create Outline) วิธีการทําคือ 1. เลือกวัตถุที่เปนตัวหนังสือ 2. เลือกเมนู Type > Create Outlines

7 Transformations Origin Point

กอนที่เราจะใช Transformation Tool นั้นเราควรที่จะรูจกัจุด Origin กันกอนจดุ Origin เปนจุดทีใ่ชเปนหลักยึดวัตถุในการเปลี่ยนแปลงแตละครั้งโดยเราสามารถยายจุด Origin ไปยังตําแหนงใดก็ได ตัวอยาง

การปรับแตงวตัถุ (Transforming) การยอขยายอสิระตามการแดรกเมาส

Origin Point อยูตรงกลาง Origin Point อยูซายมือ

Page 27: Bku illustrator cs

26

ทําไดโดยใชเครื่องมือ Scale Tool หรือใชลูกศรสีดําแดรกที่ Bounding Box 1. การยอขยายวตัถุทั้งชิ้น แบงเปน

1.1. การยอขยายตามสัดสวนเดิม ใหกดคีย Shift คางขณะแดรก Note กดคีย Alt คางขณะแดรกจะเปนการยอขยายโดยยึดจุดศูนยกลางเปนหลัก

1.2. การยอขยายเพยีงดานใดดานหนึ่งคือ แนวนอน (Horizontal) หรือแนวตั้ง (Vertical)

2. การยอขยายเพยีงบางสวนของวัตถุ มีขั้นตอนการทําดังนี ้ 2.1 ใชลูกศรสีขาวเลือกเฉพาะจดุหรือเสนที่ตองการยอขยาย 2.2 คลิกเลือกเครื่องมือ Scale Tool แลวเล่ือนเคอเซอรไปยังตําแหนงทีต่องการใชเปนจดุอางอิงแลวคลิก 2.3 แดรกจดุที่เลือกไวแลวใหไดขนาดที่ตองการ แลวปลอยปุมเมาส

การหมุนวัตถุ (Rotate)

การหมุนวัตถุมี 2 วิธีคือ 1. หมุนอิสระตามการแดรกเมาส 2. หมุนแบบระบคุา วิธีท่ี 1 หมุนอิสระตามการแดรกเมาส หลักการหมนุมี 3 รูปแบบ

1. หมุนรอบจุดศนูยกลาง สามารถใชเครื่องมือลูกศรสีดําคลิกเลือกใหเหน็ Bounding Box ไดเลย โดยเล่ือนเคอเซอรไปอยูตรงมุมของวัตถุจะเหน็เคอเซอรเปนรูป แลวจึงแดรกเมาสเพื่อหมุน

2. หมุนโดยกําหนดจุดอางอิงใหม จะกําหนดไวนอกวัตถุกไ็ด ทําไดโดย 2.1. ใชลูกศรสีดําเลือกวัตถุที่จุดหมุน 2.2. ใชเครื่องมือ Rotate Tool คลิกครั้งแรกเพื่อกําหนดจุดอางอิง 2.3. แดรกเมาสเพือ่หมุนวัตถุ

Page 28: Bku illustrator cs

273. หมุนเพยีงบางสวนของวัตถุ ทําไดโดย

3.1. ใชลูกศรสีขาวเลือกบางสวนของวัตถุที่ตองการหมุน 3.2. ใชเครื่องมือ Rotate Tool คลิกครั้งแรกเพื่อกําหนดจุดอางอิง 3.3. แดรกเมาสเพือ่หมุนวัตถุ

การพลิกวัตถุ (Reflect)

วิธีท่ี 1 พลิกอิสระตามการแดรกเมาส เมื่อใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวตัถุที่ตองการแลว ใหคลิกเลือกเครื่องมือ Reflect Tool แลวทําขอใดขอ

หนึ่งดังตอไปนี้ 1. คลิกครั้งแรกเพื่อกําหนดจุดอางอิง (Origin Point) คลิกอีกทีแลวปลอยเมาส วัตถุจะพลิกไปอยู

ตรงขามแนวแกนที่เกดิจากการคลิกสองครั้ง

2. แดรกวัตถุแทนการคลิก จนไดตําแหนงทีต่องการแลวปลอยเมาส จะเปนการพลิกวตัถุไปพรอม

ๆ กับหมุนวัตถุพรอมจุดที่เร่ิมแดรก

การบิดวัตถุแบบเฉือน (Shear)

การบิดวัตถุแบบเฉือนทําไดโดยการใชเครื่องมือ Shear Tool วิธีท่ี 1 บิดแบบเฉือนอิสระตามการแดรกเมาส ใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวัตถุทีต่องการ แลวคลิกเลือกเครื่องมือ Shear Tool แลวทําขอใดขอหนึ่ง

ดังตอไปนี ้

1. แดรกเมาสเปนการเฉือนวัตถุรอบจุดศูนยกลาง 2. คลิกเพื่อกําหนดจุดอางอิง แลวแดรกตรงไหนก็ไดเพื่อบิดวตัถุแบบเฉือนรอบจุดอางอิงนั้น

Page 29: Bku illustrator cs

28การปรับแตงอยางอิสระดวย Free Transform Tool นอกจากการใชเครื่องมือเฉพาะในการปรบัแตงแลว เรายังสามารถปรับแตงขนาดหรือรูปรางไดอยางอิสระดวยเครื่องมือ Free Transform Tool

วิธีการใชมีขั้นตอนดังนี ้

1. ใชลูกศรสีดําเลือกวัตถุที่ตองการปรับแตง 2. คลิกเลือกเครื่องมือ Free Transform Tool 3. แดรกที่ตําแหนงมุมของวัตถุ (Bounding Box) เมื่อเร่ิมแดรกแลวใหทําขอใดขอหนึ่งตอไปนี ้

1.1. กดคีย Ctrl คางขณะแดรกจนกวาจะไดรูปรางที่ตองการแลวปลอยปุมเมาส เปนการบิดมุมดานเดยีว

1.2. กดคีย Ctrl+Alt คางขณะแดรกจนจะไดรูปรางที่ตองการแลวปลอยปุมเมาส จะเปนการบิดแบบเฉือน

1.3. กดคีย Shift+ Ctrl+Alt ขณะแดรกจนจะไดรูปรางที่ตองการแลวปลอยปุมเมาส จะเปนการดัดรูปใหเปน Perspective

8 Mask and Compound Paths Place คือการนําไฟลภาพหรือไฟลขอความชนิดตางๆ เขามาใชประกอบในชิ้นงาน โดยคลิกที่เมน ูFile > Place และเลือกไฟลที่ตองการใชงาน (หากตองการใหภาพแนบไปกบัไฟลหามคลิกเครื่องหมาย หนาคําวา Link มิฉะนั้นแลวภาพที่นํามาใชจะไมถูกบันทึกไปกบัไฟล) จากนั้นใหคลิกที่ปุม Place

Ctrl

Ctrl + Alt Shift + Ctrl + Alt

Original

Page 30: Bku illustrator cs

29การทํา Clipping Mask Clipping Mask หรือ Mask เปนเสมือนหนากากที่สวมแลวมองเหน็เฉพาะชองที่เจาะเวนไวใหเหน็เทานั้น เปนการใชรูปที่อยูบนสุดของวัตถุมาทําเปนกรอบครอบวัตถุที่อยูดานลางใหแสดงผลภายใตรูปรางของวัตถุบน สามารถใชไดทัง้ภาพแบบเวกเตอรและบิตแมพ

วิธีการทําคือ 1. เอาวัตถุทั้งหมดที่ตองการทํา Mask มาวางซอนทับกัน โดยใหวัตถุที่ตองการใหเปนกรอบอยู

ดานบนสุด (ในรูป ช้ินที่หนึง่คือรูปที่ Place เขามา ช้ินที่สองคือวงกลมสีขาว)

2. เลือกวัตถุทั้งหมดแลวไปทีเ่มนู Object > Clipping Mask > Make

3. การยกเลิก Mask ใหเลือกไปที่เมนู Object > Clipping Mask> Release

การใช Pathfinder Pathfinder เปนสิ่งที่ชวยในการสรางรูปไดสะดวกและรวดเรว็ข้ึนมาก โดยเราอาจจะสรางรูปรางแต

ละสวนเปนชิน้ ๆ แลวนํามาทํา Pathfinder เพื่อใหเปนรูปรางใหม ซ่ึงจะเปนชิ้นเดยีวกนั วิธีการรวมรางดวย Pathfinder มีดังนี ้

1. ใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวัตถุทีซ่อนทับกันทลีะชิ้น 2. ถายังไมไดเปด Pathfinder Palette ใหเปดโดยไปที่เมนูแลวเลือก Window > Pathfinder หรือ

กดคีย Shift +F9 3. คลิกที่ปุมบน Pathfinder Palette ตามชนิดที่ตองการ

การใช Pathfinder ในการรวมรางนั้นมีหลายรูปแบบ ขึ้นกับชนิดของการรวมรางใน Pathfinder Palette ซ่ึงจะมาทําความรูจกักัน

1

2

Page 31: Bku illustrator cs

30รายละเอียดของ Pathfinder Palette ในหนาตางของ Pathfinder Palette จะแบงเปน 2 หมวดดวยกัน คือ

หมวด Shape Modes: เปนการทําใหรูปรางของวัตถุเปลี่ยนไป แตรูปรางของ Path ยังคงเดิมสีและเสนของวัตถุที่เกิดขึ้นใหมจะมีผลตามลําดับการซอนทับของวัตถุเดิม โดยวตัถุที่อยูหนาจะเปนตวัหลักในการเปลี่ยนรูป ยกเวน Subtract to Shape Areas เทานั้นที่ใชวัตถุที่อยูหลังเปนหลัก

1. Add to Shape Area คือการรวมวัตถุทุกชิน้เปนชิ้นเดยีวโดยเอาเสนรอบรูปทั้งหมดรวมกัน 2. Subtract to Shape Area คือการเอาวัตถุที่อยูดานหลังตัดวตัถุที่อยูดานหนา 3. Intersect Shape Area ใชกับวตัถุ 2 ช้ิน โดยจะเหลือแตสวนที่ซอนทับกนัไว 4. Exclude Overlapping Shape Area เปนการเจาะเอาสวนทีซ่อนทับกันออกไปเหลือแตสวนที่ไม

ซอนทับกันไว 5. Expand คือการลดรูป Path ของรูปรางเดิมทั้งหมดใหเหลือเพียงชุดเดียว ผลที่ออกมาจะ

เหมือนกับการเลือกใชหมวด Pathfinder ซ่ึงไมสามารถคืนกลับเปนรูปรางเดิมไดอีก

Original Add to Shape Area Subtract to Shape

Intersect Shape Area Exclude Overlapping Shape Area

Expand

Page 32: Bku illustrator cs

31หมวด Pathfinders: จะเปนการรวมรูปรางโดยเปลี่ยนรูปรางของ Path ตนฉบับไปเลยไมสามารถแกไขกลับคืนมาเปนรูปรางเดิมได

1. Divide คือการตัดแบงวัตถุทั้งหมดเปนชิน้ ๆ ตามแนวเสนขอบวัตถุเขาดวยกัน 2. Trim การใชวตัถุบนตัดวัตถุลาง โดยลบสวนที่ถูกบังอยูออกไป และจะไมรวมวัตถุเขาดวยกันแม

จะมีลักษณะของสีและเสนเหมือนกนัก็ตาม 3. Merge คลายกับ Trim คือการใชวัตถุบนตดัวัตถุลาง โดยลบสวนที่ถูกบังอยูออกไป แตหากวัตถุ

มีลีกษณะเดยีวกันจะเปนการรวมเขาดวยกนั 4. Crop คือการเอาวัตถุบนเปนกรอบในการตดัวัตถุลาง วัตถุลางอยูนอกกรอบจะถูกลบทิ้ง 5. Outline คือการตัดแบงวัตถุเปนชิ้น ๆ ในรปูของเสน โดยยกเลิกสีและ Style ตาง ๆ ออกหมดมี

ประโยชนในการใชเตรียมอารตเวิรกในกระบวนการพิมพเพื่อทํา Trap สําหรับทําสี Overprint เพื่อปองกันสีเหล่ือม

6. Minus Back คือการใชวัตถุลางตัดวัตถุบน

การจัดเรียงวัตถุ (Align) ในการทํางานที่ตองการความมีระเบียบและแมนยํา การยายวัตถุโดยการกะดวยสายตานั้นไมเพยีงพอ วิธีที่ดีคือ การใช Align เขาชวย ขั้นตอนการทํามีดังนี ้

Divide Trim Merge

Crop Outline Minus Back

Page 33: Bku illustrator cs

321. เลือกวัตถุที่ตองการจัดเรียง 2. ถายังไมไดเปด Align Palette ใหเปดโดยไปที่ Window > Align หรือกดคีย Shift + F7 3. คลิกปุม Align ชนิดที่ตองการ

การจัดลําดับการซอนทับวัตถุ (Arrange) เมื่อทํางานกับวัตถุหลาย ๆ ช้ินที่มีการวางทบักัน ลําดับในการซอนหนาหรือหลัง จะมผีลตอภาพที่ปรากฏ วัตถุที่อยูหนาจะบังวตัถุที่อยูหลัง วธีิการจัดลําดับซอนทับของวัตถุ ทําไดโดยการคลิกเลือกวัตถุที่ตองการเปลี่ยนลําดับ แลวคลิกเลือกเมนู Object > Arrange ซ่ึงมีเมนูยอยใหเลือก 4 อยางดังนี ้ Bring Forward ดึงขึ้นมาขางหนา 1 ขั้น Bring to Front คือดึงมาอยูหนาสุดของวัตถุทั้งหมดในเลเยอรนั้น Send Backward คือผลักไปขางหลัง 1 ขั้น Send to Back คือผลักไปอยูหลังสุดของวตัถุทั้งหมดในเลเยอรนั้น

Original Bring Forward Bring to Front

Send Backward Send to Back

Page 34: Bku illustrator cs

33แบบฝกหัด (File Download – http://tulip.bu.ac.th/~ittipon.s/ai10lock/ex.html ขอ 1 1. ใหนักศึกษานําสวนประกอบตางๆ ที่ใหมาจัดวางเปนตัวโดเรมอนตามภาพตัวอยาง 2. นักศึกษาเพิ่มเติมรายละเอียดสวนตางๆ ที่ขาดไปใหสมบูรณเหมือนภาพตัวอยาง 3. ใสสีสันใหแกโดเรมอนตามใจชอบ

ตัวอยาง

ขอ 2 1. วาดสี่เหลี่ยมขอบมน ขนาด 1.6 x 4.5 ซม. Corner Radius 0.7 ซม. สีแดง C4 M 95 Y 93 K0

2. ทําการ Copy ออกมาเปน 3 ช้ิน (โดยใช เครื่องมือ Direction tool แลวกด Alt) แลวหมุน ช้ินที่ 2 > 45 องศา , ช้ินที่ 3 > 90 องศา ตามภาพ

3. จัดเรียง Shape ดวย Align (เปดที่เมนู Window) ใหเปนรูปลูกศร

Page 35: Bku illustrator cs

344. รวม shape ทั้ง 3 ช้ินดวย Pathfinder (ใชปุม Add) แลวกดปุม Expand

5. สรางเสน guide จากไมบรรทัด และใช Direct tool เคลื่อนยาย point ใหไดทรงสี่เหลี่ยมดังภาพ

6. Copy ภาพลูกศร เปน 4 ช้ิน (ใชเครื่องมือ Direction tool แลวกดปุม Alt ) แลวหมุนลูกศรเขาหากัน ดังภาพ

7. รวมลูกศร ทั้ง 4 ช้ินเขาดวยกัน โดยใช Pathfinder (ใชปุม Add) แลวกดปุม Expand 8. สรางวงกลม 1 วง แลวใช Align จัดใหวงกลมอยูตรงกลาง จากนั้นใช Pathfinder กดปุม Subtract เพื่อตัด สวนที่ทับกันออกไป

9. สรางวงกลมอีก 2 ช้ิน (เพื่อสรางตัววงกลมตรงกลาง Logo) ใหวงกลมวงเล็กอยูตรงกลางวงกลมวงใหญ (สีแดง) แลวเลือกวงกลมทั้ง 2 วงพรอมกัน แลวใช Pathfinder กดปุม Subtract ตัดสวนที่ทับกัน นํามาวางในโลโก

Page 36: Bku illustrator cs

35 10. สรางสี่เหลี่ยมช้ินเล็กๆ ดังภาพ เพื่อตัดใหเปนรูปตัว C โดยการ Click เลือกสี่เหลี่ยมพรอมกันเลือกวงกลม ดานใน ใช Pathfinder กดปุม Subtract อีกครั้ง

เสร็จแลวโลโก Central ถาตองการใสเงาก็ใชคําสั่ง Effect สามารถใสเงาได ขอ 3 จัดหนา Layout 1. สรางเอกสารขนาด A4 แนวตั้ง โหมดสี CMYK 2. เปดไฟล text04.ai เพื่อคัดลอกขอความ และจัดวางใสคอลัมน 2 คอลัมน 3. วางรูป SixDegree04 ดานบนของหนางาน (ตามตัวอยาง) 4. วางภาพ Orange04 ดานลางขวาของคอลัมนที่ 2 โดยใชเทคนิค Text Wrap โดยกําหนดคา Offset 6 pt 8. วาดสี่เหลี่ยมขนาด 3 x 21 ซม. ใสสีดํา ลด Opacity เหลือ 30 วางตามตําแหนง 9. พิมพช่ือนักศึกษาดวยตัวพิมพใหญ Font Century Gothic ขนาด 65 pt สีขาว 10. วางสี่เหลี่ยมขนาด A4 กําหนดสี C48 M15 Y98 K3 แลวสงไปไวดานหลัง

ตัวอยาง