Top Banner
.. มารวย ส่งทานินทร์ 27 มกราคม 2557
23

BCM revised

May 28, 2015

Download

Business

Business Continuity Management (BCM)
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: BCM revised

พ.อ. มารวย สง่ทานินทร ์

27 มกราคม 2557

Page 2: BCM revised
Page 3: BCM revised

Business Continuity Management คือ “กระบวนการบริหารจดัการ

ธุรกิจแบบองคร์วม โดยมีการระบุผลกระทบที่อาจเป็นภยัคกุคาม

ตอ่องคก์ร และมีกรอบในการสรา้งความอ่อนตวัและขีด

ความสามารถในการตอบสนองที่มีประสิทธิภาพ เพื่อปกป้อง

ผลประโยชนใ์หก้บัผูมี้สว่นไดส้ว่นเสียท่ีส าคญั รวมทั้งช่ือเสียง

ตราสินคา้ และกิจกรรมในการสรา้งคณุค่าขององคก์ร

ส่วน ความยืดหยุน่ทางดจิติอล (Digital Resilience) หมายถึง

ความสามารถ ความทนทาน หรอืการฟ้ืนตวั ท่ีมีตอ่ภยัคกุคามท่ีท า

ใหร้ะบบดิจติอลขององคก์รเกิดความลม้เหลว ”

Page 4: BCM revised

ขั้นตอนทัว่ ๆ ไปภาพรวมของการบรหิารความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ

(BCM) แบ่งไดเ้ป็น 4 ขั้นตอนใหญ ่ๆ คือ

1. การเริม่ตน้และใหค้ านิยามใหม่ (Initiation and Redefinition)

2. การวางแผนความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ (Planning for Business

Continuity)

3. การน าแผนไปปฏิบตั ิ(Implementation)

4. การบรหิารการปฏิบตักิาร (Operational Management)

Page 5: BCM revised

1. การเริ่มตน้และใหค้ านิยามใหม่

เป็นขั้นของการทบทวนและประเมินความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ ที่

ผูน้ าระดบัสูงมีความตระหนกัถึงภยัคกุคาม โดยมีการก าหนด

นโยบาย ระบุโครงสรา้งทีมงานตา่ง ๆ การจดัสรรทรพัยากร การ

จดัท าโครงการ และมีกลไกการทบทวนตรวจสอบ

องคก์รมีการก าหนดวตัถปุระสงคแ์ละขอบเขตของความตอ่เน่ือง

ทางธุรกิจ ซ่ึงเป็นการเปล่ียนแนวคิดของบุคลากรจากการฟ้ืนฟู

สภาพ มาเป็นการฟ้ืนฟูและการป้องกนั

Page 6: BCM revised

2. การวางแผนความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ

จดุส าคญัหรือหวัใจของขั้นตอนน้ีคือ การวิเคราะหผ์ลกระทบท่ีมี

ตอ่ธุรกิจ (Business Impact Analysis: BIA) โดยการวิเคราะหท์ั้ง

ปัจจยัภายนอกและปัจจยัภายใน

ผลจากการวิเคราะหจ์ะน ามาใชใ้นการสรา้งแผนการบริหารธุรกิจ

อยา่งตอ่เน่ืองตอ่ไป โดยจะมีการตั้งวตัถุประสงค ์การประเมิน

ความเสี่ยง การจดัล าดบัความส าคญั การจ าลองสถานการณท์ี่

อาจเกิดข้ึน และการสรา้งแผนรองรบั

Page 7: BCM revised
Page 8: BCM revised

แผนงานท่ีเป็นแนวทางปฏิบตักิารในการบริหารความตอ่เน่ือง

ทางธุรกิจ มี 4 องคป์ระกอบคือ

1. แผนงานเม่ือเกิดเหตกุารณวิ์กฤต เป็นคู่มือหรือแนวทางปฏิบตัิ

2. รายการที่ตอ้งปฏิบตั ิเป็นแนวทางการรายงานตามล าดบัขั้น

3. ระยะเวลาการฟ้ืนฟู เป็นรายการท่ีตอ้งท า โดยมีการจบัเวลาตั้งแต่

เกิดเหตกุารณ ์

4. การปฏิบตัตินของแผนในระดบัแผนกตา่ง ๆ ตามแผนกลยุทธข์อง

การฟ้ืนฟู

Page 9: BCM revised

3. การน าแผนไปปฏิบตั ิ

การท าใหแ้ผนการหรอืแนวทางการบรหิารความตอ่เน่ืองทาง

ธุรกิจไปใชป้ระโยชน ์เพ่ือใหฝั้งตวัอยูใ่นเน้ือของการปฏิบตังิาน

ประจ า มี 2 แนวทางใหญ ่ๆ คือ

ตามโครงสรา้งองคก์ร ที่มีสายการบงัคบับญัชา การควบคมุ

และการสื่อสารที่ชดัเจน

ตามภาพแวดลอ้มขององคก์รท่ีเอ้ือตอ่การปฏิบตั ิคือ การ

สื่อสาร วฒันธรรมองคก์ร การควบคุม การใหร้างวลั และการ

ฝึกอบรม

Page 10: BCM revised

4. การบริหารการปฏิบตักิาร

เป็นการทดสอบ และการบรหิารเหตกุารณ ์

การท่ีจะจดัการกบัเหตกุารณไ์ดด้ีข้ึนกบัการส่ือสารตามล าดบัขั้น

ที่ลงตวัพอดี เวลาเป็นสิ่งส าคญั โดยเฉพาะ 24 ชัว่โมงแรก ว่าจะ

จดัการเหตกุารณไ์ดด้ีเพียงไร

Page 11: BCM revised
Page 12: BCM revised

โครงสรา้งการบงัคบับญัชาในการบริการความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ

ที่แนะน าแบ่งเป็น 3 ระดบั เพ่ือใหส้ายการบงัคบับญัชาสั้น แต่

สามารถน าไปดดัแปลงใชไ้ด ้ซ่ึงข้ึนกบัขนาดขององคก์ร คือ

ระดบัทอง (ดา้นกลยุทธ)์

ระดบัเงิน (ดา้นกลวิธี)

ระดบัทองแดง (ดา้นปฏิบตักิาร)

Page 13: BCM revised

ระดบัทอง (ดา้นกลยุทธ)์ เป็นระดบัของผูบ้ริหารสูงสุดขององคก์ร มีหนา้ท่ี

ควบคุมกลยุทธ ์การใหข่้าวกบัสื่อมวลชน และตดิตอ่ส่ือสารกบัผูมี้ส่วนได้

ส่วนเสีย จะไม่ลงมายุง่กบัรายระเอียดของการจดัการเหตกุารณวิ์กฤต

ระดบัเงิน (ดา้นกลวิธี) เป็นศูนยป์ระสานงาน มีหวัหนา้ศูนยป์ระสานงาน

เป็นผูร้บัผิดชอบ เป็นผูอ้อกแบบกลวิธีในการรบัมือกบัเหตกุารณวิ์กฤต

จดัสรรทรพัยากรใหก้บัทีมงานปฏิบตักิารตา่ง ๆ และเป็นผูอ้อกค าสัง่เม่ือ

เกิดเหตกุารณวิ์กฤต

ระดบัทองแดง (ดา้นปฏิบตักิาร) เป็นผูป้ฏิบตัใินดา่นหนา้ ท่ีเม่ือพบ

เหตกุารณวิ์กฤตแลว้ จะตอ้งรายงานใหก้บัหวัหนา้ศูนยป์ระสานงานไดร้บั

ทราบ และเป็นผูล้งมือปฏิบตัิการเม่ือเกิดเหตกุารณข้ึ์นจริง

Page 14: BCM revised
Page 15: BCM revised

การทดสอบแผนการบรหิารความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ

เป็นการท าแผนใหท้นัสมยัอยูเ่สมอ เพื่อใหมี้การรบัมือกบั

เหตกุารณวิ์กฤตไดด้ีที่สุด เพื่อการตอบสนองที่ถูกตอ้งและมี

ความปลอดภยั และเพื่อใหแ้น่ใจว่าสามารถด าเนินการตอ่เน่ือง

ทางธุรกิจไดต้ามแผนที่วางไว ้

การฝึกซอ้มแผนมีทั้งแบบแจง้ล่วงหนา้และไม่ไดแ้จง้ล่วงหนา้

การทดสอบโดยแจง้ล่วงหนา้สามารถท าไดบ้่อยกว่า ส่วนการ

ทดสอบโดยไม่แจง้ล่วงหนา้ใหร้ะวงัการเกิดความเขา้ใจผิดของผู ้

มีสว่นไดส้ว่นเสีย เพราะอาจคิดว่าเกิดเหตกุารณข้ึ์นจรงิจนกว่าจะ

ทราบว่าเป็นแค่การซอ้ม

Page 16: BCM revised

รูปแบบของการทดสอบแผนท่ีวางไวมี้วิธีปฏิบตัดิงัน้ี คือ

1. การทดสอบบนโตะ๊ (desk check) เป็นการตรวจเอกสาร เพื่อ

ตรวจความเป็นปัจจบุนัที่สุด ไม่ว่าจะเป็นบุคคลท่ีมีรายช่ือในแผน

เบอรโ์ทรศพัท ์หรอื หน่วยปฏิบตักิาร ว่ายงัคงมีอยูจ่ริง เป็น

วิธีการที่นิยมใชม้ากที่สุด

2. การตรวจสถานที่ (walk-through or talk-through) ยงัเป็นการ

ตรวจเอกสาร โดยตรวจผูท้ี่มีส่วนเก่ียวขอ้งจรงิ ในสถานที่จริง ทุก

คนมาแสดงบทบาทท่ีตนเองรบัผิดชอบ มีการจบัเวลา และ

ทดสอบระบบการรายงาน

Page 17: BCM revised

3. การจ าลองสถานการณ ์(simulation exercise) มีผูท้ี่เก่ียวขอ้ง

เพ่ิมข้ึนเพ่ือศึกษาการบูรณาการของแผนตา่ง ๆ และหน่วยงานที่

เก่ียวขอ้งในการฟ้ืนฟู เริม่จบัเวลาตั้งแตช่ัว่โมงที่ 0 ถึงชัว่โมงท่ี

72 หรือมากกว่า แตย่น่ยอ่เวลาเหลือ 1 ใน 4 โดยไม่จ าเป็นตอ้ง

ท าไดส้มบูรณ ์แตรู่ว่้าจะตอ้งท าอะไร อยา่งไร

4. การทดสอบหนา้ที่หรือการปฏิบตักิาร (function or operational

testing) เป็นทดสอบแบบจ ากดัวงแค่ 1 หรือ 2 แผนก โดย

สถานที่เดิมจะถูกปิดลง แลว้ใหบุ้คลากรไปฟ้ืนฟูในสถานท่ีใหม่ท่ี

ก าหนด เพื่อทดสอบการท าหนา้ที่ของแผนกตา่ง ๆ ว่าสามารถท า

ไดต้ามที่ก าหนดหรอืไม่

Page 18: BCM revised

5. การทดสอบเตม็รูปแบบ (full or live exercise) เป็นการ

ทดสอบที่โดยมากจะท าปีละครั้ง หรือปีละ 2 ครั้งเทา่นั้น เพราะ

ตอ้งลงทุนมากและไม่มีการแจง้ล่วงหนา้ เพื่อทดสอบความ

เช่ือมโยงของแผนงานที่วางไว ้เพราะระยะเวลาการฟ้ืนฟูของ

แผนกตา่ง ๆ จะมีความเรง่ดว่นไม่เท่ากนั

Page 19: BCM revised

ภายหลงัการทดสอบแผน จะมีการประเมิน เพ่ือดปูระสิทธิภาพ

ของแผน บุคลากรไดท้ าตามแผนหรอืแตกตา่งออกไป จุดใดที่

เกิดความลา่ชา้ บุคลากรท าหนา้ที่ไดด้ีหรอืไม่ มีการปฏิบตัไิด้

ตามคาดหวงัหรือไม่ มีอะไรตอ้งปรบัเปล่ียน และจะท าใหด้ีข้ึนได้

อยา่งไร

Page 20: BCM revised

เอกสารทีใ่ชใ้นการบริหารความตอ่เน่ืองทางธุรกิจเป็นสิ่งท่ีไม่

หยุดน่ิง ควรมีการปรบัปรุงแกไ้ข มิฉะนั้นจะกลายเป็นการลงทุน

ที่สูญเปล่า ไม่ควรท าเป็นแค่โครงการเทา่นั้น แตค่วรท าเป็นส่ิง

ปกตขิององคก์ร

Page 21: BCM revised

การบริหารความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ มีวิวฒันาการจากการเตรยีม

ความพรอ้มเพ่ือความตอ่เน่ืองของระบบสารสนเทศ แลว้ขยายตวั

สูป่ฏิบตักิารอื่น ๆ เพื่อใชใ้นการเพิ่มคุณค่าใหก้บัองคก์ร และ

ตอ่มาถือว่าเป็นความสามารถขององคก์รในการไดเ้ปรยีบในการ

แข่งขนั คือ มีความสามารถในการป้องกนั และความสามารถใน

การฟ้ืนฟูจากภยัพิบตั ิ

Page 22: BCM revised

Japanese Proverb

Page 23: BCM revised