Top Banner
136

AW วารสารสาธาณสุข เล่ม3 รวมเล่ม 3.pdf1.3 ม บทค ดย อภาษาไทยและภาษาอ งกฤษ ไม

Oct 22, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
  • ค�ำแนะน�ำกำรเตรียมและหลักเกณฑ์กำรจัดท�ำและส่งต้นฉบับวำรสำรสำธำรณสุขมูลฐำนภำคใต้

    SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNAL

    วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้เป็นวารสารรองรับการเพื่อเผยแพร่บทความวิจัยและบทความวิชาการ

    ด้านการแพทย์การพยาบาลการสาธารณสุขการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

    ของกรมต่างๆ ในกระทรวงสาธารณสุข,หน่วยงานราชการอืน่ทีเ่ก่ียวข้องด้านสาธารณสขุ,องค์เอกชน,ตลอดจนภาคี

    เครือข่ายต่างๆ

    กำรจัดท�ำต้นฉบับ 1.บทควำมวิจัยความยาว10-12หน้ากระดาษขนาดA4ใช้ตัวพิมพ์THSarabunPSKขนาด16Point

    และต้องไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารหรือหนังสือใดมาก่อน

    1.1 ชื่อเรื่องเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษพิมพ์ด้วยตัวหนาไว้หน้าแรกตรงกลางขนาดอักษร17

    1.2 ชือ่ผูเ้ขยีนเป็นภาษาไทยและภาษาองักฤษพมิพ์ด้วยตวัอกัษรปกติขนาด14อยูใ่ต้ชือ่เรือ่งให้ตวัเลข

    เป็นตัวยกท้ายและสถานที่ท�างานภาษาไทยและภาษาอังกฤษพิมพ์ด้วยตัวอักษรปกติขนาด12

    ระบุตัวเลขเป็นเลขยกท้ายให้ตรงกับชื่อผู้นิพนธ์

    1.3มีบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษไม่เกิน250ค�าต่อบทคัดย่อ

    1.4 ก�าหนดค�าส�าคัญ(Keyword)ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ(จ�านวน3-5ค�า)

    1.5 การเรียงหัวข้อหัวข้อใหญ่สุดให้พิมพ์ชิดขอบด้านซ้ายขนาดอักษร16

    1.6 การใช้ตัวเลขค�าย่อและวงเล็บควรใช้เลขอารบิคทั้งหมดใช้ค�าย่อที่เป็นสากลเท่านั้น

    ให้เรียงล�าดับสาระดังนี้

    บทคดัย่อ(ภาษาไทย)/บทคัดย่อ(Abstract)/บทน�า/วตัถปุระสงค์วจิยั/สมมตฐิาน(ถ้าม)ี/กรอบแนวคดิ

    การวิจัย/ระเบียบวิธีวิจัย(ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง/เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย/การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ/

    การเก็บรวบรวมข้อมลู/การวเิคราะห์ข้อมลู)/จรยิธรรมวจัิย/ผลการวจัิย/อภปิรายผล/การน�าผลการวจัิยไปใช้/ข้อเสนอแนะ

    ในการวิจัยครั้งต่อไป/เอกสารอ้างอิง

    2.บทควำมวิชำกำร

    2.1 ชื่อเรื่องเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษพิมพ์ด้วยตัวหนาไว้หน้าแรกตรงกลางขนาดอักษร17

    2.2 ช่ือผูเ้ขยีนเป็นภาษาไทยและภาษาองักฤษพมิพ์ด้วยตวัอกัษรปกติขนาด14อยูใ่ต้ชือ่เรือ่งให้ตวัเลข

    เป็นตัวยกท้ายและสถานที่ท�างานภาษาไทยและภาษาอังกฤษพิมพ์ด้วยตัวอักษรปกติขนาด12

    ระบุตัวเลขเป็นเลขยกท้ายให้ตรงกับชื่อผู้นิพนธ์

    1.3 มีบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษไม่เกิน250ค�าต่อบทคัดย่อ

    1.4 ก�าหนดค�าส�าคัญ(Keyword)ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ(จ�านวน3-5ค�า)

  • ให้เรียงล�าดับสาระดังนี้

    บทคัดย่อ(ภาษาไทย)/บทคัดย่อ(Abstract)/บทน�า/เนื้อเรื่อง/สรุป/ข้อเสนอแนะ/เอกสารอ้างอิง

    3.กำรเขียนเอกสำรอ้ำงอิงของบทควำมวิจัยและบทควำมทำงวิชำกำร ท้ังภาษาไทยภาษาอังกฤษ

    ให้จัดเรียงตามล�าดับอักษรชื่อผู้แต่งโดยใช้รูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิงแบบAPA(AmericanPsychological

    Associaton)ไม่เกิน10-5เรื่อง

    3.1 กรณีอ้างอิงจากหนังสือให้เขียนตามรูปแบบ

    ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง//(ปีที่พิมพ์)//ชื่อหนังสือ//(ครั้งที่พิมพ์)//สถานที่พิมพ์:/ส�านักพิมพ์.

    ไพรัชธัขยพงษ์และกฤษณะช่างกล่อม.(2541).การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศแห่งชาติ

    เพ่ือการศกึษา.กรงุเทพมหานคร:ส�านกังานคณะกรรมการการศกึษาแห่งชาติส�านกันายกรฐัมนตร.ี

    3.2 กรณีอ้างอิงจากวารให้เขียนตามรูปแบบ

    ชือ่//นามสกลุผูแ้ต่ง//(ปี,เดือนทีว่ารสารออก).//ชือ่บทความ//ชือ่วารสาร/ปีที/่(ฉบบัที)่,/เลขหน้า

    ของบทความ

    จมุพลพลูภทัรชวีนิและรตันาตงุคสวสัดิ.์(2542).ววิฒันาการและทางเลอืกของนโยบายการศกึษา

    ของรัฐบาลไทย.วารสารครุศาสตร์.27(2),98-106.

    3.3 กรณีพิมพ์อ้างอิงอินเทอร์เน็ต(Intermet)ให้เขียนตามรูปแบบ

    ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง//(ปีที่จัดท�า).//ชื่อเรื่องของเอกสาร.//ค้นเมื่อ/เดือน,/วัน,/ปี,/จาก/URL

    ของเว็บไซต์ที่เข้าถึง

    ส�านักงานคณะกรรมการวจิยัแห่งชาติ.(2545).จรรณยาบรรณนกัวจัิย.ค้นเมือ่พฤษภาคม3,2556,

    จากhttp://www/nrct.go.th-research.ehties.html

    4.กำรส่งเรื่องต้นฉบับให้น�ำส่งไฟล์WordทางEmail : [email protected]ดังนี้

    - ส�าหรับตีพิมพ์ผลงานไม่เกิน12หน้า(SummaryPaprer)

    - ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์(FullPaper)

    5.กำรท�ำหนังสือน�ำส่ง

    5.1หน่วยงานสังกัดส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

    - โรงพยาบาลทั่วไป,โรงพยาบาลศูนย์ลงนามโดยผู้อ�านวยการโรงพยาบาลหรือเทียบเท่า

    - โรงพยาบาลส่งเสรมิสขุภาพต�าบล,ส�านกังานสาธารณสขุอ�าเภอลงนามโดยนายแพทย์สาธารณสขุ

    จังหวัดหรือเทียบเท่า

    5.2หน่วยงานการศึกษาลงนามโดยคณบดีขึ้นไป

    5.3หน่วยงานภาคเอกชน/ภาคีเครือข่ายลงนามโดยผู้บริหารองค์กรที่สังกัด

    เรียนผู้อ�านวยการศูนย์พัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช

    13ถนนพัฒนาการคูขวางต�าบลในเมืองอ�าเภอเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราช80000

    โทร075–446354,446005โทรสาร075–446291www.nakhonphc.go.th

    Email:[email protected]โทรมือถือ081-3705370

  • 6.ก�ำหนดเผยแพร่(ปีละ3ครั้ง)

    ฉบับที่1ประจ�าเดือนตุลาคม–มกราคม

    ฉบับที่2ประจ�าเดือนกุมภาพันธ์–พฤษภาคม

    ฉบับที่3ประจ�าเดือนมิถุนายน–กันยายน

    7.สิทธิของกองบรรณำธิกำร

    ในกรณีทีบ่รรณาธิการหรือผู้ทรงคุณวฒุิซ่ึงได้รบัเชิญให้เป็นผูต้รวจบทความวจิยัหรอืบทความทางวชิาการ

    มีความเห็นว่าควรแก้ไขต้นฉบับทางกองบรรณาธิการจะส่งต้นฉบับให้ผู้เขียนพิจารณาจัดการแก้ไขให้ก่อนตีพิมพ์

    ทั้งนี้กองบรรณาธิการจะยึดถือความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิเป็นเกณฑ์

    8.กองบรรณำธกิำรจะไม่ส่งต้นฉบบัคนืให้ไม่ว่ำบทควำมวจิยัหรอืบทควำมวชิำกำรนัน้จะได้รบักำรลงพมิพ์

    หรือไม่

    9.ต้นฉบบัจะต้องมช่ืีอผู้เขียนผู้เรยีบเรยีงหรอืผูแ้ปลโดยแจ้งชือ่นำมสกลุจรงิต�ำแหน่งผูเ้ขยีนบทควำม

    สถำนที่ท�ำงำนและหมำยเลขโทรศัพท์หรืออีเมล์ที่สำมำรถติดต่อได้สะดวก

  • Editorบ ร ร ณ า ธิ ก า รบ ร ร ณ า ธิ ก า ร วาสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้ฉบับนี้เป็นปีที่34ฉบับที่3ประจ�าเดือนมิถุนายน-กันยายน 2563เป็นฉบบัทีเ่กดิขึน้ในช่วงรอยต่อของความเข้มข้นสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ไวรสัโคโรนา2019

    (COVID-19)ไปทัว่โลกในขณะทีห่ลายประเทศก�าลงัเผชิญกบัปัญหาการระบาดอย่างหนกัแต่ในหลายประเทศ

    รวมทั้งประเทศไทยเริ่มคลี่คลายไปในทิศทางท่ีดีข้ึน วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้ มีความรู้สึกขอบคุณ

    และชื่นชมต่อพี่น้องประชาชนเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะพี่น้อง อสม. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข

    ทุกท่านที่ทุ ่มเท ท�าหน้าที่อย่างสุดก�าลังความสามารถ และด้วยพลังความร่วมมือจากทุกภาคส่วน

    ท�าให้ประเทศไทยเป็นที่ยอมรับในระดับโลกในด้านการควบคุมการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019

    (COVID – 19) วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้ ฉบับนี้ส�าเร็จได้ด้วยความมุ่งม่ัน ความเพียรพยายาม

    ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง จึงขอขอบพระคุณท่านผู้อ�านวยการศูนย์พัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้

    จังหวัดนครศรีธรรมราชที่ได้ให้การสนับสนุนในทุกด้านท่านผู้ทรงคุณวุฒิที่เมตตาในการอ่านบทความและ

    ให้ข้อเสนอแนะที่มีคุณค่าต่อการยกระดับคุณภาพบทความวิจัยมากขึ้นรวมถึงเจ้าของบทความที่ทุ่มเทให้กับ

    งานวิจัยเพื่อเข้าสู่มาตรฐานทางวิชาการกองบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าวารสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน ์

    ในการพัฒนาคุณภาพงานวิจัยและการเผยแพร่ผลงานให้มีการใช้ประโยชน์ ในวงกว้างมากขึ้น และพร้อมรับ

    ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาวารสารต่อไปในอนาคต

  • Contentส า ร บั ญส า ร บั ญงำนวิจัย-ผลงำนวิชำกำร-บทควำมวิชำกำร

    -พฤติกรรมการใช้ยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของผู้สูงอายุ.............................................................. 6

    ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังในจังหวัดพัทลุง

    -การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองด้วยเทคนิคการวางแผนแบบมีส่วนร่วม.......................... 17

    ในผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการณคลินิกเบาหวานโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช

    -การประเมินผลส�าเร็จการขับเคลื่อนโครงการรณรงค์ลดละเลิกการใช้ภาชนะโฟม...........................36

    บรรจุอาหารอ�าเภอหลังสวนจังหวัดชุมพร

    -ความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรในโรงพยาบาลตะกั่วป่าจังหวัดพังงาปี2562..........................49

    -การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการด�าเนินงานระบบบริการ.................................60

    อนามัยสิ่งแวดล้อมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(EHA)จังหวัดสุราษฎร์ธานี

    -ประสบการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลที่เท้าเรื้อรัง................................................72

    อ�าเภอสิชลจังหวัดนครศรีธรรมราช

    -ผลการวางแผนจ�าหน่ายผู้ป่วยเด็กโรคปอดบวมตามรูปแบบD-M-E-T-H-O-D............................... 86

    โรงพยาบาลพัทลุง

    -การพยาบาลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่มีภาวะช็อกและมีภาวะแทรกซ้อนในเด็กกลุ่มเสี่ยงสูง:........102

    กรณีศึกษาเปรียบเทียบในโรงพยาบาลตะกั่วป่าจังหวัดพังงา(พ.ศ.2562–2563)

    -การบริหารจัดการที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร............................................112

    กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาค5แห่งในสังกัดกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

    -ภาพลักษณ์ระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุในทศวรรษหน้า..............................................................120

    กรณีศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลจังหวัดพัทลุง

  • 6วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNAL ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน - กันย�ยน 2563

    พฤติกรรมกำรใช้ยำและผลิตภัณฑ์เสริมอำหำรของผู้สูงอำยุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง ในจังหวัดพัทลุง

    DrugandDietarySupplementBehaviorofElderlywithChronicDisease inPhatthalungProvince.

    รำชันคงชุม

    RachanKongchum

    ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง

    PhatthalungPublicHealthOffice

    บทคัดย่อ

    การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาพฤติกรรม เจตคติและปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมและเจตคติ

    ในการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงใน

    จงัหวดัพทัลงุการวจิยัครัง้นีเ้ป็นการวจิยัเชงิส�ารวจณจดุเวลาใดเวลาหนึง่แบบตดัขวางกลุม่ตัวอย่างคอืผูส้งูอายุทีป่่วย

    เป็นโรคเบาหวานหรอืโรคความดนัโลหิตสงูจ�านวน423คนทีเ่ลอืกมาด้วยการสุม่ตวัอย่างแบบชัน้ภูมิผูว้จิยัและ

    ผู้ช่วยผู้วิจัยที่ผ่านการอบรม ใช้แบบสอบถามการใช้ยาในผู้สูงอายุที่ดัดแปลงมาจากโครงการยาปลอดภัย

    ในชมุชนของส�านกังานคณะกรรมการอาหารและยาผ่านการทดสอบความตรงเชงิเนือ้หาและความน่าเชือ่ถอื

    ด้วยค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของครอนบัค(ด้านพฤตกิรรม:0.708/ด้านเจตคต:ิ0.739)วเิคราะห์ด้วยสถติพิรรณนา

    และไควสแควร์ผลการศกึษาพบว่ากลุม่ตวัอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิมอีายรุะหว่าง65-69ปีมโีรคประจ�าตวั

    เป็นความดันโลหิตสูงและโรคอื่นที่ไม่ใช่เบาหวาน พฤติกรรมการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมี

    คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 2.80±0.09 (คะแนนเต็ม 3) เจตคติในการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพมีคะแนน

    เฉลี่ยเท่ากับ 2.57±0.09 (คะแนนเต็ม 3) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านโรคประจ�าตัวที่เป็นและจ�านวนสมาชิกใน

    ครัวเรือนมีผลต่อพฤติกรรมการกินยาสมุนไพรหรือยาแผนโบราณร่วมกับยาแผนปัจจุบันเพื่อช่วยรักษาโรค

    ที่เป็นอยู่และพฤติกรรมการซื้อยาชุดจากร้านยาหรือร้านช�ามากินเมื่อเจ็บป่วยไม่สบายอีกทั้งปัจจัยดังกล่าว

    มีผลต่อเจตคติในการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพในด้านยาลูกกลอนยาต้มยาหม้อเป็นยาที่ช่วยบรรเทา

    อาการเจ็บป่วย ปัจจัยส่วนบุคคลด้านโรคประจ�าตัวที่เป็นมีผลต่อเจตคติการกินยาแผนโบราณไม่มีอันตราย

    และปัจจัยส่วนบุคคลด้านจ�านวนสมาชิกในครัวเรือน มีผลต่อเจตคติการกินอาหารเสริมเพื่อช่วยรักษาโรค

    ทีเ่ป็นอยู่เช่นเบาหวานข้อเสือ่มเป็นสิง่ทีป่ลอดภยัอย่างมนียัส�าคญัทางสถิตทิีร่ะดบั0.05ผูส้งูอายทุีป่่วยเป็น

    โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในจังหวัดพัทลุงมีพฤติกรรมเจตคติที่ดีในการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ ์

    เสริมอาหารบุคลากรทางการแพทย์ควรให้ความรู้เพิ่มเติมแก่ผู้สูงอายุรวมทั้งบุคคลในครอบครัวในการเลือก

    ซื้อยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อให้ผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงสามารถเลือก

    ใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างปลอดภัย

  • 7 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNALปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน์ - กันย�ยน 2563

    ค�ำส�ำคัญ:พฤติกรรมการใช้ยา,ผู้สูงอายุ,ความดันโลหิตสูง,เบาหวาน

    Abstract

    Thepurposeofthisresearchistostudythebehavior,attitudeandfactorsaffectingto

    thoseindrugsanddietarysupplementsconsumingofelderlywithdiabetes,hypertensionin

    Phatthalungprovince.Thisresearchiscross-sectionaldescriptivedesign.Thesamplegroup

    wastheelderlywithdiabetesorhypertensionintotalnumberof423;selectedbystratified

    randomsampling.Theresearcherandtheassistantresearcherwhopassedthetrainingcourse

    usedthequestionnairesforelderly(adjustedfromtheprojectofthecommunitydrugsafety,

    FoodandDrugAdministration)whichreachedthecontentvaliditytestandreliabilitytest

    byCronbach’sAlphacoefficients(behavior:0.708/attitude0.739),analyzeditbydescriptive

    statistics and chi-square. The outcomes found thatmostlywere female, aged between

    65-69yearsoldwithunderlyingofhypertensionandotherdiseasesexceptdiabetes.The

    druganddietarysupplementusebehaviorhadameanscoreof2.80±0.09(fullscoreof3.00).

    Theattitudeforselectingthedruganddietarysupplementconsuminghadameanscore

    of2.57±0.09(fullscoreof3.00).Factorsabouttheunderlyingdiseasesandthenumberof

    householdmembershadresulted inthebehaviorof takingherbalmedicinesalongwith

    modernmedicines to treat pre-existing diseases and the behavior of Ya-chud ingestion

    purchasingfromdrugstoreorgrocerystorewhenfeelingillness.Inaddition,thosesaidfactors

    affectedtheattitudeincomplimentarymedicines/bolus/dietarysupplementconsumption.

    Individualfactorsregardingtounderlyingdiseaseaffectedtheattitudeintakingcomplimentary

    medicineswereoutofharm.Andalsothe individual factors regardingtothenumberof

    householdmembersresultedinthebehaviorofgettingdietarysupplementtotreatpre-

    existingdiseaseslikediabetes,osteoarthritisweresecurewithstatisticalsignificantlevelat

    0.05.TheelderlywithdiabetesandhypertensioninPhatthalungprovincehavegoodbehavior

    /attitudefortheuseofdrugsanddietarysupplements.Healthcareprofessionalsshouldgive

    additionalknowledge for theelderly includingof thehouseholdmembers inpurchasing

    choicesofdrugsanddietarysupplements;inordertomaketheelderlywithdiabetesand

    hypertensioncandotheselectionofdrugsandhealthproductssafely.

    Keywords:Drugusebehavior,Elderly,Hypertension,Diabetes

  • 8วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNAL ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน - กันย�ยน 2563

    บทน�ำ

    รายงานของกรมกจิการผูส้งูอายุ(กรมกจิการ

    ผู้สูงอายุ, 2563) สถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย

    ธันวาคม 2562 จ�านวน 11,136,059 คน คิดเป็น

    ร้อยละ 16.73 ของประชากรคนไทยทั้งหมด

    66,558,935 คน ประชากรกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป

    ในเขตสุขภาพท่ี 1-12 ไม่รวมกรุงเทพมหานคร

    มีจ�านวนประชากร 8,442,032 คน ป่วยเป็นโรค

    ความดันโลหิตสูงจ�านวน3,720,724คน(44.07%)

    โรคเบาหวานจ�านวน 1,660,473 คน (19.67%)

    จังหวัดพัทลุงมีประชากรทั้งหมดในปี พ.ศ.2562

    จ�านวน 524,705 คน เป็นผู้สูงอายุท่ีมีอายุ 60 ปี

    ขึ้นไป จ�านวน 93,897 คน (17.89%) (กระทรวง

    สาธารณสุข, 2562) รายงานระบบคลังข้อมูลโรค

    ไม่ตดิต่อเรือ้รงัของส�านกังานสาธารณสขุจังหวัดพทัลงุ

    ผู้สูงอายุป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จ�านวน

    36,546 คน (38.92%) และโรคเบาหวานจ�านวน

    14,877 คน (15.84%) ของประชากรผู้สูงอาย ุ

    ในจังหวัดพัทลุง

    การส�ารวจสุขภาพคนไทยโดยการตรวจ

    ร่างกาย พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุมีการใช้ยามากกว่า

    ประชากรในกลุ่มวัยอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่ม

    ยาแก้ปวด ยานอนหลับ และยาลูกกลอน ส่งผลให้

    ผู้สูงอายุมีโอกาสที่จะเกิดปัญหาจากการใช้ยา

    มากกว่าคนในกลุ่มวัยอื่น (วิชัย เอกพลากร,2552)

    การใช้ยาหลายชนิดในผู้สูงอายุเป็นเหตุให้มีโอกาส

    เกิดปัญหาปฏิกริยาระหว่างยาได้มากส่งผลกระทบ

    ต่อผู ้สูงอายุด้านคุณภาพชีวิต เป็นภาระต่องบ

    ประมาณและบุคลากรในการดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับ

    ผลกระทบจากการใช้ยาร่วมกันหลายขนานอีกด้วย

    (ศิรสาเรืองฤทธิ์ชาญกุล,2018)

    การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเกิดขึ้น

    เมื่อผู้ป่วยต้องการแสวงหาการรักษาโรคด้วยตนเอง

    จากการทบทวนรายงานวิจัย ค.ศ.2000–2014

    จ�านวน 27 การศึกษา (Riana & Beata, 2017)

    พบว่าประมาณร้อยละ11ของยาที่ผู้ป่วยได้ซื้อหา

    มาเองเพื่อการรักษาโรคความดันโลหิตสูงนั้น

    เฉลี่ยประมาณร้อยละ25ของผู้ป่วยได้ใช้ผลิตภัณฑ์

    ดังกล่าวเป็นทางเลือกโดยส่วนมากจะเป็นสมุนไพร

    เพื่อลดความดันโลหิต ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยที่ม ี

    อาการความดันโลหิตสูง จะรับประทานยาที่เข้าถึง

    ได้ง่าย(OverTheCounter:OTC)ส�าหรับรักษา

    อาการเจ็บป่วยเล็กน้อยการใช้ยาลดความดันโลหิต

    พร้อมกบัยาลดปวดและผลติภัณฑ์สมนุไพรจงึมกัเจอ

    เป็นเรื่องปกติในทางคลินิก จากรายงานการศึกษา

    พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของ

    ผู้ป่วยเบาหวานในเขตเทศบาลต�าบลวาริชภูมิ

    อ�าเภอวาริชภูมิจังหวัดสกลนครพบว่ากลุ่มตัวอย่าง

    ผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 28.46 เคยและหรือก�าลัง

    บริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ซึ่งจะรับประทาน

    วันละ 1-2 ครั้ง ควบคู่กับยาเบาหวานท่ีแพทย์สั่ง

    โดยคาดหวงัเพือ่บ�ารงุร่างกายและให้หายจากอาการ

    เบาหวาน ซึ่งมีแรงจูงใจจากตัวแทนขายตรงเกือบ

    ร้อยละ50(สมใจและกรแก้ว,2556)

    ส่วนการส�ารวจปัญหาและพฤติกรรมการ

    ใช้ยาผลติภณัฑ์เสรมิอาหารและสมนุไพรของผูส้งูอายุ

    กรณศีกึษาชมุชนศรีษะจรเข้น้อยจงัหวัดสมทุรปราการ

    (ปิยะวัน,ปวีณา,หรรษาและวรัญญา,2559)พบว่า

    ในกลุ่มตัวอย่างลืมรับประทานยาร้อยละ 35.7,

    การซื้อยาเพิ่มเองร้อยละ 21.2, ใช้ยาแผนโบราณ

    ร้อยละ 19.1, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารร้อยละ 14.2

    และยาสมุนไพรร้อยละ 62.2 เพื่อรักษาโรค

  • 9 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNALปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน์ - กันย�ยน 2563

    โดยมีผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 7.7 แจ้งให้แพทย์ทราบ

    ว่าได้ใช้ยาแผนโบราณ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรือ

    สมุนไพรร่วมกับยาแผนปัจจุบันในการรักษาโรค

    งานวิจัยหลายชิ้นชี้ให้เห็นถึงพฤติกรรม

    การเลือกใช้ยาของผู้สูงอายุ แต่ยังไม่มีข้อมูลของ

    จังหวัดพัทลุง ผู้วิจัยในฐานะปฏิบัติงานด้านการ

    คุ้มครองผู้บริโภคของส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด

    จึงจ�าเป็นต้องมีข้อมูลพฤติกรรมการเลือกใช้ยาและ

    ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในผู้สูงอายุจึงเลือกผู้สูงอายุ

    60 ปีขึ้นไป ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงหรือ

    โรคเบาหวาน ส�าหรับใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการ

    วางแผนการด�าเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค

    วัตถุประสงค์

    เพื่อศึกษาพฤติกรรม เจตคติ และปัจจัย

    ท่ีมีผลต่อพฤติกรรมและเจตคติการเลือกใช้ยาและ

    ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรค

    เบาหวานโรคความดันโลหิตสูงในจังหวัดพัทลุง

    กรอบแนวคิด

    ผู้วิจัยก�าหนดปัจจัยส่วนบุคคลเป็นตัวแปร

    ต้นและตัวแปรตามด้านพฤติกรรม 6 ตัวแปร

    ด้านเจตคติ5ตัวแปร

    ระเบียบวิธีกำรวิจัย

    การวจิยัเป็นการวจิยัเชงิส�ารวจณจดุเวลาใด

    เวลาหนึ่งแบบตัดขวาง (Cross-sectional

    descriptivestudy)

    ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง

    ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้สูง

    อายุ 60 ปีขึ้นไป ซึ่งได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่า

    ป่วยเป็นโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง

    พกัอาศยัในครวัเรอืนของจงัหวดัพทัลงุในปีพ.ศ.2562

    จ�านวน51,423คนผู้วิจัยได้ก�าหนดขนาดตัวอย่าง

    จากตารางส�าเรจ็รปูของยามาเน่ทีร่ะดบัความเช่ือมัน่

    95% ค�านวณตัวอย่างทั้งหมด 398 คน ผู้วิจัย

    ปรับกลุ่มตัวอย่างเป็น 440 คนท�าการสุ่มตัวอย่าง

    แบบชัน้ภมูิประชากรถกูแบ่งชัน้ตามอ�าเภอในแต่ละ

    อ�าเภอเลอืก1ต�าบลต�าบลละ4หมูบ้่านหลงัจากนัน้

    เลือกครัวเรือนด้วยวิธีสุ่มอย่างง่ายจากครัวเรือนที่ม ี

    ผู้ป่วยสูงอายุซึ่งป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงหรือ

    โรคเบาหวานพักอาศัยอยู่ ผู้สูงอายุสามารถสื่อสาร

    ภาษาไทยได้และยนิดตีอบแบบสอบถามหากหมูบ้่าน

    ใดมกีลุม่เป้าหมายน้อยกว่า11คนเพิม่จ�านวนหมูบ้่าน

    จนครบตามเป้าหมายจนได้ตวัอย่างครบ40ตวัอย่าง

    ในแต่ละอ�าเภอ

    เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย

    แบบสอบถามการใช้ยาของผูส้งูอายโุครงการ

    ยาปลอดภัยในชมุชนส�านกังานคณะกรรมการอาหาร

    และยาประกอบด้วย3ส่วนคือส่วนที่ 1ข้อมูล

    ครัวเรือนที่ส�ารวจส่วนที่2ข้อมูลผู้ป่วยเพศอายุ

    การศึกษาโรคประจ�าตัวจ�านวนสมาชิกในครัวเรือน

    ส่วนที่ 3 พฤติกรรมการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ ์

    ตัวแปรต้น

    ปัจจัยส่วนบุคคล

    ได้แก่

    -เพศ

    -อายุ

    -การศึกษา

    -จ�านวนสมาชิกใน

    ครัวเรือน

    -โรคประจ�าตัว

    ตัวแปรตำม 1.ด้านพฤติกรรมการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร-กินยาสมุนไพรร่วมกับยาแผนปัจจุบัน-กินยาลูกกลอนแทนยาแผนปัจจุบัน-กินผลิตภัณฑ์เสริมอาหารร่วมกับยาแผนปัจจุบัน-ซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากตัวแทนขายในหมู่บ้าน-ซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากทีวีวิทยุ-ซื้อยาชุดจากร้านยาหรือร้านช�ามากิน2.ด้านเจตคติการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร-การกินอาหารเสริมเพื่อช่วยรักษาโรคที่เป็น-การกินยาแผนโบราณไม่มีอันตราย-การกินยาชุดเมื่อมีอาการไม่สบาย-ยาสมุนไพรเป็นยาที่มีความปลอดภัยสามารถซื้อกินเองได้-ยาลูกกลอนยาต้มยาหม้อเป็นยาที่ช่วยบรรเทาอาการป่วย

  • 10วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNAL ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน - กันย�ยน 2563

    เสรมิอาหารในช่วง3เดอืนทีผ่่านมาแบ่งเป็น3ระดบั

    คือ ท�าสม�่าเสมอ ท�าบางคร้ัง ไม่เคยท�า และส่วน

    เจตคตกิารใช้ยาและผลติภณัฑ์เสรมิอาหารแบ่งเป็น

    3ระดับคือเห็นด้วยไม่เห็นด้วยไม่แน่ใจ

    กำรตรวจสอบคุณภำพเครื่องมือ

    ทดสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยหาความ

    ตรง ความน่าเชื่อถือ ความยากของค�าถาม อ�านาจ

    การจ�าแนกและความเป็นปรนัยดังนี้

    1.ความตรงตามเนือ้หา(contentvalidity)

    ใช้ผู้เชี่ยวชาญจ�านวน3ท่าน ในสาขาเภสัชศาสตร์

    2ท่านและพฤติกรรมศาสตร์1ท่านเพื่อตรวจสอบ

    ความครอบคลมุของเนือ้หาความถกูต้องและชัดเจน

    ของภาษาเพือ่ให้สอดคล้องกบันยิามและกรอบแนวคิด

    ทดลองใช้เกบ็ข้อมลู3แห่งคอืจงัหวดัพะเยาจงัหวดั

    อุบลราชธานี และจังหวัดขอนแก่น น�ามาปรับปรุง

    ภาษาที่ใช้เพื่อให้ชัดเจนและเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น

    2.ความน่าเชื่อถือ(reliability)โดยหาค่า

    สัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของครอนบัค ด้านพฤติกรรม

    จ�านวน6ข้อ ได้ค่าเป็น 0.708ส่วนเจตคติการใช้

    ยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร จ�านวน 5 ข้อ ได้ค่า

    เป็น0.739

    กำรเก็บรวบรวมข้อมูล

    ผู้วิจัยประสานงานกับผู้ช่วยวิจัยในแต่ละ

    อ�าเภอที่ผ่านการอบรมเกี่ยวกับโครงการวิจัยเครื่อง

    มือการวิจัยและวิธีเก็บข้อมูล จ�านวน 11 อ�าเภอ

    ในจงัหวดัพทัลงุเพือ่ชีแ้จงวตัถปุระสงค์ของการท�าวจัิย

    ขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูล ตามกลุ่มตัวอย่าง

    ทีไ่ด้สุม่ไว้โดยใช้แบบสอบถามการใช้ยาของผูส้งูอาย ุ

    โครงการยาปลอดภยัในชุมชนโดยเกบ็ข้อมลูระหว่าง

    วันที่11–31มีนาคมพ.ศ.2563ได้ข้อมูลที่มีความ

    สมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถามจ�านวน423ชุด

    คิดเป็นร้อยละ96.13ของกลุ่มตัวอย่าง

    กำรวิเครำะห์ข้อมูล

    ใช้โปรแกรมส�าเร็จรูป โดยสถิติที่ใช้ในการ

    วิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละส่วนดังนี้คือ

    1.ข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคลเพศอายุระดับ

    การศึกษา จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน โรคเรื้อรัง

    ที่เป็น คะแนนพฤติกรรมและเจตคติการใช้ยาและ

    ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยและ

    ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

    2.ทดสอบหาปัจจยัส่วนบคุคลประกอบด้วย

    เพศอายุระดบัการศกึษาจ�านวนสมาชกิในครวัเรอืน

    โรคเรื้อรังที่เป็น ที่มีผลต่อพฤติกรรมและเจตคติ

    ของการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

    โดยใช้สถิติไคสแควร์

    จริยธรรมกำรวิจัย

    การวิจัยนี้ผ่านการพิจารณารับรองการวิจัย

    จากคณะกรรมการจรยิธรรมการวิจยัในมนษุย์ส�านกังาน

    สาธารณสขุจงัหวดัพทัลงุกระทรวงสาธารณสุขเอกสาร

    รับรองเลขที่PPHORECNO.012

    ผลกำรวิจัย

    1.ข้อมูลส่วนบุคคล

    กลุ่มตัวอย่างจ�านวน423คนส่วนใหญ่

    เป็นเพศหญงิ303คน(71.6%)สดัส่วนอายใุนแต่ละ

    ช่วงอายุมจี�านวนใกล้เคียงกนักลุม่อายทุีพ่บมากทีส่ดุ

    คืออายุ65-69ปี96คน(22.7%)รองลงมาเป็น

    กลุ่มอายุ60–65ปี95คน(22.5%)การศกึษาประถม

  • 11 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNALปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน์ - กันย�ยน 2563

    ศึกษา 349 คน (82.54%) อาศัยอยู่กับสมาชิก

    ในครัวเรือนด้วยกัน 2-4 คน 293 คน (69.3%)

    ดังรายละเอียดในตารางที่1

    ตำรำงที่ 1 จ�านวนและร้อยละของผู้สูงอายุในครัว

    เรือนที่ส�ารวจแยกตามเพศอายุการศึกษาสมาชิก

    ในครัวเรือนและโรคที่เป็น(N=423)ข้อมูลทั่วไป จ�านวน(คน) ร้อยละ

    เพศ

    ชาย 120 28.37

    หญิง 303 71.63

    อำยุ

    60-64ปี 95 22.5

    65-69ปี 96 22.70

    70-74ปี 89 21.04

    75-79ปี 79 18.68

    80ปีหรือมากกว่า 64 15.13

    ระดับกำรศึกษำ

    ไม่ได้เรียน 54 12.87

    ประถมศึกษา 349 82.51

    มัธยมศึกษา 17 4.02

    อนุปริญญา 1 0.24

    ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 2 0.47

    สมำชิกในครัวเรือน

    อยู่คนเดียว 47 11.11

    2-4คน 293 69.27

    5–7คน 72 17.02

    8คนหรือมากกว่า 11 2.60

    โรค

    โรคความดันโลหิตสูงร่วมโรคอื่นๆ* 121 28.61

    โรคความดันโลหิตสูง 107 25.30

    โรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและร่วมโรคอื่นๆ 64 15.13

    โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 61 14.42

    โรคเบาหวาน 39 9.21

    โรคเบาหวานร่วมโรคอื่นๆ 31 7.33

    หมายเหตุ:โรคอื่นๆ หมายถึงโรคเรื้อรังที่ไม่ใช่โรค

    เบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง

    2.คะแนนพฤติกรรมและเจตคติกำรเลือก

    ใช้ยำและผลิตภัณฑ์เสริมอำหำร

    ตำรำงที่2พฤติกรรมการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์

    เสริมอาหารของผู้สูงอายุ(N=423)

    ข้อค�าถาม

    ร้อยละของผู้ป่วยคะแนน

    Mean±SDท�าสม�่าเสมอ

    ท�าบางครั้ง

    ไม่เคยท�า

    1.กินยาสมุนไพรหรือยาแผนโบราณร่วมกับยาแผนปัจจุบันเพื่อช่วยรักษาโรคที่เป็นอยู่

    2.10 29.30 68.60 2.66±0.516

    2.กินยาลูกกลอนยาต้มยาหม้อแทนยาแผนปัจจุบัน

    0.50 15.10 84.40 2.84±0.380

    3.กินอาหารเสริมร่วมกับยาแผนปัจจุบันเพื่อช่วยรักษาโรคที่เป็นอยู่

    1.40 21.00 77.50 2.76±0.459

    4.ซื้ออาหารเสริมที่มีตวัแทนหรอืบรษิทัมาขายที่บ้านหรือในหมู่บ้าน

    0.20 9.50 90.30 2.90±0.307

    5.ซื้ออาหารเสริมหรือยาแผนโบราณที่โฆษณาผ่านวิทยุหรือโทรทัศน์

    0.20 7.80 92.00 2.92±0.284

    6.ซื้อยาชุดจากร้านยาหรือร้านช�ามากินเมื่อเจ็บป่วยไม่สบาย

    1.90 20.80 77.30 2.75±0.473

    พฤติกรรมเฉลี่ยคะแนนเต็ม3(ท�าเสมอ=1คะแนน,ท�าบางครั้ง=2,ไม่เคยท�า=3)

    2.80±0.09

    ตำรำงที่ 3 เจตคติการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์

    เสริมอาหารของผู้สูงอายุ(N=423)

    ข้อค�าถาม

    ร้อยละของผู้ป่วยคะแนน

    Mean±SDเห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย

    1.การกินอาหารเสริมเพื่อช่วยรักษาโรคที่เป็นอยู่เช่นเบาหวานความดันโลหิตสูงเป็นสิ่งที่ปลอดภัย

    5.40 32.20 62.40 2.57±0.60

    2.การกินยาแผนโบราณไม่มีอันตราย

    8.30 40.00 51.80 2.43±0.64

    3.การกินยาชุดเมื่อมีอาการไม่สบายเช่นเกิดการอักเสบเป็นไข้ปวดเมื่อยช่วยให้หายจากโรคได้เร็วขึ้น

    5.00 23.40 71.60 2.67±0.57

  • 12วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNAL ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน - กันย�ยน 2563

    ข้อค�าถาม

    ร้อยละของผู้ป่วยคะแนน

    Mean±SDเห็นด้วย ไม่แน่ใจไม่เห็นด้วย

    4.ยาสมุนไพรเป็นยาที่มีความปลอดภัยสามารถซื้อกินเองได้

    8.00 30.00 61.90 2.54±0.64

    5.ยาลูกกลอนยาต้มยาหม้อเป็นยาที่ช่วยบรรเทาอาการป่วยเช่นปวดเมื่อยแก้อักเสบได้ดี

    4.00 27.00 69.00 2.65±0.56

    เจตคติเฉลี่ยคะแนนเต็ม3(เห็นด้วย=1คะแนน,ไม่แน่ใจ=2,ไม่เห็นด้วย=3)

    2.57±0.09

    3. กำรหำปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อ

    พฤตกิรรมกำรเลอืกใช้ยำและผลติภณัฑ์เสรมิอำหำร

    ปัจจัยด้านโรคประจ�าตัวที่เป็นและจ�านวน

    สมาชิกในครัวเรือนส่งผลต่อพฤติกรรมการกินยา

    สมนุไพรหรอืกินยาแผนโบราณร่วมกบัยาแผนปัจจบุนั

    เพื่อช่วยรักษาโรคท่ีเป็นอยู่ และพฤติกรรมการซ้ือ

    ยาชุดจากร้านขายยาหรือร้านช�ามากินเม่ือเจ็บป่วย

    ไม่สบาย อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

    ส่วนปัจจัยด้านเพศ อายุ การศึกษา ไม่ส่งผลต่อ

    พฤติกรรมการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

    รายละเอียดในตารางที่4

    ตำรำงที่4ปัจจัยส่วนบคุคลทีม่ผีลต่อพฤตกิรรมการ

    เลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร(*p

  • 13 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNALปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน์ - กันย�ยน 2563

    ข้อค�าถาม เพศ อายุการศึกษา

    โรคประจ�าตัวที่เป็น

    จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน

    2.การกินยาแผนโบราณไม่มีอันตราย

    0.216 0.196 0.569 0.002* 0.221

    3.การกินยาชุดเมื่อมีอาการไม่สบายเช่นเกิดการอักเสบเป็นไข้ปวดเมื่อยช่วยให้หายจากโรคได้เร็วขึ้น

    0.333 0.923 0.100 0.324 0.152

    4.ยาสมุนไพรเป็นยาที่มีความปลอดภัยสามารถซื้อกินเองได้

    0.249 0.190 0.377 0.090 0.141

    5.ยาลูกกลอนยาต้มยาหม้อเป็นยาที่ช่วยบรรเทาอาการป่วยเช่นปวดเมื่อยแก้อักเสบได้ดี

    0.616 0.692 0.643 0.028* 0.002*

    p

  • 14วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNAL ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน - กันย�ยน 2563

    (ปิยะวัน,ปวีณา,หรรษาและวรัญญา,2559)พบ

    ปัญหาพฤตกิรรมการใช้ยาโดยผูส้งูอายซุือ้ยาเพิม่เอง

    ร้อยละ21.2การใช้ยาแผนโบราณร้อยละ19.1การใช้

    ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารร้อยละ14.2แต่การศึกษานี้

    พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการซ้ือผลิตภัณฑ์

    เสริมอาหารจากตัวแทนขายน้อยกว่าการศึกษา

    พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของ

    ผูป่้วยเบาหวานในเขตเทศบาลต�าบลวารชิภมูิอ�าเภอ

    วาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร ที่พบว่าแรงจูงใจที่ท�าให้

    ตดัสนิใจรับประทานผลติภณัฑ์เสรมิอาหารคอืตวัแทน

    ขายตรงถงึร้อยละ48.65และซือ้จากตวัแทนขายตรง

    ร้อยละ54.05ดังนั้นการให้ความรู้กับผู้สูงอายุหรือ

    ผู้ดูแลผู้สูงอายุ เพ่ือให้เกิดความตระหนักถึงปัญหา

    อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจึงเป็นสิ่งที่จ�าเป็น

    การศึกษานี้พบว่าผู้สูงอายุมีเจตคติต่อการ

    ใช้ยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารระดับ

    คะแนนเฉลี่ย2.57±0.09คะแนน (คะแนนเต็ม3)

    โดยคะแนนเฉลี่ยเจตคติของการศึกษาน้ีคะแนนสูง

    กว่าการส�ารวจการใช้ยาปฏิชีวนะและผลิตภัณฑ์

    สขุภาพทีผ่สมสเตยีรอยด์ในผูส้งูอายุทีมี่ระดบัคะแนน

    เฉลี่ย 9.1±2.3 (คะแนนเต็ม 15) (ชมพูนุกท และ

    คณะ,2562)แสดงให้เห็นว่าผู้สูงอายุตามการศึกษา

    น้ีส่วนใหญ่มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ยาและผลิตภัณฑ ์

    เสริมอาหาร สอดคล้องกับการใช้ยาในผู้สูงอายุทีมี

    โรคหลอดเลือดหัวใจหรือโรคความดันโลหิตสูงของ

    ประเทศออสเตรเลีย(Kyrillos,2010)ที่พบว่าผู้สูง

    อายุจะซื้อยาหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมากินเอง

    เป็นจ�านวนน้อยเนือ่งจากเห็นว่าโรคท่ีตนเองเป็นอยู่

    ในปัจจุบันมีอันตรายร้ายแรง

    ผู้สูงอายุเห็นด้วยต่อการกินยาลูกกลอน

    ยาต้มยาหม้อเป็นยาที่ช่วยบรรเทาอาการป่วยเช่น

    ปวดเมื่อยแก้อักเสบได้ดีร้อยละ4.00และเห็นด้วย

    กับการกินยาแผนโบราณไม่มีอันตรายร้อยละ 8.30

    แสดงให้เห็นว่าผู้สูงอายุควรระมัดระวังต่อการกิน

    ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อการรักษา

    โรคเรื้อรังที่ตนเองเป็น

    โรคประจ�าตัวที่เป็นและจ�านวนสมาชิก

    ในครวัเรือนทีผู่สู้งอายพุกัอาศยัอยูด้่วยกนัเป็นปัจจยั

    ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการกินยาสมุนไพรหรือยา

    แผนโบราณร่วมกับยาแผนปัจจุบันเพื่อรักษาโรค

    ที่เป็นอยู่ พฤติกรรมการซื้อยาชุดจากร้านยาหรือ

    ร้านช�ามากินเมื่อเจ็บป่วยไม่สบาย และเจตคติ ต่อ

    การกินยาลูกกลอน ยาต้ม ยาหม้อ เป็นยาที่ช่วย

    บรรเทาอาการป่วยเช่นปวดเมื่อยแก้อักเสบได้ดี

    ปัจจัยโรคประจ�าตัวที่เป็น ส่งผลต่อเจตคต ิ

    ต่อการกนิยาแผนโบราณไม่มอีนัตรายแสดงให้เหน็ว่า

    ลกัษณะอาการของโรคทีเ่ป็นส่งผลต่อการเลอืกใช้ยา

    และผลติภัณฑ์เสรมิอาหารส่วนปัจจยัจ�านวนสมาชิก

    ในครอบครวัมผีลต่อการกนิอาหารเสรมิเพือ่ช่วยโรค

    ที่เป็นอยู่เช่นเบาหวานข้อเสื่อมเป็นสิ่งที่ปลอดภัย

    สอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้ยาของผู้ป่วยสูงอายุ

    โรคเร้ือรงัในชมุชนเชียงทองต�าบลระแหงอ�าเภอเมอืง

    จังหวัดตาก (จิตชนก, 2556) ที่พบว่าปัจจัยที่มีผล

    ต่อพฤตกิรรมการใช้ยาของผูส้งูอายคุอืจ�านวนชนดิยา

    ทีใ่ช้ต่อวนักบัการบรหิารยาของโรคทีเ่ป็นซึง่สามารถ

    เทียบเคียงได้กับการศึกษานี้

    กำรน�ำผลกำรวิจัยไปใช้

    ผลการศึกษาท่ีได้สามารถน�าไปวางแผน

    ในการด�าเนนิงานคุม้ครองผูบ้รโิภคเรือ่งการให้ความรู้

    เพ่ิมเติมในเรื่องโรคเร้ือรังแก่ผู้สูงอายุ ทั้งในเรื่อง

    ความรูค้วามเข้าใจในการใช้ยาแผนโบราณยาสมนุไพร

  • 15 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNALปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน์ - กันย�ยน 2563

    และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เพ่ือให้ผู้สูงอายุซ่ึงป่วย

    เป็นโรคเบาหวานและความดนัโลหติสูงมีความเข้าใจ

    ท่ีถูกต้องมากขึ้นในการใช้ยาแผนปัจจุบันร่วมกับยา

    ทางเลอืกเหล่านัน้นอกจากน้ีปัจจยัด้านจ�านวนสมาชกิ

    ในครวัเรอืนนัน้สมาชกิในครวัเรอืนทีม่ผีูป่้วยโรคเร้ือรัง

    เบาหวานความดนัโลหติสูงควรจะได้รับความรู้ความ

    เข้าใจต่อการใช้ยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ ์

    เสริมอาหารในการใช้ร่วมกันเพื่อการรักษาโรคของ

    ผู้สูงอายุ สามารถน�าผลที่ได้จากการศึกษานี้ไปใช ้

    ส�าหรับการวางแผนการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ

    ในร้านยาหรือในร้านช�าเพราะจากการศึกษายัง

    พบปัญหาผูส้งูอายทุมีีโรคประจ�าตวัความดนัโลหิตสูง

    หรือโรคเบาหวาน ยังมีพฤติกรรมซื้อยาชุดจาก

    ร้านยาหรือร้านช�ามากินเมื่อเจ็บป่วยไม่สบาย

    ข้อเสนอแนะในกำรท�ำวิจัยครั้งต่อไป

    การส�ารวจตามแบบสอบถามนีเ้ป็นการส�ารวจ

    ในหมูบ้่านซึง่เป็นเขตชนบททีผู่ส้งูอายมีุความใกล้ชิด

    กับผู้ให้บริการของโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาล

    ส่งเสริมสุขภาพต�าบล(รพ.สต.)จึงควรขยายผลการ

    ศึกษาในพื้นที่อื่น ๆ และหาปัจจัยอื่นท่ีอาจมีผล

    ต่อพฤติกรรมและเจตคติต่อการเลือกใช้ยาและ

    ผลติภณัฑ์เสรมิอาหารของผูส้งูอายทุีป่่วยเป็นโรคเรือ้รงั

    เช่นรายได้ของกลุม่ตวัอย่างสทิธกิารรกัษาพยาบาล

    เป็นต้นเพ่ือน�ามาวางแผนการดแูลรักษาผูป่้วยต่อไป

    กิตติกรรมประกำศ

    การวิจัยครั้งนี้ส�าเร็จด้วยดี ได้รับความ

    อนุเคราะห์จากผู้ให้ข้อมูลและผู้ประสานงานประจ�า

    อ�าเภอทุกท่าน ภญ.ภควดี ศรีภิรมย์, ภญ.สรียา

    เวชวิฐาน ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา,

    ภญ.พรชนก เจนศิริศักดิ์ ส�านักงานสาธารณสุข

    จังหวัดพัทลุงที่ให้ค�าปรึกษาในการท�าวิจัยและขอ

    ขอบคุณภก.ณัษฐ์พงษ์พัฒนพงศ์หัวหน้ากลุ่มงาน

    คุ้มครองผู้บริโภค ที่ได้ให้การสนับสนุนการท�างาน

    จนบรรลุผลส�าเร็จ

    เอกสำรอ้ำงอิง

    กมลภูถนอมสัตย์,วิไลตาปะสี.(เมษายน-มิถุนายน

    2558).รูปแบบการปรับพฤติกรรมการใช้ยา

    รักษาตามแผนการรกัษาของผูส้งูอายคุวาม

    ดันโลหิตสูงในชุมชน. วารสารวิจัยเพื่อการ

    พัฒนาเชิงพื้นที่,7(2),37-49.

    กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2563). สถิติผู้สูงอายุของ

    ประเทศไทย.ค้นเมือ่กุมภาพนัธ์1,2563,จาก

    http://www.dop.go.th/th/know/1/275

    กระทรวงสาธารณสุข. (2562). ประชากรทะเบียน

    ราษฎร์ จ�าแนกรายอายุและเพศ. ค้นเมื่อ

    กุมภาพันธ์14,2563,จากhttps://hdc

    service.moph.go.th/hdc/main/index.

    php

    จิตชนก ลี้ทวีสุข. (2556). พฤติกรรมการใช้ยาของ

    ผู้ป่วยสูงอายุโรคเรื้อรัง ในชุมชนเชียงทอง

    ต�าบลระแหง อ�าเภอเมือง จังหวัดตาก.

    ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชัน้คลินกิโรงพยาบาล

    สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช.

    ชมพูนุทเสียงแจ้วคชาพลนิ่มเดชนาฎยาสุวรรณ

    พุทธชาติ มากชุมนุม วิโรจน์ ทองฉิม

    ณัฐนันท์เพชรประดิษฐ์.(ม.ค.-มี.ค.2562).

    การส�ารวจการใช้ยาปฏชีิวนะและผลติภณัฑ์

    สุขภาพทีผ่สมสเตยีรอยด์ในผู้สูงอาย.ุวารสาร

    วิชาการแพทย์เขต11.1,231-242.

  • 16วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNAL ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน - กันย�ยน 2563

    ปิยะวัน วงบุญหนัก, ปวีณา ว่องตระกูล, หรรษา

    มหามงคล,วรัญญาเนียมข�า.(ก.ค.-ธ.ค.

    2559). การส�ารวจปัญหาและพฤติกรรม

    การใช้ยาผลิตภณัฑ์เสรมิอาหารและสมนุไพร

    ของผู้สูงอายุ กรณีศึกษาชุมชนศีรษะจรเข้

    น้อยจังหวัดสมุทรปราการ.วารสารมฉก.

    วิชาการ.39,97-108.

    วชัิยเอกพลากร.(ม.ป.ป.).รายงานการส�ารวจสขุภาพ

    ประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย

    ครั้งที่4พ.ศ.2551-2552.(เจริญผลพงษ์

    พานิช,บ.ก.)กรุงเทพฯ:ส�านักงานส�ารวจ

    สุขภาพประชาชนไทย.

    ศิรสาเรืองฤทธิ์ชาญกุล.(มกราคม-มีนาคม2561).

    การใช้ยาร่วมกันหลายขนานในผู้สูงอายุ.

    รามาธิบดีเวชสาร.41(1).

    สมใจผ่านภูวงษ์,กรแก้วจันทภาษา.(2556).พฤติกรรม

    การบรโิภคผลติภณัฑ์เสรมิอาหารของผูป่้วย

    เบาหวานในเขตเทศบาลต�าบลวาริชภูมิ

    อ�าเภอวาริชภูมิจังหวัดสกลนคร.The 5th

    Annual Northeast Pharmacy Research

    Conference of 2013 “Pharmacy

    Profession:Moving Forward to ASEAN

    Harmonization”(หน้า155-159).ขอนแก่น:

    คณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    HDC - Dashboard. (2562). อัตราการป่วยด้วย

    โรคเบาหวาน เขตสุขภาพที่ 12 จังหวัด

    พทัลงุ.ค้นเม่ือพฤศจกิายน30,2562,จาก

    กลุม่รายงานมาตรฐาน:shorturl.at/duvP6

    Kyrillos Guirguis. (2010, July). The use of

    nonprescriptionmedicines among

    elderlypatientswithchronicillness

    and their need for pharmacist

    interventions. The consultant

    pharmacist.25(7),433-439.

    RameshwarNathChaurasia,AlokKumarSingh,

    I S Gambhir. (2005, Sep). Rational

    DrugTherapy inElderly. Journalof

    theindianacademyofgeriatrics.1(2),

    82-88.

    Riana Rahmawati, Beata V Bajorek. (2017,

    April).Self-medicationamongpeople

    livingwith hypertension: a review.

    FamilyPractice.34(2),147-153.

  • 17 วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNALปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน์ - กันย�ยน 2563

    กำรพัฒนำรูปแบบกำรดูแลสุขภำพตนเองด้วยเทคนิคกำรวำงแผนแบบมีส่วนร่วม

    ในผู้ป่วยเบำหวำนที่มำรับบริกำรณคลินิกเบำหวำนโรงพยำบำลมหำรำชนครศรีธรรมรำช

    ModelDevelopmentofSelf-CarebyusinganAppreciationInfluence

    Control(AIC)TechniqueamongDiabeticPatientsatMaharaj

    NakhonSiThammaratHospitalไรนำรัตนพฤกษ์ขจร

    RainaRatanaprukajon

    โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช

    MaharatNakhonSiThammaratHospital

    บทคัดย่อ

    การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)

    มวีตัถปุระสงค์เพือ่พฒันารปูแบบการดแูลสขุภาพตนเองด้วยเทคนคิการวางแผนแบบมส่ีวนร่วม(Appreciation

    Influence Control : AIC) ในผู้ป่วยเบาหวาน และเพ่ือทดสอบประสิทธิผลของการใช้รูปแบบการดูแล

    สุขภาพตนเองด้วยเทคนิคการวางแผนแบบมีส่วนร่วม (AIC) ในผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการณ คลินิก

    เบาหวานโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราชโดยด�าเนินการวิจัย2ขั้นตอนคือ

    1. ขั้นตอนโปรแกรมการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพตนเอง โดยประยุกต์ใช้กระบวนการเทคนิค

    การวางแผนแบบมีส่วนร่วม AIC 6 ขั้นตอน 1) การน�าเสนอข้อมูลสภาพปัญหา 2) การก�าหนดเป้าหมาย

    3)การค้นหากิจกรรมการพัฒนา4)จัดล�าดับความส�าคัญ5)วางแผนหาผู้รับผิดชอบ6)จัดท�าแผน/กิจกรรม/

    โครงการในกลุ่มทดลองที่ใช้คัดเลือกแบบเจาะจง(Purposivesampling)คือผู้ป่วยเบาหวานในกลุ่มทดลอง

    50คนโดยมีผู้วิจยัและผูช้่วยวิจยัจ�านวน16คนประกอบดว้ยผูร้ับผดิชอบคลนิิกผู้ป่วยเบาหวานโรงพยาบาล

    ส่งเสริมสุขภาพต�าบลเครือข่าย แพทย์ เภสัชกร พยาบาลประจ�าคลินิกผู้ป่วยเบาหวาน พยาบาลจิตเวช

    นักโภชนากรนักกายภาพบ�าบัดเป็นกระบวนกรในการด�าเนินกระบวนการ

    2.ขัน้ตอนการศกึษาผลของการใช้รูปแบบการดแูลสขุภาพตนเองด้วยเทคนคิAICของผูป่้วยเบาหวาน

    คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยเบาหวานแบบเจาะจง (Purposive sampling) จ�านวน 100 คน โดยสุ่มแบบ

    อย่างง่าย (Simple random) เข้ากลุ่มทดลอง 50 คน กลุ่มควบคุม 50 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการใช ้

    รูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองด้วยเทคนิคAICจ�านวน1ครั้งส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ

    เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นประกอบด้วย1)แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป

    2)แบบสอบถามการรบัรูเ้รือ่งโรคเบาหวานปัจจยัเส่ียงในการเป็นโรคเบาหวานการรกัษาภาวะแทรกซ้อนและ

    การปฏบิติัตัว3)แบบสอบถามการรบัรูค้วามสามารถในการดแูลตนเอง4)แบบสอบถามการปฏบิตัใินการดแูล

  • 18วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้SOUTHERN REGIONAL PRIMARY HEALTH CARE JOURNAL ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน มิถุน�ยน - กันย�ยน 2563

    ตนเอง และ 5) ระดับน�้าตาลในเลือด เครื่องมือได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (CVI) จาก

    ผู้ทรงคุณวุฒิ3ท่านได้ค่าCVI=0.96และทดสอบความเที่ยง(Reliability)ของแบบสอบถามล�าดับที่2-4

    โดยการทดสอบสมัประสทิธิแ์อลฟาของครอนบาค(AlphaCronbachCoefficient)กบัผูป่้วยเบาหวาน30คน

    ได้เท่ากับ0.81,0.78และ0.83ตามล�าดับวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและการทดสอบค่าที่อิสระ

    ผลการศึกษาพบว่า

    1. ผลของรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มทดลองด้วยกระบวนการ AIC มี 2 รูปแบบคือ

    1)รูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยเบาหวานและญาติหรือผู้ดูแลประกอบด้วยการปฏิบัติพฤติกรรม

    สุขภาพตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน 5 ด้าน คือด้านการรับประทานอาหาร การออกก�าลังกาย การดูแลเท้า

    การรับประทานยา/ฉีดยาและการจัดการอารมณ์2)รูปแบบการดูแลส�าหรับทีมสุขภาพโรงพยาบาลมหาราช

    และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลเครือข่าย ประกอบด้วยการประเมิน ติดตาม พฤติกรรมสุขภาพของ

    ผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและการสนับสนุนทางสังคมแก่ผู้ป่วย�