Top Banner
บทที12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที(AREA MOMENT OF INERTIA) 12.1 ความนา การพิจารณาถึงความแข็งแรงของชิ้นส่วนที่ประกอบเป็นโครงสร้าง จะเห็นได้ชัดเจน เมื่อพิจารณาถึงรูปลักษณะพื้นที่หน้าตัดของคาน ถ้ากรณีพื้นที่หน้าตัดมีขนาดต่างกัน ย่อมทาให้ ความแข็งแรงหรือความสามารถในการรับน้าหนักแตกต่างกัน และเมื่อมีการกระจายอย่างต่อเนื่อง กระทาต่อพื้นที่หน้าตัด จะทาให้ความเค้นของแรงเป็นสัดส่วนกับระยะทางจากแนวแรงถึงแกนของ โมเมนต์ สมบัติของพื้นที่หน้าตัดที่มีผลต่อการกระจายของแรงดังกล่าวนี้ เรียกว่า โมเมนต์ความ เฉื่อยของพื้นที(Area Moment of Inertia) ซึ่งสามารถนิยามได้ว่า โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่รอบ แกนใด ๆ ก็คือโมเมนต์ที่สองของพื้นที่นั้น 12.2 การหาค่าของโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นทีโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ใด ๆ และรอบแกนใดแกนหนึ่ง จะมีค่าเท่ากับผลรวมของ ผลคูณของพื้นที่เล็ก ๆ ที่แบ่งออกจากพื้นที่ใหญ่ กับระยะทางจากแกนนั้น ๆ ยกกาลังสอง ซึ่งการหา ค่าของโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่สามารถพิจารณาได้จากรูปที12.1 รูปที12.1 แสดงพื้นที่เล็ก ๆ หมุนรอบแกน X และ Y x 2 x 1 r 2 r 1 y 1 y 2 พื้นทีA a 2 a 1
16

AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

Jun 08, 2018

Download

Documents

trinhtuong
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

195

บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่

(AREA MOMENT OF INERTIA)

12.1 ความน า การพิจารณาถึงความแข็งแรงของชิ้นส่วนที่ประกอบเป็นโครงสร้าง จะเห็นได้ชัดเจนเมื่อพิจารณาถึงรูปลักษณะพื้นที่หน้าตัดของคาน ถ้ากรณีพื้นที่หน้าตัดมีขนาดต่างกัน ย่อมท าให้ความแข็งแรงหรือความสามารถในการรับน้ าหนักแตกต่างกัน และเมื่อมีการกระจายอย่างต่อเน่ืองกระท าต่อพื้นที่หน้าตัด จะท าให้ความเค้นของแรงเป็นสัดส่วนกับระยะทางจากแนวแรงถึงแกนของโมเมนต์ สมบัติของพื้นที่หน้าตัดที่มีผลต่อการกระจายของแรงดังกล่าวนี้ เรียกว่า โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นท่ี (Area Moment of Inertia) ซึ่งสามารถนิยามได้ว่า โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกนใด ๆ ก็คือโมเมนต์ที่สองของพื้นที่นั้น 12.2 การหาค่าของโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ใด ๆ และรอบแกนใดแกนหน่ึง จะมีค่าเท่ากับผลรวมของผลคูณของพื้นที่เล็ก ๆ ที่แบ่งออกจากพื้นที่ใหญ่ กับระยะทางจากแกนนั้น ๆ ยกก าลังสอง ซึ่งการหาค่าของโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่สามารถพิจารณาได้จากรูปที่ 12.1

รูปท่ี 12.1 แสดงพื้นที่เล็ก ๆ หมุนรอบแกน X และ Y

x2

x1

r2

r1 y1 y2

พื้นที่ A

a2

a1

Page 2: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

196

จากรูปที่ 12.1 พื้นที่ A ถูกแบ่งออกเป็นพื้นที่เล็ก ๆ a1, a2, a3,…, an ให้พื้นที่เหล่านี้หมุนรอบแกน Y หรือแกน X แกนใดแกนหนึ่ง โดยที่พื้นที่เล็กเหล่านี้อยู่ห่างจากแกน Y เป็นระยะ x1, x2, x3,…, xn และอยู่ห่างจากแกน X เป็นระยะ y1, y2, y3,…, yn ตามล าดับ ดังนั้นถ้าต้องการหาโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกนใด สามารถท าได้โดยเอาผลคูณของพื้นที่เล็ก ๆ a1, a2, …, an กับระยะทางจากพื้นที่เล็ก ๆ นี้ถึงแกนหมุนยกก าลังสองรวมกันตลอดพื้นที่ A ดังตัวอย่าง เช่น2 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ A รอบแกน Y ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย Iy

Iy = xaxa xaxa 2nn

233

222

211 12.1

หรือ Iy =

n

1i

2iixa 12.2

และโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ A รอบแกน X ใช้สัญลักษณ์ด้วย Ix

Ix = yaya yaya 2nn

233

222

211 12.3

หรือ Ix =

n

1i

2iiya 12.4

12.3 โมเมนต์ความเฉื่อยโพบาร์ของพื้นที่ (Polar Moment of Inertia) โมเมนต์ความเฉื่อยโพลาร์ของพื้นที่ คือ โมเมนต์ความเฉื่อยรอบจุดก าเนิด ( Origin) หรือรอบแกน ซึ่งตั้งฉากกับแกน X และ Y ตามล าดับ จากรูปที่ 12.1 จะเห็นว่าพื้นที่เล็กๆ a1, a2, …, anอยู่ห่างจากจุดก าเนิดเป็นระยะทาง r1, r2, …, rn ตามล าดับ ดังนั้นจะได้ว่า

I = rara rara 2nn

233

222

211 12.5

หรือ Iy =

n

1i

2iira 12.6

แต่ 21r = 2

12i yx 12.7

I = 21

2i

n

1ii yxa

12.8

หรือ I = Ix+ Iy 12.9 เมื่อ I = โมเมนต์ความเฉื่อยโพลาร์ของพื้นที่ Ix = โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกน X Iy = โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกน Y

Page 3: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

197

12.4 มิติของโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นท่ี เน่ืองจากโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกนหมุนใด ๆ เป็นผลคูณของพื้นที่กับระยะทางก าลังสองของพื้นที่นับถึงแกนหมุน ดังนั้น หน่วยของ I จึงเป็น L4

เมื่อ L มีหน่วยเป็นความยาว ฉะนั้น I จึงมีหน่วยเป็น(เมตร)4 หรือ m4 หรือ (cm)4 หรือ (mm)4 ฯลฯ

12.5 รัศมีไจเรชัน (Radius of Gyration) โมเมนต์ความเฉื่อยที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น เป็นการวัดค่าการกระจายของมวลของพื้นที่ที่อยู่ห่างกันมาก จากแกนใด ๆ ที่อยู่ในความสนใจ แต่ถ้าพื้นที่ A ดังรูปที่ 12.1 ถูกอัดรวมกันแน่นมากกลายเป็นแถบซึ่งไม่ความหนา ดังรูปที่ 12.2 ระยะ KX วัดจากแกน X และ KY วัดจากแกน Y ดังนั้นผลคูณของ AK 2

x และ AK 2

y จะมีค่าเป็นโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ของแกน X และ Y ตามล าดับและเรียกระยะ xK หรือ yK นี้ว่า รัศมีไจเรชัน (Radius of Gyration) ดังนั้นจากนิยามของโมเมนต์ความเฉื่อย ส าหรับแกนใด ๆ จึงสามารถเขียนได้ว่า

รูปท่ี 12.2 I = K2A (12.10)

หรือ K = AI (12.11)

หรือ ถ้าแทนค่าสมการ (12.10)ลงในสมการที่ (12.9)จะได้ว่า

K2 = 2y

2x KK (12.12)

จากสมการที่ ( 12.12) จะเห็นได้ว่า รัศมีไจเรชันในระบบโพลายกก าลังสองมีค่าเท่ากับผลบวกของรัศมีไจเรชันในระบบพิกัดฉากแต่ละตัวยกก าลังสอง

Page 4: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

198

12.6 การเคลื่อนย้ายแกนโมเมนต์ความเฉื่อย (Transfer of Axis) ปกติแล้วแกนหมุนส าหรับค่าโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ใด ๆ แล้ว จะผ่านจุดศูนย์กลางมวล (Center of Mass) ของพื้นที่นั้นๆ แต่ถ้าแกนหมุนไม่ผ่านจุดศูนย์กลางมวล ดังรูปที่ 12.3 ก็อาจหาความ สัมพันธ์ระหว่าง I ของแกนหมุนใหม่นี้กับ I๐ซึ่งมีแกนหมุนผ่านจุดศูนย์กลางมวลได้แต่ต้องมีเงื่อนไข ว่าแกนหมุนใหม่จะต้องขนานกับแกนหมุนที่ผ่านจุดศูนย์กลาง (Centroid) ของพื้นที่นั้นเสมอ ซึ่งได้ความสัมพันธ์ดังนี้ คือ I = I๐+ Ah2 (12.13) เมื่อ A คือ พื้นที่ที่จะหาโมเมนต์ความเฉื่อย h คือ ระยะห่างระหว่างแกนหมุนทั้งสอง

รูปท่ี 12.3 แสดงรูปการย้ายแกนโมเมนต์ความเฉื่อย

Page 5: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

199

ตารางท่ี 12.1 แสดงสูตรการหาโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นรูปทรงเรขาคณิตอย่างง่าย โดยที่ oxI และ

oyI เป็นโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกน X และ Y ที่ผ่านจุด Centroid

รูปทรงเรขาคณิต สูตร

1. รูปวงกลมรัศมี r

4r

I4

ox

4r

I4

oy

2. รูปครึ่งวงกลม

8r

II

8r6

I

r11.0I

r424.0C

r21

A

4

yy

4

x

4ox

2

3. รูป 41ของวงกลม

16r

I

16r

I

r055.0II

r424.0C

r41

A

4

y

4

x

4oyox

2

Page 6: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

200

รูปทรงเรขาคณิต สูตร

4. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

3y

3x

3

oy

3

ox

bh31

I

bh31

I

12hb

I

12bh

I

5. รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว

haA

a6A6

haI

6ah

I

2

3

y

3

x

6. รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

2ha

A

6Aa

12ha

I

6Ah

12ah

I

2

3

y

2

3

x

Page 7: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

201

รูปทรงเรขาคณิต สูตร

7. รูปวงแหวน

22

2222

44

3x

3

oy

22

ab4A

abab4

ab4

bh31

I

12hb

I

abA

8. รูป 41ของวงแหวน

22y

22

ab4A

I

ab41

A

9. รูป41ของอิลิปส์

1b

Y

a

x

4Aa

I

4Ab

I

ab41

A

2

2

2

2

2

y

2

x

Page 8: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

202

ตัวอย่างที่ 12.1 สี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดความยาว 300 มิลลิเมตร กว้าง 150 มิลลิเมตร จงหาโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกน X0 ซึ่งผ่านจุด Centroid และรอบแกน X ดังแสดงในรูปที่ 12.4

รูปท่ี 12.4

วิธีท า 1) หาโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกน X๐

จากสูตร Iox = 12bh1 3

เมื่อ B = 150 mm h = 300 mm แทนค่า

Iox = 330015012

1xx

Iox = 3.375 x 108 mm4 หรือ Iox = 3.375 x 10-4 m4 ตอบ

Page 9: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

203

2) หาโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกน X จากสูตร Ix = Iox+Ah2 Ix = 3.375 x 10-4m4+(0.15)(0.30)(0.30)2 Ix = 4.387 x 10-3m4 ตอบ ตัวอย่างที่ 12.2 จากรูปที่ 12.5 จงหาโมเมนต์ของความเฉื่อยรอบแกน X ซึ่งอยู่บนแกน Y ซึ่งผ่านจุด

เซนทรอยด์และรัศมีไจเรชัน

รูปท่ี 12.5

วิธีท า 1) หาเซนทรอยด์ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าทั้งสองหมุนรอบแกน x ซึ่งอยู่บนแกน Y ได้จาก

21

2211AA

2/yA2/yAy

20x20010x2102

20020200

210

10210

= 67.3 mm.

Page 10: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

204

2) หาโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกน X ดังรูป ได้จากสูตร

= 322

311 hb

31

hb31

3320020

3

11090

3

1

xI

= 30000 + 53333333 (mm)4

= 53363333 (mm)4 = 5.3 x 107 (mm)4 ตอบ 3) หาโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกน XO จากสูตรการย้ายแกน คือ 2yAII oxx หรือ 2yAII xox

= 3.6720x200x10x210103.5 7 = 5.3 x 107-(210x10) (200x20)(67.3) = 5.3 x107-4.1x105 (mm)4 Iox = 5.3 x 107(mm)4 4) หารัศมีไจเรชัน จากสูตร

Kox = A

Iox

=

6100107.5 7

= 91.4 mm ตอบ

Page 11: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

205

ตัวอย่างที่ 12.3 จากรูปที่ 12.6 จงหาโมเมนต์ความเฉื่อยของแกนที่จุด Centroid

รูปท่ี 12.6

วิธีท า 1) จากสูตรในตารางที่ 12.1 เมื่อ X เป็นแกนที่ฐานของสามเหลี่ยม

Ix = 6

ah3

และ a = 2

200 = 100

Ix =

690100 3

(mm)4

= (1.215)(107) (mm)4 = (1.215)(107) (10-12) (mm)4 = (1.215)(10-5) m4 2) จากสูตรการย้ายแกน 2

oxx xAII เมื่อ x = ระยะทางของจุด Centroid ห่างจากแกน X Iox = โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกนที่ผ่านจุด Centroid

Iox = 2x xAI

Page 12: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

206

= 2

x h31

ahI

= 1.215 x 107-(100 x 90)2

90x31

= 1.215 x107-( 9000)(30)2

= 1.215 x 106-( 9000)(900) = 12.5 x106- 8.1 x 106 mm4 = 4.05 x 106 mm4 ดังนั้นโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกน X ที่ผ่านจุด Centroid มีค่าเท่ากับ 4.05 x106 mm4 หรือ 4.05 x106 m4

Page 13: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

207

แบบฝึกหัดบทท่ี 12

จากรูป จงหาโมเมนต์ ของความเฉื่อยรอบแกนที่ผ่านจุดเซนทรอยด์ 1.

รูปท่ี 12.7 2.

รูปท่ี 12.8

0.80

0.10

0.20

25.0

Page 14: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

208

3.

รูปท่ี 12.9 4.

รูปท่ี 12.10

Page 15: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

209

5.

รูปท่ี 12.11

6. จงหารัศมีไจเรชันและหาโมเมนต์ของความเฉื่อยรอบแกน X ห่างจากฐานของรูปสี่เหลี่ยม

รูปท่ี 12.12

Page 16: AREA MOMENT OF INERTIA)¸šทที่ 12... · 195 บทที่ 12 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ (area moment of inertia)

210

7. จงหารัศมีไจเรชันและโมเมนต์ของความเฉื่อยรอบแกนผ่านจุด ก

รูปท่ี 12.13

8. จงหารัศมีไจเรชันรอบแกน XO จากรูป

รูปท่ี 12.14

r = 20 มม.

40 มม.

10 มม.

30 มม.

10 มม.