Top Banner
บทที1 จํานวนเชิงซอน (22 ชั่วโมง) วิวัฒนาการของจํานวนในระบบจํานวนจริง แสดงใหเห็นวา จํานวนตาง เกิดขึ้น จากความจําเปนของมนุษยในการที่จะแกปญหาตาง จํานวนใหม ที่เกิดขึ้น นอกจากจะทํา ใหแกปญหาตามตองการไดแลว ยังกอใหเกิดความรูและทฤษฎีใหม อีกดวย บทนี้จะกลาว ถึงการสรางจํานวนเชิงซอน สมบัติเชิงพีชคณิตของจํานวนเชิงซอน รากที่สองของจํานวน เชิงซอน กราฟและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน จํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว รากทีn ของจํานวนเชิงซอน และสมการพหุนาม ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนเชิงซอน เขียนกราฟและหาคาสัมบูรณของจํานวน เชิงซอนได 2. หารากทีn ของจํานวนเชิงซอน เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวก 3. แกสมการพหุนามตัวแปรเดียวที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มและมีดีกรีไมเกินสาม ผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ทางดานความรู ดังนั้นในการจัดการเรียนรู ผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดานทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน อันไดแก ความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริเริ่มสรางสรรค นอกจากนั้น กิจกรรมการเรียนรู ควรสงเสริมใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร ตลอดจนฝกใหนักเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
69

Add m5-2-chapter1

Jun 23, 2015

Download

Education

Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Add m5-2-chapter1

บทที่ 1จํานวนเชิงซอน

(22 ชั่วโมง)

วิวัฒนาการของจํานวนในระบบจํานวนจริง แสดงใหเห็นวา จํานวนตาง ๆ เกิดขึ้นจากความจําเปนของมนุษยในการที่จะแกปญหาตาง ๆ จํานวนใหม ๆ ที่เกิดขึ้น นอกจากจะทําใหแกปญหาตามตองการไดแลว ยังกอใหเกิดความรูและทฤษฎีใหม ๆ อีกดวย บทนี้จะกลาวถึงการสรางจํานวนเชิงซอน สมบัติเชิงพีชคณิตของจํานวนเชิงซอน รากที่สองของจํานวนเชิงซอน กราฟและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน จํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว รากที่ n ของจํานวนเชิงซอน และสมการพหุนาม

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนเชิงซอน เขียนกราฟและหาคาสัมบูรณของจํานวน

เชิงซอนได2. หารากที่ n ของจํานวนเชิงซอน เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวก3. แกสมการพหุนามตัวแปรเดียวที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มและมีดีกรีไมเกินสาม

ผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดานความรู ดังนั้นในการจัดการเรียนรู ผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดานทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน อันไดแก ความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผลการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืน และการคิดริเริ่มสรางสรรค นอกจากนั้นกิจกรรมการเรียนรู ควรสงเสริมใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตรตลอดจนฝกใหนักเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบมีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

Page 2: Add m5-2-chapter1

2

ขอเสนอแนะ1. ในหนังสือเรียน ไดแสดงการพิสูจนเกี่ยวกับสมบัติของสังยุคของจํานวนเชิงซอน

ไวเพียงขอ 1, 3, 4, 7 สําหรับขอที่เหลือละไวใหผูเรียนที่สนใจไดลองพิสูจนดวยตนเอง แตถาผูเรียนมีปญหาในการพิสูจนผูสอนอาจแสดงการพิสูจนไดดังนี้

2) ให z = a + bi จะได z = a – bi

และ ( )z = a + bi = z z = z

ให z1 , z2 เปนจํานวนเชิงซอน โดยที่ z1 = a + bi และ z2 = c + di จะได

5) z1 – z2 = (a + bi) – (c + di) = (a – c) + (b – d)i

นั่นคือ ( )1 2z z− = (a – c) – (b – d)iและ 1 2z z− = (a – bi) – (c – di)

= (a – c) – (b – d)iดังนั้น ( )1 2z z− = 1 2z z−

6) z1 • z2 = (ac – bd) + (ad + bc)iนั่นคือ 1 2z z⋅ = (ac – bd) – (ad + bc)iและ 1 2z z⋅ = (a – bi)(c – di)

= (ac – bd) – (ad + bc)iดังนั้น 1 2z z⋅ = 1 2z z⋅

2. ในหนังสือเรียนไดแสดงการพิสูจนสมบัติของคาสัมบูรณไวเพียงขอ 1 และ 2เทานั้น สําหรับขอที่เหลือละไวใหผูเรียนที่สนใจไดลองพิสูจนดวยตนเอง แตถาผูเรียนมีปญหาในการพิสูจน ผูสอนอาจแสดงการพิสูจนไดดังนี้

3) ให z = a + bi และ z ≠ 0 1

z = 2 2

1a b+

=2 2

1a b+

Page 3: Add m5-2-chapter1

3

= 1z

4) จาก 21 2z z⋅ = (z1 • z2)( 1 2z z⋅ )

= (z1 • z2)( 1 2z z⋅ ) = ( 1 1z z⋅ )( 2 2z z⋅ ) = 2 2

1 2z z⋅

= ( )21 2z z

ดังนั้น 1 2z z⋅ = 1 2z z

กอนที่จะพิสูจนสมบัติของคาสัมบูรณ ขอ 5 1 2 1 2z z z z+ ≤ + และ ขอ 61 2 1 2z z z z− ≥ − จะแสดงการพิสูจนทฤษฎีบทนํา เพื่อจะนําไปใชในการพิสูจนสมบัติ

ของคาสัมบูรณดังกลาว

ทฤษฎีบทนํา 1 ถา z เปนจํานวนเชิงซอน โดยที่ z = a + bi เมื่อ a, b เปนจํานวนจริงแลว a ≤ z

พิสูจน ให z = a + biเนื่องจาก a ≤ 2a

≤ 2 2a b+ = z

ดังนั้น a ≤ z

ทฤษฎีบทนํา 2 ถา z1 , z2 เปนจํานวนเชิงซอน โดยที่ z1 = a + bi และ z2 = c + di แลว1 2z z + 2 1z z ≤ 1 22 z z

พิสูจน พิจารณา 1 2z z + 2 1z z = (a + bi)(c – di) + (c + di)(a – bi)= ac – adi + bci + bd + ac – bci + adi + bd= 2ac + 2bd= 2(ac + bd)≤ ( ) ( )2 22 ac bd bc ad+ + − (ทฤษฎีบทนํา 1)= 1 22 z z

ดังนั้น 1 2z z + 2 1z z ≤ 1 22 z z

Page 4: Add m5-2-chapter1

4

ตอไปนี้เปนการพิสูจนสมบัติของคาสัมบูรณขอ 5 และขอ 6

5) 1 2 1 2z z z z+ ≤ +

พิสูจน จาก 21 2z z+ = (z1 + z2) ( )1 2z z+

= (z1 + z2) ( )1 2z z+

= 1 1 1 2 2 1 2 2z z z z z z z z+ + +

= 2 21 1 2 2 1 2z z z z z z+ + +

≤ 2 21 1 2 2z 2 z z z+ + (ทฤษฎีบทนํา 2)

= 2 21 1 2 2z 2 z z z+ +

= 2 21 1 2 2z 2 z z z+ +

= ( )21 2z z+

1 2z z+ ≤ 1 2z z+

ดังนั้น 1 2z z+ ≤ 1 2z z+

6) 1 2 1 2z z z z− ≥ −

พิสูจน จาก 21 2z z− = (z1 – z2)( 1 2z z− )

= 2 21 2 2 1 1 2z z z z z z+ − −

= ( )2 21 2 2 1 1 2z z z z z z+ − +

≥ 2 21 2 1 2z z 2 z z+ − (ทฤษฎีบทนํา 2)

= 2 21 1 2 2z 2 z z z− +

= 2 21 1 2 2z 2 z z z− +

= ( )21 2z z−

ดังนั้น 1 2 1 2z z z z− ≥ −

3. การหาผลบวกและผลตางของจํานวนเชิงซอน 2 จํานวน อาจอาศัยกราฟไดเชนเดียวกับการหาผลบวกและผลตางของเวกเตอร เพราะจํานวนเชิงซอน a + bi อาจแทนดวยเวกเตอรที่มีจุด (0, 0) เปนจุดเริ่มตน และจุด (a, b) เปนจุดสิ้นสุด เชน

(1) การหาผลบวกของ 3 + 2i และ –2 + 3i หาผลบวกโดยอาศัยกราฟ จะได

Page 5: Add m5-2-chapter1

5

ผลบวกคือ เวกเตอรที่มีจุด (0, 0) เปนจุดเริ่มตน และมีจุด (1, 5) เปนจุดสิ้นสุดซึ่งก็คือจํานวนเชิงซอน (1, 5) หรือ 1 + 5i นั่นเอง

(2) การหาผลตางของจํานวนเชิงซอน (4, 2) และ (1, –3) โดยอาศัยกราฟ จะได

ผลตางก็คือ เวกเตอรที่มีจุด (0, 0) เปนจุดเริ่มตน และมีจุด (3, 5) เปนจุดสิ้นสุดซึ่งก็คือจํานวนเชิงซอน (3, 5) หรือ 3 + 5i

4. การแสดงการพิสูจนทฤษฎีบทและขอสรุปตาง ๆ ของจํานวนเชิงซอน บางครั้งเรายังไมสามารถแสดงการพิสูจนโดยตรงได จึงใชวิธีอุปนัยเชิงคณิตศาสตร (Principle ofMathematical Induction) ซึ่งวิธีอุปนัยเชิงคณิตศาสตรนั้นมีใจความดังนี้“ถา P(n) เปนประพจนที่เกี่ยวของกับจํานวนนับ n โดยที่ P(n) มีสมบัติดังนี้

1. P(1) เปนจริง

642

0 2 4–4 –2 X

Y

(3, 2)

(1, 5)(–2, 3)

–4

4

6

2

–2–4 –2 2 4 X

Y

(4, 2)

(3, 5)

(–1, 3)

0

(1, –3)

Page 6: Add m5-2-chapter1

6

และ 2. ถา P(k) เปนจริงแลว P(k + 1) เปนจริงสําหรับทุก ๆ จํานวนนับ kแลวประพจน P(n) จะเปนจริงสําหรับทุก ๆ จํานวนนับ n”

ในหนังสือเรียนไมไดแสดงการพิสูจนทฤษฎีบทของเดอมัวร ซึ่งการพิสูจนตองอาศัยวิธีอุปนัยเชิงคณิตศาสตร ถาผูเรียนสงสัยผูสอนอาจอธิบายการพิสูจนไดดังนี้

ทฤษฎีบทของเดอมัวรถา z = r(cos θ + i sin θ) และ n เปนจํานวนเต็มบวกจะได zn = rn(cos n θ + i sin n θ)

พิสูจน ให P(n) แทนขอความ “ถา z = r(cos θ + i sin θ) แลวzn = rn(cos n θ + i sin n θ)”

ดังนั้น P(1) เปนจริง เพราะถา z = r(cos θ + i sin θ) แลวz1 = r1(cos 1 θ + i sin 1 θ)

ให P(k) เปนจริง นั่นคือ ถา z = r(cos θ + i sin θ) แลว zk = rk(cos k θ + i sin k θ)สําหรับทุก k ∈ I+ ตองแสดงวา P(k + 1) เปนจริง

พิจารณา zk + 1 = zk ⋅ z= [rk(cos k θ + i sin k θ)][r(cos θ + i sin θ)]= (rk ⋅ r)[cos(k θ + θ) + i sin (k θ + θ)]= rk + 1[cos(k + 1) θ + i sin(k + 1) θ]

ดังนั้น P(k + 1) เปนจริงโดยวิธีอุปนัยเชิงคณิตศาสตร จะได P(n) เปนจริง สําหรับทุกคาของ n ที่เปน

จํานวนเต็มบวกนั่นคือ ถา z = r(cos θ + i sin θ) แลว zn = rn(cos n θ + i sin n θ) โดยที่ n ∈ I+

5. ประโยชนของทฤษฎีบทของเดอมัวรนอกจากใชในการหาคาของจํานวนเชิงซอนในรูปเลขยกกําลัง และการหารากที่ n ของจํานวนเชิงซอน แลวยังสามารถนําไปใชพิสูจนทฤษฎีบทตรีโกณมิติได เชน

1) จงพิสูจนวา sin 2 θ = 2 sin θ cos θcos 2 θ = cos2 θ – sin2 θ

จากทฤษฎีบทของเดอมัวรกลาววา z = r(cos θ + i sin θ) และ n ∈ I+ จะได

Page 7: Add m5-2-chapter1

7

zn = rn(cos n θ + i sin n θ) จาก (cos θ + i sin θ)2 = (cos θ + i sin θ)(cos θ + i sin θ)

= cos2 θ – sin2θ + i (2 sin θ cos θ) และจากทฤษฎีบทของเดอมัวร จะได (cos θ + i sin θ)2 = cos 2 θ + i sin 2 θ ดังนั้น sin 2 θ = 2 sin θ cos θ และ cos 2 θ = cos2 θ – sin2θ

2) จงพิสูจนวา sin 3 θ = 3 sin θ – 4 sin3 θ

cos 3 θ = 4 cos3 θ – 3 cos θ

จาก (cos θ + i sin θ)3 = (cos θ + i sin θ)(cos2 θ – sin2 θ + 2 i sin θ cos θ) = cos3 θ + 3 i sin θ cos2θ – 3 sin2θ cos θ – i sin3θ) = cos3 θ – 3 sin2θ cos θ + i (3 sin θ cos2θ – sin3θ) = cos3θ – 3(1 – cos2θ)cos θ + i[3 sin θ(1 – sin2θ) – sin3θ] = cos3θ – 3 cos θ + 3 cos3θ + i(3 sin θ – 3 sin3θ – sin3θ) = 4 cos3θ – 3 cos θ + i(3 sin θ – 4 sin3θ)

และจากทฤษฎีบทของเดอมัวร จะได (cos θ + i sin θ)3 = cos 3θ + i sin 3θดังนั้น sin 3θ = 3 sinθ – 4 sin3θ

และ cos 3θ = 4 cos3θ – 3 cos θ

6. การหารากที่ n ของ 1เนื่องจาก 1 = cos 0° + i sin 0°

ดังนั้นรากที่ n ของ 1 คือ 0 360 k 0 360 kcos i sinn n

⎛ ⎞ ⎛ ⎞+ ++⎜ ⎟ ⎜ ⎟

⎝ ⎠ ⎝ ⎠

o o o o

หรือเทากับ 360 k 360 kcos i sinn n

⎛ ⎞ ⎛ ⎞+⎜ ⎟ ⎜ ⎟

⎝ ⎠ ⎝ ⎠

o o

เมื่อ k ∈ { }0, 1, 2, ..., n 1−

ถาให a = 360 360cos isinn n

+o o

จะไดรากที่ n ของ 1 คือ 1, a, a2, …, an – 1

ซึ่ง a, a2, …, an – 1 จะเปนรากของสมการ xn – 1 + xn – 2 + … + x + 1 = 0 ดวย

Page 8: Add m5-2-chapter1

8

7. ขอสังเกต a b a b⋅ ≠ ⋅ เมื่อ a และ b เปนจํานวนลบทั้งคูตัวอยางเชน 4 9− ⋅ − = ( )( )2 1 3 1− −

= (2i)(3i) = 6i2

= 6(–1) = –6

แต ( 4)( 9)− − = 36

= 6

กิจกรรมเสนอแนะจํานวนเชิงซอน

1. ผูสอนอาจนําเขาสูบทเรียนตามหนังสือเรียน หรืออาจยกตัวอยางการหาคาในระบบจํานวนจริงมากอน เชน x2 = 1 พบวา x มีคาเปน –1 หรือ 1 ก็ได (ผูเรียนเคยเรียนมาแลว) หลังจากนั้นผูสอนยกตัวอยางการหาคาของ x เมื่อกําหนด x2 = –1 ถามผูเรียนวาในระบบจํานวนจริงมีจํานวนใดหรือไมที่ยกกําลังสองแลวมีคาเปนลบ ผูเรียนจะตอบไดวาไมมีจํานวนจริงใดเลยที่ยกกําลังสองแลวเปนจํานวนลบ เพื่อใหคาของ x จากสมการx2 = –1 ได จําเปนตองสรางจํานวนขึ้นใหม เรียกจํานวนที่สรางใหมนี้วา จํานวนเชิงซอน

2. ผูสอนใหบทนิยามจํานวนเชิงซอน การเทากัน การบวก และการคูณ จํานวนเชิงซอนในรูป (a, b) แลวยกตัวอยางหรือกําหนดจํานวนเชิงซอนใหเพื่อหาคําตอบที่ตองการ เชน

(1) กําหนดให (3a, –b) = (3, 1) จงหาคาของ a และ bจากบทนิยาม (3a, –b) = (3, 1)จะได 3a = 3

a = 1และ –b = 1

b = –1(2) จงหาผลบวกและผลคูณของจํานวนเชิงซอน (–1, 5) และ (2, –3)

(–1, 5) + (2, –3) = (–1 + 2, 5 – 3)= (1, 2)

Page 9: Add m5-2-chapter1

9

และ (–1, 5) ⋅ (2, –3) = ((–1)2 – 5(–3), (–1)(–3) + 5(2))= (–2 + 15, 3 + 10)= (13, 13)

(3) จงหาคาของ a, b เมื่อกําหนด ก. (a, –3b) + (–4b, 2a) = (–2, 1)

จะได a – 4b = –22a – 3b = 1

แกสมการ จะได a = 2 และ b = 1

ข. (a, b)(3, –4) = (5, 2)3a + 4b = 5–4a + 3b = 2

แกสมการ จะได a = 725

และ b = 2625

3. ผูสอนอธิบายวาจํานวนเชิงซอนในรูป (a, b) อาจเขียนใหอยูในรูป a + bi ตามข้ันตอนในหนังสือเรียน หลังจากนั้นผูสอนอาจกําหนดจํานวนเชิงซอนในรูป (a, b) ใหผูเรียนเขียนใหอยูในรูป a + bi

4. ผูสอนบอกผูเรียนวา โดยทั่วไปจํานวนเชิงซอนประกอบดวยสวนจริงและสวนจินตภาพ กลาวคือสําหรับจํานวนเชิงซอนในรูป (a, b) หรือในรูป a + bi เรียก a วาสวนจริงและเรียก b วาสวนจินตภาพ

ผูสอนยกตัวอยางจํานวนเชิงซอน (–2, 3) ใหผูเรียนบอกสวนจริงและสวนจินตภาพ ผูเรียนควรบอกไดวาสวนจริงคือ –2 สวนจินตภาพคือ 3

ผูสอนอาจยกตัวอยางจํานวนเชิงซอนอื่น ๆ เชน 3 – 5i, i(1 – i), i(1 – i)(2 + i)แลวใหผูเรียนบอกสวนจริงและสวนจินตภาพ

ผูสอนบอกใหผูเรียนทราบวา จํานวนเชิงซอน (a, b) เมื่อ b = 0 เรียกวาจํานวนจริง เชน (3, 0), (–7, 0) ซึ่งก็คือ 3, –7

และจํานวนเชิงซอน (0, b) เมื่อ b ≠ 0 เรียกวา จํานวนจินตภาพแท จากตัวอยางจํานวนจินตภาพที่ผูเรียนบอกขางตนจะเห็นวา 3i เปนจํานวนจินตภาพแท ใหผูเรียนยกตัวอยาง

Page 10: Add m5-2-chapter1

10

จํานวนจินตภาพแทอีก 2 หรือ 3 จํานวนผูสอนยกตัวอยางจํานวนตาง ๆ เมื่อเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนเชิงซอน

แลวถามวาเปนจํานวนชนิดใดบางตามตารางขางลางนี้

จํานวนเชิงซอน

จํานวนจินตภาพแท

จํานวนจริง

จํานวนตรรกยะ

จํานวนอตรรกยะ

จํานวนเต็ม

–1 – i5

–7i3

2 + i

5. ผูสอนอาจใหผูเรียนหาคาของ in เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวก เชน ใหหาคาของ i112 และ i27 ซึ่งผูเรียนควรหาไดดังนี้

(1) i112 = (i2)56

= (–1)56

= 1

(2) i27 = i26 i= (i2)13i= (–1)13 i= –i

เอกลักษณและตัวผกผันการบวก1. ผูสอนทบทวนสมบัติของระบบจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวก2. ผูสอนถามวา ในระบบจํานวนเชิงซอน เอกลักษณการบวกคือจํานวนใด

ถาผูเรียนยังตอบไมได ผูสอนใหผูเรียนหาผลบวกของจํานวนเชิงซอนตอไปนี้(2, –3) + (0, 0) , (0, 0) + (2, –3)(–4, 5) + (0, 0) , (0, 0) + (–4, 5)(0, 0) + (1, 4) , (1, 4) + (0, 0)(0, 0) + (–5, –2) , (–5, –2) + (0, 0)

Page 11: Add m5-2-chapter1

11

ซึ่งผูเรียนควรจะไดขอสรุปวา (0, 0) เปน “เอกลักษณการบวก” ของจํานวนเชิงซอน

3. ผูสอนถามความหมายของ “ตัวผกผันการบวก” ของจํานวนเชิงซอน (a, b) ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวา หมายถึง จํานวนเชิงซอนที่บวกกับ (a, b) แลวไดจํานวนเชิงซอน (0, 0)

ผูสอนยกจํานวนเชิงซอนหลาย ๆ จํานวน เชน (–1, 3) , (2, –5) , (–2, –1)ใหผูเรียนหาตัวผกผันการบวกของจํานวนเชิงซอนดังกลาว

ผูสอนใหผูเรียนสังเกตวา จํานวนเชิงซอนที่กําหนดใหกับตัวผกผันการบวกที่หาไดมีอะไรที่แตกตางกันบาง ผูเรียนควรตอบไดวาสวนจริงและสวนจินตภาพของจํานวนเชิงซอนที่เปนตัวผกผันการบวกนั้นเปนจํานวนตรงขามกับสวนจริงและสวนจินตภาพของจํานวนเชิงซอนที่กําหนดใหตามลําดับ กลาวคือ ถากําหนดจํานวนเชิงซอน (a, b) ให ตัวผกผันการบวกของจํานวนเชิงซอน (a, b) คือ (–a, –b)

4. ผูสอนแสดงการหาเอกลักษณและตัวผกผันการบวกของจํานวนเชิงซอนตามข้ันตอนในหนังสือเรียน

เอกลักษณและตัวผกผันการคูณ1. ผูสอนทบทวนสมบัติของระบบจํานวนจริงเกี่ยวกับการคูณ

2. ผูสอนถามวา ในระบบจํานวนเชิงซอน เอกลักษณการคูณคือจํานวนใด ถาผูเรียนยังตอบไมได ผูสอนใหผูเรียนหาผลคูณของจํานวนเชิงซอนตอไปนี้

(1, 3)(1, 0) , (1, 0)(1, 3)(–1, –2)(1, 0) , (1, 0)(–1, –2)(2, –3)(1, 0) , (1, 0)(2, –3)(–2, 3)(1, 0) , (1, 0)(–2, 3)

ซึ่งผูเรียนควรไดขอสรุปวา (1, 0) เปน “เอกลักษณการคูณ” ของจํานวนเชิงซอน

3. ผูสอนถามความหมายของตัวผกผันการคูณในระบบจํานวนเชิงซอน ซึ่งผูเรียนควรจะตอบไดวา “ตัวผกผันการคูณ” ของจํานวนเชิงซอนหมายถึงจํานวนเชิงซอนที่คูณกับจํานวนเชิงซอนที่กําหนดใหแลวไดเอกลักษณการคูณ คือ จํานวนเชิงซอน (1, 0)

ผูสอนและผูเรียนชวยกันหาตัวผกผันการคูณตามวิธีการในหนังสือเรียนผูสอนใหผูเรียนฝกหาตัวผกผันการคูณของจํานวนเชิงซอนตอไปนี้

(3, 2) , (–4, 3) , –1 – 5i , 4 – 2i

Page 12: Add m5-2-chapter1

12

ผูเรียนควรหาไดวาตัวผกผันการคูณของ (3, 2) คือ 3 2,

13 13−⎛ ⎞

⎜ ⎟⎝ ⎠

ตัวผกผันการคูณของ (–4, 3) คือ 4 3,25 25− −⎛ ⎞

⎜ ⎟⎝ ⎠

ตัวผกผันการคูณของ –1 – 5i คือ 1 5 i26 26−

+

ตัวผกผันการคูณของ 4 – 2i คือ 4 2 i20 20

+

ผูสอนถามผูเรียนวาทําอยางไรจึงจะทราบวาตัวผกผันการคูณที่หาไดนั้นถูกตองผูเรียนควรตอบไดวา เมื่อนําจํานวนเชิงซอนที่กําหนดใหคูณกับตัวผกผันการคูณ

ของจํานวนเชิงซอนนั้น จะไดจํานวนเชิงซอน (1, 0)ผูสอนใหผูเรียนตรวจสอบจํานวนที่หาไดเหลานั้นตามวิธีที่ผูเรียนตอบมา

การลบและการหารจํานวนเชิงซอน1. ผูสอนใหบทนิยามการลบและการหารตามหนังสือเรียน

2. ผูสอนใหผูเรียนฝกหาผลลบและผลหารของ 5 + 3i และ 4 – 2i(1) (5 + 3i) – (4 – 2i) = 1 + 5i(2) 5 3i

4 2i+−

= (5 + 3i) 4 2 i20 20

⎛ ⎞+⎜ ⎟⎝ ⎠

= 7 11 i10 10

+

3. ผูสอนอาจใหผูเรียนหาผลบวก ผลลบ ผลคูณและผลหารของจํานวนเชิงซอนหลาย ๆ จํานวน เชน

จงหาคาของ (3, 5) [(2, 1) + (4, –2)]วิธีทํา (3, 5)[(2, 1) + (4, –2)] = (3, 5)(6, –1)

= (23, 27)หรือ (3, 5)[(2, 1) + (4, –2)] = (3, 5)(2, 1) + (3, 5)(4, –2)

= (1, 13) + (22, 14) = (23, 27)

Page 13: Add m5-2-chapter1

13

4. ผูสอนใหบทนิยามสังยุคของจํานวนเชิงซอนตามหนังสือเรียน แลวใหผูเรียนหาสังยุคของจํานวนเชิงซอนที่ครูกําหนดให เชน 4 + 3i , 2 – i , (–3, 1) , (–5, –3)

เมื่อผูเรียนหาสังยุคของจํานวนเหลานั้นไดแลว ใหผูเรียนหาผลคูณของจํานวนเชิงซอนที่กําหนดใหกับสังยุคของจํานวนเชิงซอนนั้น

ผูสอนถามผูเรียนวาผลลัพธที่ไดเปนจํานวนชนิดใดซึ่งผูเรียนควรสรุปไดวาเปนจํานวนจริง

5. ผูสอนใหผูเรียนหาผลคูณของ a + bi และ a – bi แลวสรุปใหไดวาผลคูณของจํานวนเชิงซอนกับสังยุคของจํานวนเชิงซอนนั้นเปนจํานวนจริง ผูสอนแนะนําวาจากขอสรุปนี้นําไปใชในการหาผลหารของจํานวนเชิงซอนไดดังตัวอยางตอไปนี้

5 3i4 2i+−

= 5 3i 4 2i4 2i 4 2i+ +

⋅− +

= 7 11 i10 10

+

6. ผูสอนใหผูเรียนหาผลหารของจํานวนเชิงซอน เชน 3 2i2 5i++

และ 4 3i2 i+−

โดยใช

สังยุคของจํานวนเชิงซอน

รากที่สองของจํานวนเชิงซอน1. ผูสอนทบทวนการหารากที่สองของจํานวนจริงบวกใดๆ ที่มีคาตั้งแต 0 ข้ึนไป

เชน จงหารากที่สองของ 1, 2, 9, 16ผูสอนอาจถามผูเรียนวา เราสามารถหารากที่สองของจํานวนเชิงซอนใด ๆ ได

หรือไม ผูเรียนควรบอกวาได ผูสอนแสดงการหารากที่สองของจํานวนเชิงซอนใดๆ ตามแบบเรยีนในหนงัสอืเรยีน แลวใหผูเรยีนชวยกนัสรปุการหารากทีส่องของจาํนวนเชงิซอนใด ๆดังที่กลาวมา ผูสอนใหทฤษฎีบท ซึ่งทฤษฎีบทดังกลาวผูสอนอาจใหขอสังเกตวา ในกรณีที่y = 0 แต x ≠ 0 แลวคารากที่สองของ z คือ x± เมื่อ x > 0 นั่นคือ คารากที่สองของ z เปนจํานวนจริงสองคา หรือ x i± − เมื่อ x < 0 นั่นคือ คารากที่สองของ z เปนจํานวนจินตภาพสองคา

Page 14: Add m5-2-chapter1

14

ผูสอนอาจยกตัวอยางการหารากที่สองของจํานวนเชิงซอนใด ๆ โดยอาศัยทฤษฎีบทดังกลาว ตัวอยางเชน

จงหารากที่สองของ 5 + 12iวิธีทํา ให z = 5 + 12i จะได x = 5 และ y = 12

r = 2 25 12 13+ =

เนื่องจาก y > 0 ดังนั้นรากที่สองของ 5 + 12i คือ13 5 13 5 18 8i i (3 2i)

2 2 2 2⎡ ⎤ ⎡ ⎤+ −

± + = ± + = ± +⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

ดังนั้นรากที่สองของ 5 + 12i คือ 3 + 2i และ –3 – 2i

2. ผูสอนยกตัวอยางที่ 2 ในหนังสือเรียน แลวผูสอนตรวจสอบความเขาใจของผูเรยีนโดยผูสอนอาจถามวา สมการพหนุามกาํลงัสองในรปู ax2 + bx + c = 0 เมือ่ a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ a ≠ 0 จะมีคําตอบของสมการเปนจํานวนจริงเมื่อใด และเปนจํานวนเชิงซอนเมื่อใดผูเรียนควรบอกไดวา คําตอบของสมการจะเปนจํานวนจริงเมื่อ b2 – 4ac ≥ 0 และคําตอบของสมการจะเปนจํานวนเชิงซอนเมื่อ b2 – 4ac < 0 ผูสอนควรเนนวา การหาคําตอบของสมการพหุนามกําลังสองในรูป ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b และ c เปนจํานวนจริงโดยที่ a ≠ 0

โดยใชสูตร x = 2b b 4ac

2a− ± − หรือ x =

2b b 4ac i

2a

− ± −

ผูเรียนจะใชสูตรนี้ได เมื่อ a, b และ c เปนจํานวนจริงเทานั้น เชนในการหาคําตอบของสมการพหนุาม x2 + 2 + 3i จะไมสามารถใชสตูรดงักลาวในการหาคาํตอบของสมการพหนุามไดเพราะ 2 + 3i เปนจํานวนเชิงซอน

3. ผูสอนนําสนทนากับผูเรียนวา วิธีการหารากที่สองของจํานวนเชิงซอนนอกจากเราสามารถหาไดโดยอาศัยทฤษฎีบท หรือการหาคําตอบของสมการพหุนามโดยใชสูตรขางตนแลว เรายังสามารถใชวิธีการแยกตัวประกอบได ดังเชน

จงหารากที่สองของ –4วิธีทํา ให z2 = -4

z2 + 4 = 0

Page 15: Add m5-2-chapter1

15

z2 – (2i)2 = 0(z – 2i)(z + 2i) = 0

จะได z - 2i = 0 z = 2iหรือ z + 2i = 0

z = – 2iดังนั้น รากที่สองของ – 4 คือ – 2i และ 2i

กราฟและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน1. ผูสอนใหผูเรียนแทนจํานวนเชิงซอนดวยจุดและเวกเตอรบนระนาบเชิงซอน

เชนเดียวกับในหนังสือเรียน2. ผูสอนใหบทนิยามคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน3. ผูสอนถามผูเรียนวาการหาคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน 2 + 3i เปนการหา

ระยะทางจากจุดใดไปจุดใด ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวา เปนการหาระยะทางจากจุด (0, 0) ถึงจุด (2, 3)

4. ผูสอนยกตัวอยางที่สอดคลองกับทฤษฎีบทเกี่ยวกับสมบัติของคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน เชน

1) กําหนดให z = 3 + 4i จงแสดงวา z z z= − =

จาก z = 3 + 4i ดังนั้น z = 2 23 4+ = 5 – z = –3 – 4i ดังนั้น z− = 2 2( 3) ( 4)− + − = 5 z = 3 – 4i ดังนั้น z = 2 23 ( 4)+ − = 5 ดังนั้น z = z− = z

2) กําหนดให z1 = – 1 – 2i และ z2 = 3 + 2i จงแสดงวา 1 2z z− ≥ 1 2z z−

ดังนั้น 1 2z z− = ( ) ( )- 1 - 2i - 3 + 2i

= - 4 - 4i

= 2 2( 4) ( 4)− + −

= 32

1 2z z− = 2 2 2 2( 1) ( 2) 3 2− + − − +

Page 16: Add m5-2-chapter1

16

= 5 13−

เพราะวา 32 ≥ 5 13− ดังนั้น 1 2z z− ≥ 1 2z z−

จากนั้นผูสอนและผูเรียนชวยกันพิสูจนสมบัติบางขอของทฤษฎีบทดังกลาว

จํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว1. ผูสอนทบทวนฟงกชันตรีโกณมิติของมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และคาของ

ฟงกชันโคไซน ไซน และแทนเจนตของมุมตางๆ2. ผูสอนแสดงการเขียนจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว

โดยเริ่มตนจากการเขียน z = x + yi ≠ 0 ดวยเวกเตอรบนระนาบ ดังนี้

เมื่อกําหนดให θ เปนมุมบวกที่เล็กที่สุด ซึ่งวัดทวนเข็มนาฬิกาจากแกน X ทางดานบวกไปยัง oz

uur และ r = |ozuur| แทนระยะหางระหวางจุดกําเนิด o กับ z

ผูสอนควรอธิบายวา θ เปนมุมบวกที่เล็กที่สุด แลว 0° ≤ θ < 360°

ผูสอนใหผูเรียนพิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉาก OAZ เมื่อ |ozuur| = r วา OA

OZ หรือ x

r

คือ ฟงกชันตรีโกณมิติใดของมุม θ เพื่อใหไดขอสรุปวา x = r cos θ และพิจารณาวา AZOZ

หรือ yr

คือ ฟงกชันตรีโกณมิติใดของ r เมื่อ r = 2 2x y z+ = และ ytanθ = x

เมื่อ x ≠ 0 แลวผูสอนอาจถามผูเรียนวาจากความสัมพันธดังกลาว เราสามารถเขียน z = x + yiในรูปตรีโกณมิติไดหรือไม ซึ่งผูเรียนควรบอกวา ได คือ z = r (cos θ + i sin θ)

z = x + yi

x X

Y

o

z = (x, y)

A X

Y

o

yθx

Page 17: Add m5-2-chapter1

17

การเขียนจํานวนเชิงซอนในรูป z = r (cos θ + i sin θ) เปนการเขียนจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้วของ z และเรียก θ วาอารกิวเมนตของ z ผูสอนถามผูเรียนวา เมื่อ n เปนจาํนวนเตม็ใดๆ cos (θ + 2nπ) มคีาเทาใด ผูเรยีนควรตอบวา cos (θ + 2nπ) มคีาเทากบั cos θ และ sin(θ + 2nπ) มีคาเทาใด ผูเรียนควรตอบวา sin (θ + 2nπ) มีคาเทากับ sin θ แลวผูเรียนควรสรุปใหไดวา cos (θ + 2nπ) + isin (θ + 2nπ) = cos θ + i sin θ

3. ผูสอนอาจถามผูเรียน ดังนี้กําหนด z1 = r1 (cos θ1 + i sin θ1) และ z2 = r2 (cos θ2 + i sin θ2) ตางเปนรูป

เชิงขั้ว ซึ่ง z1, z2 ≠ 0 และ z1 = z2 เมื่อใด ผูเรียนควรตอบไดวา z1 = z2 ก็ตอเมื่อ r1 = r2

และ θ1 – θ2 = 2nπ เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม แลวผูสอนอาจถามผูเรียนวา ถามีจํานวนเต็ม nและ r1 = r2 ≠ 0 ที่ทําให θ1 – θ2 ≠ 2nπ แลว z1 = z2 หรือไม ผูเรียนควรตอบไดวาz1 ≠ z2

ผูสอนยกตัวอยางเพื่อใหผูเรียนเขียนจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้วในกรณีที่ z ≠ 0 ไดเชน จงเขียน z = –3 – 3i ในรูปเชิงขั้ว

วิธีทํา ให r (cos θ + i sin θ) เปนรูปเชิงขั้วของ -3 –3i จะได r = 2 2( 3) ( 3) 9 9 18 3 2− + − = + = =

และ θ ที่ทําให tan θ = 33−−

= 1 คือ θ = π4

หรือ 5π4

เวกเตอรที่แทน z อยูในควอดรันตที่ 3 ดังนั้น θ = 4π5 หรือ 2250

ดังนั้นรูปเชิงขั้วของ –3 –3i คือ 2 [ cos ( 5π4

+ 2nπ) + i sin ( 5π4

+ 2nπ) ]เมื่อ n ∈ I ดังรูป

X

Y

-2-1

-3

-1-2-3225°

(-3, -3)

Page 18: Add m5-2-chapter1

18

ผูสอนถามผูเรียนวา สําหรับกรณีที่ z = 0 เราสามารถเขียน z ในรูปเชิงขั้วไดหรือไมผูเรียนควรตอบวาได ซึ่ง z = 0 เขียนในรูปเชิงขั้วได คือ 0(cos θ + i sin θ) และผูเรียนควรบอกไดวา θ เปนมุมที่มีขนาดใดก็ได

4. ผูสอนทบทวนสูตรการหาโคไซน และไซนของผลบวกและผลตางของมุม ดังนี้cos (α- β) = cos α cos β + sin α sin β

cos (α+ β) = cos α cos β - sin α sin β

sin (α- β) = sin α cos β - cos α sin β

sin (α+ β) = sin α cos β + cos α sin β

5. ผูสอนอาจแสดงการพิสูจนทฤษฎีบทของเดอมัวรโดยใชอุปนัยเชิงคณิตศาสตรตามขอเสนอแนะ

6. ผูสอนยกตัวอยางการหา zn เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวกโดยใชทฤษฎีบทของเดอมัวร เชน

จงเขียน 5( 3 i)− ในรูป x + yi เมื่อ x, y ∈ Rวิธีทํา เนื่องจาก 3 i− เขียนไดในรูป 2(cos 11π

6 + isin 11π

6)

ดังนั้น โดยทฤษฎีบทของเดอมัวร จะไดวา5( 3 i)− = 25 [ cos (5(11π

6)) + isin(5(11π

6)) ]

= 32 [ cos ( 55π6

) + isin( 55π6

) ]

= 32 [ cos ( 7π6

) + isin( 7π6

) ]

= 32 [ i21

23 −+− ]

= 16 3 16i− −

7. ผูสอนและผูเรยีนชวยกนัพจิารณาทฤษฎบีทของเดอมวัร โดยขยายจาก n เปนจํานวนเตม็บวก เปน n เปนจํานวนเต็ม ซึ่งผูสอนควรใหผูเรียนสรุปใหไดวา ทฤษฎีบทของเดอมัวรเปนจริงสําหรับทุกจํานวนเต็ม ดังนี้ถา z = r (cos θ + i sin θ) ≠ 0 และ n เปนจํานวนเต็มแลว zn = rn [cos (nθ) + i sin (nθ)]ผูสอนอาจยกตัวอยาง การหา zn เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม เชน

Page 19: Add m5-2-chapter1

19

จงเขียน 5( 3 i)−+ ในรูป x + yi เมื่อ x, y ∈ Rวิธีทํา เนื่องจาก 3 i+ เขียนไดในรูป 2(cos

6π + i sin

6π )

จะไดวา 5( 3 i)−+ = 2-5 [cos (-5(6π )) + i sin(-5(

6π ))]

= 132

[cos (– 56π ) + i sin(– 5

6π )]

= 132

[cos ( 56π ) – i sin( 5

6π )]

= 132

( 3 1 i2 2

− − )

= 3 1 i64 64

− −

รากที่ n ของจํานวนเชิงซอน1. ผูสอนทบทวนทฤษฎบีทของเดอมวัร และนาํสนทนากบัผูเรยีนถงึประโยชนของ

ทฤษฎบีทของเดอมัวร2. ผูสอนยกตัวอยางที่ 1, 2 และ 3 ในหนังสือเรียน ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุป

ทฤษฎีบท ถา w = r (cos θ + i sin θ) แลวรากที่ n ของ w มีทั้งหมด n รากที่แตกตางกัน คือz = n θ+ 2kπ θ+ 2kπr cos + isin

n n⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞

⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎣ ⎦ เมื่อ k ∈ {0, 1, …, n–1}

3. ผูสอนอาจยกตัวอยางเพื่อใหผูเรียนสามารถหารากที่ n ของ z ไดรวดเร็ว ดังนี้

จงหารากที่ 4 ทั้งหมด –8 + 8 3i

วิธีทํา ให z = r (cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 4 ของ –8 + 8 i3

ดังนั้น z4 = –8 + 8 i3 = ⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ π

+π 16 )

32(sini)

32(cos

โดยทฤษฎีบทของเดอมัวร จะได r 4 (cos 4θ + i sin 4θ) = ⎥⎦

⎤⎢⎣⎡ π

+π 16 )

32(sini)

32(cos

ดังนั้น r4 = 16 และ 24 2k3π

θ = + π เมื่อ Ik∈

จึงไดวา r = 2 และ k 6 2π π

θ = + เมื่อ Ik∈

ฉะนั้น z = 2 k kcos ( ) i sin ( )6 2 6 2π π π π⎡ ⎤+ + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ Ik∈

Page 20: Add m5-2-chapter1

20

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 2 cos ( ) i sin ( )6 6π π⎡ ⎤+⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 2 2 2cos ( ) i sin ( )3 3π π⎡ ⎤+⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 2 7 7cos ( ) i sin ( )6 6π π⎡ ⎤+⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 2 5 5cos ( ) i sin ( )3 3π π⎡ ⎤+⎢ ⎥⎣ ⎦

เขียนแผนภาพของรากที่ 4 ของ –8 + 8 i3 ไดดังนี้

ผูสอนควรถามผูเรียน ดังนี้1) คาสัมบูรณของแตละรากมีคาเทาใด2) คารากแตละรากจะอยูบนวงกลมที่มีรัศมีเทาใด3) วงกลมในขอ 2) มีจุดศูนยกลางอยูที่จุดใด4) ผลตางระหวางอารกิวเมนตของสองคารากที่อยูติดกันมีคาเทาใดผูเรียนควรตอบคําถามขางตน ไดวา1) คาสัมบูรณของแตละคารากมีคาเทากับ 22) คารากแตละรากจะอยูบนวงกลมที่มีรัศมี เทากับ 23) วงกลมมีจุดศูนยกลางที่จุดกําเนิด4) ผลตางระหวางคาอารกิวเมนตของสองคารากที่อยูติดกัน

มีคาเทากับ 2nπ = 2

4π =

2π หรือ 90o

4. ผูสอนและผูเรียนชวยกันพิจารณาวา เราสามารถหารากที่ n ของ w ทั้งหมดที่แตกตางกันไดรวดเร็วโดยมีข้ันตอน ดังนี้

ข้ันที่ 1 หา z1

ข้ันที่ 2 หาผลตางของอารกิวเมนตของราก เทากับ n

X

Y

z1

z2

z3 z4

2

Page 21: Add m5-2-chapter1

21

ข้ันที ่3 หา z2, z3, … , zn โดยนาํผลตางทีห่าไดจากขัน้ที ่2 บวกกบัอารกวิเมนตของรากกอนหนา ไปเรื่อยๆ จนครบ n ราก

สมการพหุนาม1. ผูสอนทบทวนสมการพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนจริง และทบทวนการ

หาคําตอบของสมการพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนจริงที่คําตอบของสมการอาจไมเปนจํานวนจริง เชน x2 + 1 = 0 , x2 + x + 1 = 0 จากนั้นผูสอนใหทฤษฎีบทหลักมูลของพีชคณิตเพื่อยืนยันวาสมการพหุนามจะมีคําตอบเปนจํานวนเชิงซอนเสมอ แลวผูสอนยกตัวอยางที่ 1ในหนังสือเรียน โดยผูสอนควรใหผูเรียนสังเกตคําตอบของสมการ x4 + 2x2 – 8 = 0 ซึ่งเปนสมการพหุนามที่มีดีกรี 4 จะมีคําตอบทั้งหมด 4 คําตอบ แลวผูสอนจึงใหทฤษฎีบท

ถา p(x) เปนพหุนามดีกรี n≥ 1 แลวสมการ p(x) = 0 จะมีคําตอบทั้งหมด nคําตอบ (นับคําตอบที่ซ้ํากันดวย) จากนั้นผูสอนและผูเรียนชวยกันพิสูจนทฤษฎีบทดังกลาว

2. ผูสอนทบทวนทฤษฎีบทตัวประกอบและทฤษฎีบทตัวประกอบจํานวนตรรกยะแลวผูสอนยกตัวอยางที่ 2 ในหนังสือเรียน ซึ่งผูสอนอาจใชวิธีการหารสังเคราะหชวยในการแยกตัวประกอบ ดังนี้

จงหารากของสมการ 2x4 + x3 – 2x – 1 = 0วิธีทํา ให P(x) = 2x4 + x3 – 2x – 1

เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร –1 ลงตัว คือ 1±

และจํานวนเต็มที่หาร 2 ลงตัว คือ 1± , 2±

ดังนั้น จํานวนตรรกยะ km

ที่ทําให kp 0m

⎛ ⎞ =⎜ ⎟⎝ ⎠

จะเปนจํานวนที่อยูในกลุมของ

จํานวนตอไปนี้ คือ 12

± , 1±

พิจารณา p(1) = 2(1)4 + (1)3 – 2(1) – 1= 2 + 1 – 2 – 1= 0

และ p(21− ) = 2(

21− )4 + (

21− )3 – 2(

21− ) –

21−

= 2 (161 ) –

81 + 2(

21 ) – 1

Page 22: Add m5-2-chapter1

22

= 81 –

81 + 1 – 1

= 0แสดงวา x – 1 และ x +

21 ตางเปนตัวประกอบของ P(x)

1 2 1 0 -2 -12 3 3 1

-21 2 3 3 1 0

-1 -1 -1 2 2 2 0

ดังนั้น P(x) = (x +21 )(x – 1)(2x2 + 2x + 2) = 0

จะไดวา (x +21 )(x – 1)(2x2 + 2x + 2) = 0

ฉะนั้น x = –21 หรือ x = 1 หรือ 2x2 + 2x + 2 = 0

พิจารณา 2x2 + 2x + 2 = 0

ฉะนั้น x = )2(2

)2)(2(42)2(2 −±−

= 2 4 164

− ± −

= 4

122 −±−

= 4

i322±−

= 2

i31±−

ดังนั้น คําตอบของสมการพหุนามที่กําหนด คือ –21 , 1,

2i31+− ,

2i31−−

3. ผูสอนใหผูเรียนสังเกตคําตอบของสมการพหุนาม 2x4 + x3 – 2x – 1 = 0จะเห็นวาคําตอบของสมการพหุนามที่มีสวนจินตภาพไมเทากับศูนยเปนสังยุคซึ่งกันและกันคือ

2i31+− ,

2i31−− แลวผูสอนใหทฤษฎีบท ถาจํานวนเชิงซอน z เปนคําตอบของ

สมการพหุนาม P(x) = xn + a1 xn-1 + … + an-1 x + an ที่มีสัมประสิทธิ์ a1, …, an เปนจํานวนจริงแลว สังยุค z จะเปนคําตอบของสมการพหนุามนีด้วย กอนทีผู่สอนและผูเรยีนจะชวยกนัพสิจูนทฤษฎบีทนีผู้สอนควรทบทวนสมบัติของสังยุคของจํานวนเชิงซอน

Page 23: Add m5-2-chapter1

23

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. จงหาคาของ 1 3 2 1( i) ( i)2 4 3 5+ + +

2. จงหาคาของ 5 3 4 1( i) ( i)9 5 3 6

− + − −

3. จงหาคาของ (–3 –2i)(5 + 6i)4. จงหาคาของ 1 3i

2 10i− −− −

5. จงหาคาของ a และ b เมื่อกําหนดให 3a + 4bi = (1 + i)2

6. จงหาคาของ (i8 + 4)(i6 + 2)(i4 + 1)(i2 – 1)(i–3 – 2)(i–1 – 2)7. จงหาคาของ x จากสมการ (x – 3)2 = –108. จงหาคาของ x จากสมการ x2 + 4x + 7 = 09. จงหาคาของ x จากสมการ 6x2 + x + 2 = 010. จงเขียน 1 3i+ ใหอยูในรูปเชิงขั้ว11. จงหาคาของ 53 1( i)

2 2−

12. จงหาคาของ 3 8i

13. จงหาเซตคําตอบของสมการ x5 – 32 = 0

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ

1. 7 19 i6 20+

2. 17 23 i9 30

− +

3. –3 – 28i4. 4 1 i

13 26−

5. 3a + 4bi = (1 + i)2

= 1 + 2i + i2

= 1 + 2i – 1= 2i

Page 24: Add m5-2-chapter1

243a = 0a = 04b = 2b = 2

4= 1

2

ดังนั้น a = 0 และ b = 12

6. (i8 + 4)(i6 + 2)(i4 + 1)(i2 – 1)(i–3 – 2)(i-1 – 2)= ((i2)4 + 4)((i2)3 + 2)((i2)2 + 1) 2

3

1 1(i 1)( 2)( 2)i i

− − −

= ((-1)4 + 4)((-1)3 + 2)((-1)2 + 1)(-1 – 1) 1 12 2i i

⎛ ⎞⎛ ⎞− − −⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠

= (1 + 4)(-1 + 2)(1 + 1)(-2) 2

1 2 2 4i i i

⎛ ⎞− − + +⎜ ⎟⎝ ⎠

= 5 × 1 × 2 × (-2)(1 + 4)= -100

7. x = 3 i 10±

8. x = 2 i 3− ±

9. x = 1 i 4712

− ±

10. r = 21 ( 3)+ = 1 3+ = 4 = 2tan θ = 3 = tan

นั่นคือ θ = 3π

แต 1 3i+ อยูในควอดรันตที่ 1 ดังนั้น θ = 3π ทําใหได

1 3i+ = 2 (cos i sin )3 3π π+

11. เขียน 3 1 i2 2− ในรูปเชิงขั้ว ซึ่ง 3 1

2 2− อยูในควอดรันตที่ 4

r =2 23 1

2 2⎛ ⎞ ⎛ ⎞+ −⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠

= 3 14 4+ = 1 = 1

tan θ = 1232

−= 3

3− = tan( )

Page 25: Add m5-2-chapter1

25

นั่นคือ θ =6π

− ทําใหได3 1 i2 2− = 1[cos( ) i sin( )]

6 6π π

− + −

โดยทฤษฎีบทของเดอมัวร53 1( i)

2 2− = 5[1(cos( ) i sin( ))]

6 6π π

− + −

= 51 [cos5( ) i sin 5( )]6 6π π

− + −

= 5 51(cos i sin )6 6π π

− + −

= 3 1 i2 2

− −

12. 3 8i =13(0 8i)+

r = 2 20 8+ = 8θ =

3 8i =13[8(cos i sin )]

2 2π π+

=13 1 18 [cos( )( ) i sin( )( )]

3 2 3 2π π

+

= 2(cos i sin )6 6π π+

= 3 12( i)2 2+

= 3 i+

13. x5 - 32 = 0x5 = 3232 = 32 + 0i

= 32(cos 0 + i sin 0)1532 =

15[32(cos(0 2n ) i sin(0 2n ))]+ π + + π

=15 2n 2n(32) (cos i sin )

5 5π π+

= 2n 2n2(cos i sin )5 5π π+

Page 26: Add m5-2-chapter1

26ให n = 0, 1, 2, 3 และ 4 เมื่อรากของสมการทั้ง 5 คือ x1, x2, x3, x4 และ x5

เมื่อ n = 0 , x1 = 2(cos 0 + i sin 0) = 2n = 1 , x2 = 2 22(cos i sin )

5 5π π+ ≈ 0.62 + 1.90i

n = 2 , x3 = 4 42(cos i sin )5 5π π+ ≈ –1.62 + 1.18i

n = 3 , x4 = 6 62(cos i sin )5 5π π+ ≈ –1.62 – 1.18i

n = 4 , x5 = 8 82(cos i sin )5 5π π+ ≈ 0.62 – 1.90i

ดังนั้น คําตอบของสมการ คือ 2, 0.62 ± 1.90i และ –1.62 ± 1.18iเซตคําตอบของสมการ คือ {2, 0.62 + 1.90i, 062 – 1.90i, –1.62 + 1.18i, –1.62 – 1.18i}

เฉลยแบบฝกหัด 1.1

1.Re (z) Im (z)

2 + 3i4 + 5i1 3 i2 2−

–43i

2 2 2i−

2412–402

3532

03

2 2−

2. (1) a = 2 , b = –2(2) a = 3 , b = 2 หรือ a = 2 , b = 3(3) a = 5 , b = 0(4) a = 2

3 , b = 1

3−

Page 27: Add m5-2-chapter1

27

3. (1) 6 – 8i (2) –6 – 2i(3) 7 – 3 2i (4) 4 + 2i(5) 6 – 4i (6) –4 + 6i(7) –1 + 11i (8) –1(9) 1 + 2i (10) –3 + 4i(11) 2 2i− − (12) 6 3i− −

4. a = 129

, b = 1729

เฉลยแบบฝกหัด 1.2

1. (1) 15 + 8i (2) –8i(3) –2 + 16i (4) 2i(5) 5 (6) –4 + 19i

2. (1) 2 + i (2) –3 – 2i(3) – 4 + 7i (4) – 4 – 7i(5) – 4 – 7i (6) –1 + i(7) –1 – i (8) –1 – i

3. (1) 2 + 4i (2) 20(3) 4 (4) 8 – 16i(5) –8i (6) 8(7) 1 (1 2i)

10+ (8) – 4 – 2i

4. (1) 7 6 i17 17

− (2) i

(3) 7 1 i2 2− (4) 1 1 i

2 2− −

(5) 2 3 i13 13

+ (6) 3 1 i20 20

+

Page 28: Add m5-2-chapter1

28

5. (1) 6 8 i5 5+ (2) 5 3 i

2 2−

(3) 1 1 i2 2

− + (4) 4 1 i17 17

+

(5) 3 43 i65 130

+ (6) 2 – 2i(7) 1 – i

6. 1) ให z = a + biiz = i(a bi)+

= b ai− +

= –b – aiiz− = –i (a – bi)

= –ai + bi2

= –b – aiดังนั้น iz = iz−

2) ให z = a + biจะได iz = –b + aiนั่นคือ Im(iz) = a

Re(z) = aดังนั้น Im(iz) = Re(z)

3) ให z = a + biจะได iz = –b + aiนั่นคือ Re(iz) = –b

–Im(z) = –bดังนั้น Re(iz) = –Im(z)

7. ให z1 และ z2 เปนจํานวนเชิงซอน โดยที่ z1 = a + bi , z2 = c + diและ z1z2 = 0 เพียงพอที่จะพิสูจนวาถา z1 ≠ 0 จะแสดงวา z2 = 0

Page 29: Add m5-2-chapter1

29

เพราะวา (a + bi)(c + di) = 0จะได ac – bd = 0 นั่นคือ ac = bd ---------- (1)เนื่องจาก z1 ≠ 0 จะได a ≠ 0 และ b ≠ 0 ---------- (2)จาก (1), (2) จะได c = 0 และ d = 0ดังนั้น z2 = 0จะไดวา ถา z1z2 = 0 แลว z1 = 0 หรือ z2 = 0

เฉลยแบบฝกหัด 1.3

1. 16i−

ให z = –16i จะไดวา x = 0 และ y = -16และ r = 2 2x +y = 2( 16 )− = 16เนื่องจาก y < 0 ดังนั้นรากที่สองของ –16i คือ

16 16± i2 2

⎛ ⎞−⎜ ⎟⎜ ⎟

⎝ ⎠ = ( )± 8 8i−

= ( )± 2 2 2 2−

ดังนั้นรากที่สองของ –16i คือ 2 2 2 2i− และ 2 2 2 2i− +

5 12i+

ให z = 5 + 12i จะไดวา x = 5 และ y = 12และ r = 2 2x +y = 2 25 12+ = 13

เนื่องจาก y > 0 ดังนั้นรากที่สองของ 5 + 12i คือ13+5 13 5± i

2 2⎛ ⎞−

+⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

= ( )± 3 2i+

ดังนั้นรากที่สองของ 5 + 12i คือ 3 2i+ และ 3 2i− −

3 4i+

ให z = 3 + 4i จะไดวา x = 3 และ y = 4และ r = 2 2x +y = 2 23 4+ = 5เนื่องจาก y > 0 ดังนั้นรากที่สองของ 3 + 4i คือ

Page 30: Add m5-2-chapter1

30

5+3 5 3± i2 2

⎛ ⎞−+⎜ ⎟⎜ ⎟

⎝ ⎠ = ( )± 2 i+

ดังนั้นรากที่สองของ 3 + 4i คือ 2 i+ และ 2 i− −

8 6i−

ให z = 8 – 6i จะไดวา x = 8 และ y = 6−

และ r = 2 2x +y = 2 28 ( 6)+ − = 10เนื่องจาก y < 0 ดังนั้นรากที่สองของ 8 – 6i คือ

10+8 10 8± i2 2

⎛ ⎞−+⎜ ⎟⎜ ⎟

⎝ ⎠= ( )± 3 i−

ดังนั้นรากที่สองของ 8 – 6i คือ 3 i− และ 3 i− +

1 2 2i−

ให z = 1 – 2 2i จะไดวา x = 1 และ y = 2 2−

และ r = 2 2x +y = 2 21 ( 2 2)+ − = 3เนื่องจาก y < 0 ดังนั้นรากที่สองของ 1 – 2 2i คือ

3+1 3 1± i2 2

⎛ ⎞−−⎜ ⎟⎜ ⎟

⎝ ⎠ = ( )± 2 i−

ดังนั้นรากที่สองของ 1 – 2 2i คือ 2 i− และ 2 i− +

2. (1) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ { }2i,-2i

(2) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ { }4 3i, -4 3i

(3) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ { }1+ 39i,1- 39i

(4) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ -1 7 -1 7+ i, - i2 2 2 2

⎧ ⎫⎨ ⎬⎩ ⎭

(5) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ -1 23 -1 23+ i, - i2 2 2 2

⎧ ⎫⎪ ⎪⎨ ⎬⎪ ⎪⎩ ⎭

(6) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ -3 151 -3 151+ i, - i8 8 8 8

⎧ ⎫⎪ ⎪⎨ ⎬⎪ ⎪⎩ ⎭

(7) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ -5 71 -5 71+ i, - i4 4 4 4

⎧ ⎫⎪ ⎪⎨ ⎬⎪ ⎪⎩ ⎭

(8) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ 1 2 1 2+ i, - i3 3 3 3

⎧ ⎫⎪ ⎪⎨ ⎬⎪ ⎪⎩ ⎭

Page 31: Add m5-2-chapter1

31

(9) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ { }1+ 7i,1- 7i

(10) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ { }1+ 2,1- 2

(11) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ { }2+i,2-i

(12) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ { }3,-2

(13) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ -5 217 -5 217+ , -6 6 6 6

⎧ ⎫⎪ ⎪⎨ ⎬⎪ ⎪⎩ ⎭

(14) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ -1 7 -1 7+ i, - i2 2 2 2

⎧ ⎫⎪ ⎪⎨ ⎬⎪ ⎪⎩ ⎭

(15) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ -1 3 -1 3+ i, - i4 4 4 4

⎧ ⎫⎪ ⎪⎨ ⎬⎪ ⎪⎩ ⎭

(16) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ -1 3 -1 3+ i, - i2 2 2 2

⎧ ⎫⎨ ⎬⎩ ⎭

(17) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ { }-1+7i,-1-7i

(18) เซตคําตอบของสมการที่กําหนดใหคือ { }-1+ 3i,-1- 3i

เฉลยแบบฝกหัด 1.4

1. (1)

–6 –4 –2 0 2 4 6–2

–4

–6

2

4

6Y

X(–3, 1)

(2, 3)(4, 2)

(0, –1)(–2, –3)

(–2, 0)

Page 32: Add m5-2-chapter1

36

(2)

2.

3. จํานวนเชิงซอนที่แทนจุด A คือ (3,1) หรือ 3 + iจํานวนเชิงซอนที่แทนจุด B คือ (0,2) หรือ 2iจํานวนเชิงซอนที่แทนจุด C คือ (- 3, - 4) หรือ - 3 – 4iจํานวนเชิงซอนที่แทนจุด D คือ (2, - 2) หรือ 2 – 2iจํานวนเชิงซอนที่แทนจุด E คือ (- 3,0) หรือ - 3จํานวนเชิงซอนที่แทนจุด F คือ (-1, -1) หรือ -1 - i

–6 –4 –2 0 2 4 6–2

–4

–6

2

4

6Y

X–4 + i

–34 + i

–5 – 2i –2i

3 – 4i

–6 –4 –2 0 2 4 6–2

–4

–6

2

4

6Y

X

i(4 + 6i)

4 + 6i

i2(4 + 6i)

i3(4 + 6i)

Page 33: Add m5-2-chapter1

37

4. (1)

(2)

5.

–6 –4 –2 0 2 4 6–2

–4

–6

2

4

6Y

X

z1 + z2

z1

z2

–4 0 2 4 6–2–4–6

4

Y

X

– z2 z1

2

–2–6–8–10 8 10 12

–8–10 z1 – z2

1 1 3iz 10

−=

–6 –4 –2 0 2 4 6–2

–4

2

4

6Y

X

z

z

–8

– z

z2

Page 34: Add m5-2-chapter1

38

6.

7. 1 3i− = 22 3i− = 11

4 3i+ = 55 12i− + = 135 2 3i+ = 17

3 i− − = 23 4i− − = 5

4i = 48. ให z1 = a + bi และ z2 = c + di

2 21 2 1 2z z z z− + + = 2 2(a bi) (c di) (a bi) (c di)+ − + + + + +

= 2 2(a c) (b d)i (a c) (b d)i− + − + + + +

= 2 2 2 2[(a c) (b d) ] [(a c) (b d) ]− + − + + + +

= 2a2 + 2c2 + 2b2 + 2d2

= 2(a2 + b2) + 2(c2 + d2)= 2 2

1 22 z 2 z+

9. ให z = a + biz = 2 2a b+

zz = (a bi)(a bi)+ −

–6 –4 –2 0 2 4 6–2

–4

–6

2

4

6Y

X–8 8

zi

zi3

zi2

z, zi4

Page 35: Add m5-2-chapter1

39

= 2 2 2a b i−

= 2 2a b+

ดังนั้น z = zz

10. ให z = c + di และ a = e + fi2z a− = 2(c di) (e fi)+ − +

= 2(c e) (d f )i− + −

= (c – e)2 + (d – f)2

(z – a)( (z a)− = [(c + di) – (e + fi)][(c – di) – (e – fi)]= [(c – e) + (d – f)i][(c – e) – (d – f)i]= (c – e)2 – (d – f)2i2

= (c – e)2 + (d – f)2

ดังนั้น 2z a− = (z – a) (z a)−

11. ให z = a + bi , a, b ∈ Rจะได z = a – bi

zz = (a + bi)(a – bi)= a2 + b2 ∈ R

z z+ = (a + bi) + (a – bi)= (a + a) + (b – b)i= 2a ∈ R

ดังนั้น zz และ z z+ เปนจํานวนจริง เมื่อ z เปนจํานวนเชิงซอนใดๆ

12. ให z = x + yi , a = u + viจะได z = x – yi , a = u – vi(z – a)( z – a ) = (x + yi – u – vi)(x – yi – u + vi)

= [(x – u) + (y – v)i][(x – u) – (y – v)i]= (x – u)2 – ((y – v)i)2

= (x – u)2 + (y – v)2 = k2

จากสูตร สมการรูปทั่วไปของวงกลม คือ (x – h)2 + (y – k)2 = r2 โดยที่

Page 36: Add m5-2-chapter1

40

จุดศูนยกลางของวงกลม คือ (h, k) , รัศมี คือ rจะได จุดศูนยกลางวงกลมอยูที่จุด (u, v) คือ จุด a นั่นเอง และรัศมีเทากับ k หนวย

13. 1 zi+ = 1 zi− ก็ตอเมื่อ z เปนจํานวนจริงจะแสดง (1) ถา 1 zi+ = 1 zi− แลว z เปนจํานวนจริงและ (2) ถา z เปนจํานวนจริง แลว 1 zi+ = 1 zi−

จะแสดงวา (1) โดยใชวิธีแยงสลับที่ (p → q สมมูลกับ ∼ q → ∼p)นั่นคือ จะแสดงวา ถา z ไมเปนจํานวนจริง แลว 1 zi+ ≠ 1 zi−

ให z ไมเปนจํานวนจริง และ z = a + bi เมื่อ b ≠ 0จะได 1 zi+ = ( )1 a bi i+ + = 1 b ai− + = ( )22a 1 b+ −

1 zi− = ( )1 a bi i− + = 1 b ai+ − = ( )22a 1 b+ +

ดังนั้น 1 zi+ ≠ 1 zi−

นั่นคือ ถา z ไมเปนจํานวนจริงแลว 1 zi+ ≠ 1 zi−

หรือ ถา 1 zi+ = 1 zi− แลว z เปนจํานวนจริงจะแสดง (2) ให z เปนจํานวนจริงจะได 1 zi+ = 2 21 z+ = 21 z+

1 zi− = 2 21 ( z)+ − = 21 z+

ดังนั้น 1 zi+ = 1 zi−

นั่นคือ ถา z เปนจํานวนจริงแลว 1 zi+ = 1 zi−

จาก (1) และ (2) สรุปไดวา 1 zi+ = 1 zi− ก็ตอเมื่อ z เปนจํานวนจริง

14. (1) z 2 1− ≤

z 2− คือ ระยะทางจากจุด (2, 0) ไปยัง z ดังนั้น เซตของจุด z ทั้งหลายในระนาบเชิงซอน ซึ่งสอดคลองอสมการ z 2 1− ≤ ก็คือ เซตของจํานวนเชิงซอน หรือจุดที่อยูภายในวงกลม (รวมจุดบนเสนรอบวง) ที่มีจุดศูนยกลางที่ (2, 0) และรัศมี 1 หนวย _

_

- 1- 2

210 1 3 42 X

Y

Page 37: Add m5-2-chapter1

41

(2) z 2 3i− + < 3z 2 3i− + คือ ระยะทางจากจุด (2, -3) ไปยัง z ดังนั้น เซตของจุด z ทั้งหลายในระนาบเชิงซอน ซึ่งสอดคลองอสมการ z 2 3i− + < 3 ก็คือ เซตของจํานวนเชิงซอน หรือจุดที่อยูภายในวงกลม (ไมรวมจุดบนเสนรอบวง) ที่มีจุดศูนยกลางที่ (2, -3) และรัศมี 3 หนวย

(3) z 3 2i+ − > 1z 3 2i+ − คือ ระยะทางจากจุด (- 3, 2) ไปยัง z ดังนั้น เซตของจุด z ทั้งหลายในระนาบเชิงซอน ซึ่งสอดคลองอสมการ z 3 2i+ − > 1 ก็คือ เซตของจํานวนเชิงซอน หรือจุดที่อยูภายในวงกลม (ไมรวมจุดบนเสนรอบวง) ที่มีจุดศูนยกลางที่ (- 3, 2) และรัศมี 1 หนวย

(4) Im z > 3

Y

X- 1- 2- 3 1 2 3 4 5 6012

- 2 - 1

- 3 - 4 - 5

X

Y

1 2123

0- 1- 2

- 1- 2- 3- 4- 5

X

Y

1 2 3 4

4321

- 1- 1- 2- 3- 4 0

Page 38: Add m5-2-chapter1

42

(5) Im (i + z ) = 4

(6) z i z i+ + − = 2จากสมบัติของคาสัมบูรณจะไดวา z i z i+ + − ≤ z i z i+ + −

ดังนั้น z i z i+ + − ≤ 2 2z ≤ 2 z ≤ 1

z คือ ระยะทางจากจุด (0, 0) ไปยัง z ดังนั้น เซตของจุด z ทั้งหลายในระนาบเชิงซอน ซึ่งสอดคลองอสมการ z ≤ 1 ก็คือ เซตของจํานวนเชิงซอนหรือจุดที่อยูภายในวงกลม(รวมจุดบนเสนรอบวง) ที่มีจุดศูนยกลางที่ (0, 0) และรัศมี1 หนวย

(7) z i 1+ ≥

z i+ คือ ระยะทางจากจุด (0, -1) ไปยัง z ดังนั้น เซตของจุด z ทั้งหลายในระนาบเชิงซอน ซึ่งสอดคลองอสมการ z i 1+ ≥ ก็คือ เซตของจํานวนเชิงซอน หรือจุดที่อยูภายนอกวงกลม(รวมจุดบนเสนรอบวง) ที่มีจุดศูนยกลางที่ (0, -1) และรัศมี 1 หนวย

Y

X- 1 1012

2

3

3 4

45

- 1- 2- 3- 4

X

Y

112

2- 1 - 1- 2

- 2

Page 39: Add m5-2-chapter1

43

(8) Re(z) < 2

(9) Re(z – i) > –5

(10) z 3 z− ≥

ให z = x + yi จากอสมการที่กําหนดจะได2 2(x 3) y− + ≥ 2 2x y+

(x – 3)2 + y2 ≥ x2 + y2

แกอสมการจะได x ≤ 32

X

Y

11

2 3

-3

-1 -2

-1 -2

23

_

_

_

X

Y

1 2123

- 3 -2- 1

- 1- 2- 3- 4- 5- 6 0

X

Y

11

2- 2 - 1- 1- 2

Page 40: Add m5-2-chapter1

44

15. z i− คือ ระยะทางจากจุด (0, 1) ไปยัง z ดังนั้น เซตของจุด z ทั้งหลายในระนาบเชิงซอน ซึ่งสอดคลองอสมการ z i 2− = ก็คือ เซตของจํานวนเชิงซอน หรือจุดที่อยูบนวงกลมที่มีจุดศูนยกลางที่ (0, 1) และรัศมี 2 หนวย

จากกราฟ z ที่มี z มากที่สุดคือ z = 3i

เฉลยแบบฝกหัด 1.5

1. 1 + 3i

r = 1 3+ = 2 θ ที่ทําให tan θ = 3

1 = 3 คือ θ =

z = 2 cos i sin3 3π π⎛ ⎞+⎜ ⎟

⎝ ⎠

X

Y

12- 1- 2

2

1

34

- 1

- 2

- 3

X

Y

1 2

21

- 1- 2

- 1- 2

Page 41: Add m5-2-chapter1

45

1 – ir = 1 1+ = 2

θ ที่ทําให tan θ = 11

− = –1 คือ θ = 74π

z = 7 72 cos isin4 4π π⎛ ⎞+⎜ ⎟

⎝ ⎠

2 3 2i− +

r = 12 4+ = 4θ ที่ทําให tan θ = 2

2 3− = 1

3− คือ θ = 5

z = 5 54 cos i sin6 6π π⎛ ⎞+⎜ ⎟

⎝ ⎠

–4 – 4ir = 16 16+ = 4 2

θ ที่ทําให tan θ = 44−−

= 1 คือ θ = 54π

z = 5 54 2 cos i sin4 4π π⎛ ⎞+⎜ ⎟

⎝ ⎠

12 12 3i−

r = 144 432+ = 24θ ที่ทําให tan θ = 12 3

12− = 3− คือ θ = 5

z = 5 524 cos i sin3 3π π⎛ ⎞+⎜ ⎟

⎝ ⎠

1 i2 2

− +

r = 1 14 4+ = 1

2 = 2

2

θ ที่ทําให tan θ = 1212

− = 1− คือ θ = 3

z = 2 3 3cos isin2 4 4

π π⎛ ⎞+⎜ ⎟⎝ ⎠

Page 42: Add m5-2-chapter1

46

2. (1) 3 3 3 i4 4

− +

(2) 1 i6 6

− −

(3) 7( 3 i)−

เพราะวา 3 i− เขียนไดในรูป 11 112[cos i sin ]6 6π π+

จากทฤษฎีบทของเดอมัวร จะได7( 3 i)− = 7 77 772 [cos i sin ]

6 6π π+

= 5 5128[cos i sin ]6 6π π+

= 3 i128( )2 2

− +

= 64 3 64i− +

(4) 5( 2 2i)+

เพราะวา 2 2i+ เขียนไดในรูป 2[cos i sin ]4 4π π+

จากทฤษฎีบทของเดอมัวร จะได5( 2 2i)+ = 5 5 52 [cos i sin ]

4 4π π+

= 2 232[ i]2 2

− −

= 16 2 16 2i− −

(5)100

3 i2 2

⎛ ⎞+⎜ ⎟⎜ ⎟

⎝ ⎠

เพราะวา 3 i2 2+ เขียนไดในรูป cos i sin

6 6π π+

จากทฤษฎีบทของเดอมัวร จะได1003 i( )

2 2+ = 100 100 1001 [cos i sin ]

6 6π π+

= 1 3 i2 2

− +

(6) (–i)7 = – i(7)

6

4(1 i)

( 1 i)−

− −

เพราะวา 1 – i เขียนไดในรูป 7 72(cos i sin )4 4π π+

Page 43: Add m5-2-chapter1

47

และ –1 – i เขียนไดในรูป 5 52(cos i sin )4 4π π+

จากทฤษฎีของเดอมัวร จะได6

4(1 i)

( 1 i)−

− −=

6

4

42 422 (cos i sin )4 4

20 202 (cos i sin )4 4

π π+

π π+

= 8(0 i)4( 1 0)

+− +

= 8i4−

= –2i(8) 12 12 3i+

(9) –4 + 4i(10) 3 5( 3 i) (2 3 2i)− + +

เพราะวา 3 i− + เขียนไดในรูป 5 52(cos i sin )6 6π π+

และ 2 3 2i+ เขียนไดในรูป 4(cos i sin )6 6π π+

จากทฤษฎีของเดอมัวร จะได3 5( 3 i) (2 3 2i)− + + = 3 515 15 5 52 (cos i sin )4 (cos i sin )

6 6 6 6π π π π+ +

= 3 i8192(0 i)( )2 2

+ − +

= 4096 4096 3i− −

3. (1) เพราะวา 1 3i− เขียนไดในรูป 5 52(cos i sin )3 3π π+

และ r (cos θ + i sin θ) = 1 3i−

จะได r = 2 และ θ = 53π เมื่อ 0 2≤ θ ≤ π

แต 2 6π ≤ θ ≤ π ดังนั้น θ มีคา 113π และ 17

(2) เพราะวา –1 – i เขียนไดในรูป 5 52(cos i sin )4 4π π+

และ r (cos θ + i sin θ) = –1 – iจะได r = 2 และ θ = 5

4π เมื่อ 0 2≤ θ ≤ π

แต 6 7π ≤ θ ≤ π ดังนั้น ไมมี θ ที่ 6 7π ≤ θ ≤ π ที่สอดคลองสมการนี้

Page 44: Add m5-2-chapter1

48

(3) เพราะวา –1 – i เขียนไดในรูป 5 52(cos i sin )4 4π π+

และ r2(cos 2θ + i sin 2θ) = –1 – iจะได r2 = 2 ดังนั้น r = 4 2

และ 2θ = 54π ดังนั้น θ = 5

8π เมื่อ 0 2≤ θ ≤ π

4. (1) {z⏐arg(z) = 4π }

(2) {z⏐arg(z) = 2π

− }

3) {z⏐0 < arg(z) < π}

Y

X0

Y

X0

Y

X0

Page 45: Add m5-2-chapter1

49

4) {z⏐2π

− < arg(z) < 0}

5. ให z = a + bi จะได z = a – biจาก z = a + bi จะได tan θ = b

aดังนั้น arg(z) = arctan b

aและ z = a – bi จะได tan θ = b

a−

ดังนั้น arg( z ) = arctan b( )a

arg(z) + arg( z ) = b barctan arctan( )a a+ −

=b b( )a aarctan b b1 ( )( )

a a

⎡ ⎤+ −⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥− −⎣ ⎦

= arctan 0 = 0 = 0 + 2nπ , n เปนจํานวนเต็ม (มุมสมมูลกัน) = 2nπ

เฉลยแบบฝกหัด 1.6

1. iให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 3 ของ iดังนั้น z3 = i = π π1(cos +isin )

2 2โดยทฤษฏีบทของเดอมัวร

Y

X0

Page 46: Add m5-2-chapter1

50

จะได r3 ( )cos3θ + isin3θ = π π(cos +isin )2 2

ดังนั้น r3 = 1 และ 3θ = 2k2π+ π เมื่อ { }k 0,1,2∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = 2k6 3π π+ เมื่อ { }k 0,1,2∈

ฉะนั้น 2k 2kz cos( ) i sin( )6 3 6 3π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = (cos i sin )6 6π π+ = 3 1 i

2 2+

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 5 5(cos i sin )6 6π π+ = 3 1 i

2 2− +

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 3 3(cos i sin )2 2π π+ = – i

8(cos i sin )3 3π π+

ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 3 ของ 8(cos i sin )3 3π π+

ดังนั้น z3 = 8(cos i sin )3 3π π+

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r3 ( )cos3θ + isin3θ = 8(cos i sin )

3 3π π+

ดังนั้น r3 = 8 และ 3θ = 2k3π+ π เมื่อ { }k 0,1,2∈

จึงไดวา r = 2 และ θ = 2k9 3π π+ เมื่อ { }k 0,1,2∈

ฉะนั้น 2k 2kz 2 cos( ) i sin( )9 3 9 3π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 2(cos i sin )9 9π π+

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 7 72(cos i sin )9 9π π+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 13 132(cos i sin )9 9π π+

Y

X1 Z1Z2

Z3

Page 47: Add m5-2-chapter1

51

5 527(cos i sin )3 3π π+

ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 3 ของ 5 527(cos i sin )3 3π π+

ดังนั้น z3 = 5 527(cos i sin )3 3π π+

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r3 ( )cos3θ + isin3θ = 5 527(cos i sin )

3 3π π+

ดังนั้น r3 = 27 และ 3θ = 5 2k3π+ π เมื่อ { }k 0,1,2∈

จึงไดวา r = 3 และ θ = 5 2k9 3π π+ เมื่อ { }k 0,1,2∈

ฉะนั้น 5 2k 5 2kz 3 cos( ) i sin( )9 3 9 3π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 5 53(cos i sin )9 9π π+

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 11 113(cos i sin )9 9π π+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 17 173(cos i sin )9 9π π+

–8iให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 3 ของ –8i

Y

X3

Z1

Z2

Z3

2

Y

Z3

Z2Z2 Z1

X

Page 48: Add m5-2-chapter1

52

ดังนั้น z3 = –8i = 3π 3π8(cos + isin )2 2

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r3 ( )cos3θ + isin3θ = 3π 3π8(cos + isin )

2 2ดังนั้น r3 = 8 และ 3θ = 3 2k

2π+ π เมื่อ { }k 0,1,2∈

จึงไดวา r = 2 และ θ = 2k2 3π π+ เมื่อ { }k 0,1,2∈

ฉะนั้น 2k 2kz 2 cos( ) i sin( )2 3 2 3π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 2(cos i sin )2 2π π+ = 2i

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 7 72(cos i sin )6 6π π+ = 3 i− −

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 11 112(cos i sin )6 6π π+ = 3 i−

27iให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 3 ของ 27iดังนั้น z3 = 27i = π π27(cos + isin )

2 2โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r3 ( )cos3θ + isin3θ = π π27(cos + isin )

2 2ดังนั้น r3 = 27 และ 3θ = 2k

2π+ π เมื่อ { }k 0,1,2∈

จึงไดวา r = 3 และ θ = 2k6 3π π+ เมื่อ { }k 0,1,2∈

ฉะนั้น 2k 2kz 3 cos( ) i sin( )6 3 6 3π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 3(cos i sin )6 6π π+ = 3 3 3+ i

2 2

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 5 53(cos i sin )6 6π π+ = 3 3 3+ i

2 2−

Y

X2

Z1

Z2 Z3

Page 49: Add m5-2-chapter1

53

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 3 33(cos i sin )2 2π π+ = 3− i

–64ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 3 ของ –64ดังนั้น z3 = –64 = 64(cosπ + isinπ)

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r3 ( )cos3θ + isin3θ = 64(cosπ + isinπ)

ดังนั้น r3 = 64 และ 3θ = 2kπ+ π เมื่อ { }k 0,1,2∈

จึงไดวา r = 4 และ θ = 2k3 3π π+ เมื่อ { }k 0,1,2∈

ฉะนั้น 2k 2kz 4 cos( ) i sin( )3 3 3 3π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 4(cos i sin )3 3π π+ = 2 2 3i+

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 4(cos i sin )π+ π = 4−

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 5 54(cos i sin )3 3π π+ = 2 2 3i−

Y

X

4

Z1

Z2

Z3

3

Y

X

Z1Z2

Z3

Page 50: Add m5-2-chapter1

54

1 3i+

ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 3 ของ 1 3i+

ดังนั้น z3 = 2(cos + isin )3 3π π

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r3 ( )cos3θ + isin3θ = 2(cos + isin )

3 3π π

ดังนั้น r3 = 2 และ 3θ = 2k3π+ π เมื่อ { }k 0,1,2∈

จึงไดวา r = 3 2 และ θ = 2k9 3π π+ เมื่อ { }k 0,1,2∈

ฉะนั้น 3 2k 2kz 2 cos( ) i sin( )9 3 9 3π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 3 2(cos i sin )9 9π π+

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 3 7 72(cos i sin )9 9π π+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 3 13 132(cos i sin )9 9π π+

2 3 2i− +

ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 3 ของ 2 3 2i− +

ดังนั้น z3 = 5 54(cos + isin )6 6π π

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r3 ( )cos3θ + isin3θ = 5 54(cos + isin )

6 6π π

ดังนั้น r3 = 4 และ 3θ = 5 2k6π+ π เมื่อ { }k 0,1,2∈

จึงไดวา r = 3 4 และ θ = 5 2k18 3π π+ เมื่อ { }k 0,1,2∈

ฉะนั้น 3 5 2k 5 2kz 4 cos( ) i sin( )18 3 18 3π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 3 5 54(cos i sin )18 18π π+

Z3

3 2

Y

XZ1

Z2

Page 51: Add m5-2-chapter1

55

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 3 17 174(cos i sin )18 18π π+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 3 29 294(cos i sin )18 18π π+

2 2 3i−

ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 3 ของ 2 2 3i−

ดังนั้น z3 = 2 2 3i− = 5π 5π4(cos + isin )3 3

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r3 ( )cos3θ + isin3θ = 5 54(cos + isin )

6 6π π

ดังนั้น r3 = 4 และ 3θ = 5 2k3π+ π เมื่อ { }k 0,1,2∈

จึงไดวา r = 3 4 และ θ = 5 2k9 3π π+ เมื่อ { }k 0,1,2∈

ฉะนั้น 3 5 2k 5 2kz 4 cos( ) i sin( )9 3 9 3π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 3 5 54(cos i sin )9 9π π+

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 3 11 114(cos i sin )9 9π π+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 3 17 174(cos i sin )9 9π π+

Y

XZ3Z2

3 4

Z1

Y

Z3

Z1Z2

3 4 X

Page 52: Add m5-2-chapter1

56

3 i−ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 3 ของ 3 i−

ดังนั้น z3 = 3 i− = 11π 11π2(cos + isin )6 6

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r3 ( )cos3θ + isin3θ = 11π 11π2(cos + isin )

6 6ดังนั้น r3 = 2 และ 3θ = 11 2k

6π+ π เมื่อ { }k 0,1,2∈

จึงไดวา r = 3 2 และ θ = 11 2k18 3π π+ เมื่อ { }k 0,1,2∈

ฉะนั้น 3 11 2k 11 2kz 2 cos( ) i sin( )18 3 18 3π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 3 11 112(cos i sin )18 18π π+

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 3 23 232(cos i sin )18 18π π+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 3 35 352(cos i sin )18 18π π+

2. รากที่ 2 ของ 1ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 2 ของ 1ดังนั้น z2 = 1 = 1 (cos0 + isin0)

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r2 ( )cos2θ + isin2θ = (cos0 + isin0)

ดังนั้น r1 = 1 และ 2θ = 0 2k+ π เมื่อ { }k 0,1,2∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = 0 + kπ เมื่อ { }k 0,1,2∈

ฉะนั้น z 1 (cos kπ + isin kπ)= เมื่อ { }k = 0,1

เมื่อ k = 0 จะได z1 = (cos 0 + isin 0) = 1 เมื่อ k = 1 จะได z2 = (cos + isin )π π = -1แสดงแผนภาพไดดังนี้

Y

X

Z1

Z2

Z3

3 2

Page 53: Add m5-2-chapter1

57

รากที่ 4 ของ 1ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 4 ของ 1ดังนั้น z4 = 1 = 1(cos0 + isin0)

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r4 ( )cos4θ + isin4θ = (cos0 + isin0)

ดังนั้น r4 = 1 และ 4θ = 0 2k+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = k0 + 2π เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

ฉะนั้น k kz (cos + isin )2 2π π

= เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = (cos 0 + isin 0) = 1 เมื่อ k = 1 จะได z2 = (cos + isin )

2 2π π = i

เมื่อ k = 2 จะได z3 = (cos + isin )π π = -1เมื่อ k = 3 จะได z4 = 3 3(cos + isin )

2 2π π = - i

แสดงแผนภาพไดดังนี้

รากที่ 5 ของ 1ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 5 ของ 1

X

Y

1 Z1Z3

Z4

Z2

Y

XZ2 Z11

Page 54: Add m5-2-chapter1

58

ดังนั้น z5 = 1 = 1 (cos0 + isin0)

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r5 ( )cos5θ + isin5θ = (cos0 + isin0)

ดังนั้น r5 = 1 และ 5θ = 0 2k+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = 2k0 + 5π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

ฉะนั้น 5k 5kz (cos + isin )2 2π π

= เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = (cos 0 + isin 0) = 1 เมื่อ k = 1 จะได z2 = 2 2(cos + isin )

5 5π π

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 4 4(cos + isin )5 5π π

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 6 6(cos + isin )5 5π π

เมื่อ k = 4 จะได z5 = 8 8(cos + isin )5 5π π

แสดงแผนภาพไดดังนี้

รากที่ 6 ของ 1 ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 6 ของ 1ดังนั้น z6 = 1 = 1(cos0 + isin0)

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r6 ( )cos6θ + isin6θ = (cos0 + isin0)

ดังนั้น r6 = 1 และ 6θ = 0 2k+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = k0 + 3π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5∈

ฉะนั้น k kz (cos + isin )3 3π π

= เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = (cos 0 + isin 0) = 1

1 X

Y

Z1

Z2Z3

Z4Z5

Page 55: Add m5-2-chapter1

59

เมื่อ k = 1 จะได z2 = (cos + isin )3 3π π = 1 3 i

2 2+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 2 2(cos + isin )3 3π π = 1 3 i

2 2− +

เมื่อ k = 3 จะได z4 = (cos + isin )π π = -1เมื่อ k = 4 จะได z5 = 4 4(cos + isin )

3 3π π = 1 3 i

2 2− −

เมื่อ k = 5 จะได z6 = 5 5(cos + isin )3 3π π = 1 3 i

2 2−

แสดงแผนภาพไดดังนี้

รากที่ 8 ของ 1ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 8 ของ 1ดังนั้น z8 = 1 = 1 (cos0 + isin0)

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r8 ( )cos8θ + isin8θ = (cos0 + isin0)

ดังนั้น r8 = 1 และ 8θ = 0 2k+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = k0 + 4π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

ฉะนั้น k kz (cos + isin )4 4π π

= เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = (cos 0 + isin 0) = 1เมื่อ k = 1 จะได z2 = (cos + isin )

4 4π π = 2 2 i

2 2+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = (cos + isin )2 2π π = i

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 3 3(cos + isin )4 4π π = 2 2 i

2 2− +

เมื่อ k = 4 จะได z5 = (cos + isin )π π = - 1

1 X

Y

Z1

Z2Z3

Z5 Z6

Z4

Page 56: Add m5-2-chapter1

60

เมื่อ k = 5 จะได z6 = 5 5(cos + isin )4 4π π = 2 2 i

2 2− −

เมื่อ k = 6 จะได z7 = 3 3(cos + isin )2 2π π = - i

เมื่อ k = 7 จะได z8 = 7 7(cos + isin )4 4π π = 2 2 i

2 2−

แสดงแผนภาพไดดังนี้

รากที่ 2 ของ iให a + bi เปนจํานวนเชิงซอนซึ่งเปนรากที่ 2 ของ iดังนั้น i = (a + bi)2 = (a2 – b2) + 2abiจะได a2 – b2 = 0 กับ 2ab = 1

(a2 + b2)2 = (a2 – b2)2 + (2ab)2 = 0 + 1 = 1 หรือ a2 + b2 = 1จาก a2 – b2 = 0 และ a2 + b2 = 1จะได 2a2 = 1 และ 2b2 = 1

a = 22

และ b = 22

แตเพราะ 2ab = 1 ทําใหได i = 2 2i( )2 2

± +

แสดงแผนภาพไดดังนี้

1 X

Y

Z1

Z2

Z3Z4

Z5

Z6 Z7Z8

2 2 i2 2

− −

2 2 i2 2

+1

X

Y

Page 57: Add m5-2-chapter1

61

รากที่ 4 ของ iให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 4 ของ iดังนั้น z4 = i = π π1(cos + isin )

2 2โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r4 ( )cos4θ + isin4θ = π πcos + isin

2 2ดังนั้น r4 = 1 และ 4θ = 2k

2π+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = k8 2π π+ เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

ฉะนั้น k kz cos( ) i sin( )8 2 8 2π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = cos + isin 8 8π π

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 5 5cos + isin 8 8π π

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 9 9cos + isin 8 8π π

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 13 13cos + isin 8 8π π

แสดงแผนภาพไดดังนี้

รากที่ 5 ของ iให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 5 ของ iดังนั้น z5 = i = π πcos + isin

2 2โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r5 ( )cos5θ + isin5θ = π πcos + isin

2 2ดังนั้น r5 = 1 และ 5θ = 2k

2π+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

Y

1 XZ1

Z2

Z3

Z4

Page 58: Add m5-2-chapter1

62

จึงไดวา r = 1 และ θ = 2k10 5π π+ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

ฉะนั้น 2k 2kz cos( ) i sin( )10 5 10 5π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = cos + isin 10 10π π

เมื่อ k = 1 จะได z2 = π πcos + isin2 2

= iเมื่อ k = 2 จะได z3 = 9 9cos + isin

10 10π π

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 13 13cos + isin 10 10π π

เมื่อ k = 4 จะได z5 = 17 17cos + isin 10 10π π

แสดงแผนภาพไดดังนี้

รากที่ 6 ของ iให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 6 ของ iดังนั้น z6 = i = π πcos + isin

2 2โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r6 ( )cos6θ + isin6θ = π πcos + isin

2 2

ดังนั้น r6 = 1 และ 6θ = 2k2π+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = k12 3π π+ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5∈

ฉะนั้น k kz cos( ) i sin( )12 3 12 3π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = cos + isin 12 12π π

1 X

Y

Z1

Z2

Z3

Z4 Z5

Page 59: Add m5-2-chapter1

63

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 5 5cos + isin 12 12π π

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 3 3cos + isin 4 4π π

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 13 13cos + isin 12 12π π

เมื่อ k = 4 จะได z5 = 17 17cos + isin 12 12π π

เมื่อ k = 5 จะได z6 = 21 21cos + isin 12 12π π

แสดงแผนภาพไดดังนี้

รากที่ 8 ของ iให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 8 ของ iดังนั้น z8 = i = π πcos + isin

2 2โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r8 ( )cos8θ + isin8θ = π πcos + isin

2 2

ดังนั้น r8 = 1 และ 8θ = 2k2π+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = k16 4π π+ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

ฉะนั้น k kz cos( ) i sin( )16 4 16 4π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = cos + isin 16 16π π

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 5 5cos + isin 16 16π π

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 9 9cos + isin 16 16π π

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 13 13cos + isin 16 16π π

1 X

Y

Z1

Z2Z3

Z4

Z5Z6

Page 60: Add m5-2-chapter1

64

เมื่อ k = 4 จะได z5 = 17 17cos + isin 16 16π π

เมื่อ k = 5 จะได z6 = 21 21cos + isin 16 16π π

เมื่อ k = 6 จะได z7 = 25 25cos + isin 16 16π π

เมื่อ k = 7 จะได z8 = 29 29cos + isin 16 16π π

แสดงแผนภาพไดดังนี้

3.14(2 2 3i)+

ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 4 ของ 2 2 3i+

ดังนั้น z4 = 2 2 3i+ = π π4 (cos + isin )3 3

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r4 ( )cos4θ + isin4θ = π π4 (cos + isin )

3 3

ดังนั้น r4 = 4 และ 4θ = 2k3π+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

จึงไดวา r = 2 และ θ = k12 2π π+ เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

ฉะนั้น k kz 2 cos( ) i sin( )12 2 12 2π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = π π2 (cos + isin )12 12

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 7π 7π2 (cos + isin )12 12

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 13π 13π2 (cos + isin )12 12

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 19π 19π2 (cos + isin )12 12

X

Y

1 Z1

Z2Z3

Z4

Z5

Z6 Z7

Z8

Page 61: Add m5-2-chapter1

65

4. 5 2 2 3i−

ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 5 ของ 2 2 3i−

ดังนั้น z5 = 2 2 3i− = 5π 5π4 (cos + isin )3 3

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r5 ( )cos5θ + isin5θ = 5π 5π4 (cos + isin )

3 3

ดังนั้น r5 = 4 และ 5θ = 5 2k3π+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

จึงไดวา r = 5 4 และ θ = 2k3 5π π+ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

ฉะนั้น 5 2k 2kz 4 cos( ) i sin( )3 5 3 5π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 5 π π4 (cos + isin )3 3

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 5 11π 11π4 (cos + isin )15 15

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 5 17π 17π4 (cos + isin )15 15

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 5 23π 23π4 (cos + isin )15 15

เมื่อ k = 4 จะได z5 = 5 29π 29π4 (cos + isin )15 15

5. (1) z4 = 1 3i+

z = 4 1 3i+

ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 4 ของ 1 3i+

ดังนั้น z4 = 1 3i+ = π π2 (cos + isin )3 3

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r4 ( )cos4θ + isin4θ = π π2 (cos + isin )

3 3

ดังนั้น r4 = 2 และ 4θ = 2k3π+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

จึงไดวา r = 4 2 และ θ = k12 2π π+ เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

ฉะนั้น 4 k kz 2 cos( ) i sin( )12 2 12 2π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2,3∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 4 π π2 (cos + isin )12 12

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 4 7π 7π2 (cos + isin )12 12

Page 62: Add m5-2-chapter1

66

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 4 13π 13π2 (cos + isin )12 12

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 4 19π 19π2 (cos + isin )12 12

(2) z5 + i = 0 z5 = – i

ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 5 ของ - iดังนั้น z5 = - i = 3π 3π1(cos + isin )

2 2โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r5 ( )cos5θ + isin5θ = 3π 3πcos + isin

2 2

ดังนั้น r5 = 1 และ 5θ = 3 2k2π+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = 3 2k10 5π π+ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

ฉะนั้น 3 2k 3 2kz cos( ) i sin( )10 5 10 5π π π π⎡ ⎤= + + +⎢ ⎥⎣ ⎦

เมื่อ { }k 0,1,2,3,4∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 3 3cos + isin 10 10π π

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 7 7cos + isin 10 10π π

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 11 11cos + isin 10 10π π

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 3 3cos + isin 2 2π π = i

เมื่อ k = 4 จะได z5 = 19 19cos + isin 10 10π π

(3) z7 – 1 = 0z7 = 1

ให z = r(cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 7 ของ 1ดังนั้น z7 = 1 = 1(cos 0 + isin 0)โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r7 ( )cos7θ + isin7θ = cos 0 + isin 0ดังนั้น r7 = 1 และ 7θ = 0 + 2kπ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6∈

Page 63: Add m5-2-chapter1

67

จึงไดวา r = 1 และ θ = 2k7π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6∈

ฉะนั้น 2k 2kz cos i sin7 7π π

= + เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = cos 0 + i sin 0 = 1เมื่อ k = 1 จะได z2 = 2 2cos( ) i sin( )

7 7π π

+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 4 4cos( ) i sin( )7 7π π

+

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 6 6cos( i sin )7 7π π+

เมื่อ k = 4 จะได z5 = 8 8cos( i sin )7 7π π+

เมื่อ k = 5 จะได z6 = 10 10cos( ) i sin( )7 7π π

+

เมื่อ k = 6 จะได z7 = 12 12cos( ) i sin( )7 7π π

+

(4) z8 + 4 + 4i = 0 z8 = –4 – 4iให z = r (cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 8 ของ –4 – 4iดังนั้น z8 = –4 – 4i = 1 14 2( i)

2 2− − = 5 54 2(cos i sin )

4 4π π+

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r8(cos 8θ + i sin 8θ) = 5 54 2(cos i sin )

4 4π π+

ดังนั้น r8 = 4 2 และ 8θ = 5 2k4π+ π เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

จึงไดวา r = 8 32 และ θ = 5 k32 4π π+ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

ฉะนั้น 8 5 k 5 kz 32 cos i sin32 4 32 4

⎡ π π π π ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞= + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎣ ⎦ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = 8 5 532(cos i sin )32 32π π+

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 8 13 1332(cos i sin )32 32π π+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 8 21 2132(cos i sin )32 32π π+

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 8 29 2932(cos i sin )32 32π π+

เมื่อ k = 4 จะได z5 = 8 37 3732(cos i sin )32 32π π+

Page 64: Add m5-2-chapter1

68

เมื่อ k = 5 จะได z6 = 8 45 4532(cos i sin )32 32π π+

เมื่อ k = 6 จะได z7 = 8 53 5332(cos i sin )32 32π π+

เมื่อ k = 7 จะได z8 = 8 61 6132(cos i sin )32 32π π+

5) z8 + 1 = 0 z8 = –1

ให z = r (cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 8 ของ –1ดังนั้น z 8 = –1 = 1(cos π + i sin π)โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r8(cos 8θ + i sin 8θ) = cos π + i sin πดังนั้น r8 = 1 และ 8θ = π + 2kπ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = k8 4π π+ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

ฉะนั้น k kz cos i sin8 4 8 4π π π π⎛ ⎞ ⎛ ⎞= + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟

⎝ ⎠ ⎝ ⎠ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = cos( ) i sin( )8 8π π

+

เมื่อ k = 1 จะได z2 = 3 3cos( ) i sin( )8 8π π

+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 5 5cos( ) i sin( )8 8π π

+

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 7 7cos( ) i sin( )8 8π π

+

เมื่อ k = 4 จะได z5 = 9 9cos( ) i sin( )8 8π π

+

เมื่อ k = 5 จะได z6 = 11 11cos( ) i sin( )8 8π π

+

เมื่อ k = 6 จะได z7 = 13 13cos( ) i sin( )8 8π π

+

เมื่อ k = 7 จะได z8 = 15 15cos( ) i sin( )8 8π π

+

6) z9 + 1 = 0z9 = –1

ให z = r (cos θ + i sin θ) เปนรากที่ 9 ของ –1ดังนั้น z9 = –1 = 1(cos π + i sin π)

Page 65: Add m5-2-chapter1

69

โดยทฤษฏีบทของเดอมัวรจะได r9(cos 9θ + i sin 9θ) = cos π + i sin πดังนั้น r9 = 1 และ 9θ = π + 2kπ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7,8∈

จึงไดวา r = 1 และ θ = 2k9 9π π+ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7,8∈

ฉะนั้น 2k 2kz cos i sin9 9 9 9π π π π⎛ ⎞ ⎛ ⎞= + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟

⎝ ⎠ ⎝ ⎠ เมื่อ { }k 0,1,2,3,4,5,6,7,8∈

เมื่อ k = 0 จะได z1 = cos( ) i sin( )9 9π π

+

เมื่อ k = 1 จะได z2 = cos( ) i sin( )3 3π π

+ = 1 3 i2 2+

เมื่อ k = 2 จะได z3 = 5 5cos( ) i sin( )9 9π π

+

เมื่อ k = 3 จะได z4 = 7 7cos( ) i sin( )9 9π π

+

เมื่อ k = 4 จะได z5 = cos( ) i sin( )π + π = –1เมื่อ k = 5 จะได z6 = 11 11cos( ) i sin( )

9 9π π

+

เมื่อ k = 6 จะได z7 = 13 13cos( ) i sin( )9 9π π

+

เมื่อ k = 7 จะได z8 = 15 15cos( ) i sin( )9 9π π

+ = 1 3 i2 2−

เมื่อ k = 8 จะได z9 = 17 17cos( ) i sin( )9 9π π

+

เฉลยแบบฝกหัด 1.7

1. (1) เซตคําตอบของสมการ 2x3 + 2x2 + x + 1 = 0 คือ 2 2{ 1, i, i}2 2

− −

(2) เซตคําตอบของสมการ 2x3 – x + 1 = 0 คือ 1 1 1 1{ 1, i, i}2 2 2 2

− + −

(3) เซตคําตอบของสมการ x4 – x3 + 7x2 – 9x – 18 = 0 คือ {–1, 2, 3i, –3i}(4) เซตคําตอบของสมการ x4 – 6x3 + 15x2 – 22x + 12 = 0 คือ

{1, 3, 1 + 3i , 1 – 3i }(5) เซตคําตอบของสมการ { 10, 10, 2i, 2i}− −

(6) เซตคําตอบของสมการ {1, –2, –3, –2 + 3i , –2 – 3i }

Page 66: Add m5-2-chapter1

70

2. ให f(x) = x5 + 9x3 – 8x2 – 72จะได f(–1 + 3i ) = (–1 + 3i )5 + 9(–1 + 3i )3 – 8(–1 + 3i )2 – 72

= –16 – 16 3i + 72 + 16 + 16 3i – 72= 0

แสดงวา –1 + 3i เปนคําตอบของ f(x) = 0จะได –1 – 3i เปนคําตอบของ f(x) = 0 ดวยแต [x – (–1 + 3i )][x – (–1 – 3i )] = x2 + 2x + 4และ x5 + 9x3 – 8x2 – 72 = 0 = (x2 + 2x + 4)(x3 – 2x2 + 9x – 18)

= (x2 + 2x + 4)(x2 + 9)(x – 2)นั่นคือ x2 + 2x + 4 = 0 หรือ x2 + 9 = 0 หรือ x – 2 = 0จาก x2 + 9 = 0จะได x = 3i หรือ x = –3iดังนั้น คําตอบที่เหลือทั้งหมดของสมการนี้คือ –1 3i− , 3i, –3i, 2

3. จากโจทย 3, –4, 3 + i เปนคําตอบของสมการ จะได 3 – i เปนคําตอบดวยดังนั้น จะได (x – 3)(x + 4)[x – (3 + i][x – (3 – i)] = 0

(x2 + x – 12)(x2 – 6x + 10) = 0 x4 – 5x3 – 8x2 + 82x – 120 = 0

k[x4 – 5x3 – 8x2 + 82x – 120] = 0 เมื่อ k ≠ 0ดังนั้น k[x4 – 5x3 – 8x2 + 82x – 120] = 0 เปนพหุนามดีกรี 4 ที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มและมี 3, –4, 3 + i และ 3 – i เปนคําตอบ

4. จากโจทย 2 2 3i− และ –4i เปนคําตอบของสมการจะได 2 2 3i+ และ 4i เปนคําตอบของสมการดวย

[x – ( 2 2 3i− )][(x – ( 2 2 3i+ )](x + 4i)(x – 4i) = 0(x2 – 4x + 16)(x2 + 16) = 0x4 – 4x3 + 32x2 – 64x + 256 = 0k(x4 – 4x3 + 32x2 – 64x + 256) = 0 เมื่อ k ≠ 0

Page 67: Add m5-2-chapter1

71

ดังนั้น จะได k(x4 – 4x3 + 32x2 – 64x + 256) = 0 เปนสมการพหุนามดีกรี 4 ที่มี2 2 3i± และ 4i± เปนคําตอบ

5. จากโจทย 23

− , 1 i− + , 3 3i+ เปนคําตอบของสมการ จะได –1 – i , 3 3i− เปนคําตอบดวยดังนั้น จะได 2(x )[x ( 1 i)][x ( 1 i)][x (3 3i)][x (3 3i)]

3+ − − + − − − − + − − = 0

2 22(x )[x 2x 2][x 6x 12]3

+ + + − + = 05 4 3 23x 10x 2x 40x 96x 48 0− − + + + =

k[ 5 4 3 23x 10x 2x 40x 96x 48− − + + + ] = 0 เมื่อ k ≠ 0ดังนั้น จะได k[ 5 4 3 23x 10x 2x 40x 96x 48− − + + + ] = 0 เปนสมการพหุนามดีกรี 5 ที่มี 2

3− , 1 i− ± , 3 3i± เปนคําตอบ

6. ให f(x) = x2 – x + (i + 1)f(i) = i2 – i + i + 1 = 0

ดังนั้น i เปนคําตอบหนึ่งของ x2 – x + (i + i)f(–i) = (–i)2 – (–i) + i + 1 = –1 + i + i + 1 = 2i

ดังนั้น – i ไมเปนคําตอบหนึ่งของ x2 – x + (i + 1)สมการพหุนาม x2 – x + (i + 1) มี i เปนคําตอบ แต – i ไมใชคําตอบ ผลนี้ไมขัดกับทฤษฎีที่กลาวไว เพราะสมการพหุนาม x2 – x+ (i + 1) มีสัมประสิทธิ์ไมเปนจํานวนจริงทุกจํานวน เพราะ (i + 1) ไมใชจํานวนจริง

7. (1) จากโจทย –3, –1, 4 เปนคําตอบของ P(x)P(x) = (x + 3)(x + 1)(x – 4)

= x3 – 13x – 12จะได P(x) = a(x3 – 13x – 12) , a เปนคาคงที่ที่ไมเทากับศูนย P(2) = a(23 – 13(2) – 12) = 5

–30 a = 5

Page 68: Add m5-2-chapter1

72

a = 16

ดังนั้น P(x) = – 31 (x 13x 12)6

− − สอดคลองกับเงื่อนไขขางตน

(2) จากโจทย 2, 5, –3 เปนคําตอบของ P(x)P(x) = (x – 2)(x – 5)(x + 3)

= x3 – 4x2 – 11x + 30จะได P(x) = a(x3 – 4x2 – 11x + 30) , a เปนคงคาที่ที่ไมเทากับศูนย P(1) = a(1 – 4 – 11 + 30) = –4

16 a = –4 a = 1

4−

ดังนั้น P(x) = 3 21 (x 4x 11x 30)4

− − − + สอดคลองกับเงื่อนไขขางตน

8. (1) ดีกรีต่ําสุด คือ 4(2) ดีกรีต่ําสุด คือ 2(3) ดีกรีต่ําสุด คือ 4(4) ดีกรีต่ําสุด คือ 6

9. ให P(x) = x4 – 2x3 – 7x2 + 28x + 52จาก (x + 2)2 = x2 + 4x + 4จะได P(x) = (x2 – 6x + 13)(x2 + 4x + 4)แสดงวา –2 เปนคําตอบซ้ํา 2 ครั้งของ P(x)ดังนั้น คําตอบที่เหลืออีก 2 คําตอบ คือ คําตอบของพหุนามดีกรีสอง x2 – 6x + 13โดยที่ x2 – 6x + 13 = [x – (3 + 2i)][x – (3 – 2i)]ดังนั้น คําตอบที่เหลือของ P(x) คือ 3 + 2i, 3 – 2i

10. ให P(x) = x5 + 9x4 + 33x3 + 55x2 + 42x + 12จาก (x + 1)3 = x3 + 3x2 + 3x + 1จะได P(x) = (x3 + 3x2 + 3x + 1)(x2 + 6x + 12)แสดงวา –1 เปนคําตอบซ้ํา 3 ครั้งของ P(x)

Page 69: Add m5-2-chapter1

73

ดังนั้น คําตอบที่เหลืออีก 2 คําตอบ คือ คําตอบของพหุนามดีกรีสอง x2 + 6x + 12โดยที่ x2 + 6x + 12 = [x – (–3 + 3i )][x – (–3 – 3i )]ดังนั้น คําตอบที่เหลือของ P(x) คือ –3 + 3i , –3 – 3i

11. จากโจทย 1 + i เปนคําตอบของสมการ จะได 1 – i เปนคําตอบดวยแต (x – (1 + i))(x – (1 – i)) = x2 – 2x + 2และ x4 – 7x3 + 18x2 – 22x + 12 = (x2 – 2x + 2)(x2 – 5x + 6)ดังนั้น คําตอบที่เหลือคือคําตอบของพหุนามดีกรีสอง x2 – 5x + 6โดยที่ x2 – 5x + 6 = (x – 3)(x – 2)ดังนั้น คําตอบทั้งหมดของสมการพหุนามนี้ คือ 2, 3, 1 – i, 1 + i