Top Banner
สารละลายอิเล็กโตรไลต สารละลายอิเล็กโตรไลต คือ สารที่ละลายน้ํา หรือสารที่หลอมเหลวแลว สามารถนําไฟฟา ได เชน NaCl, KNO 3 และ HCl ดังนั้น สารทีไม นําไฟฟา จึงไมเปน อิเล็กโตรไลต เชน น้ําตาล และ ยูเรีย
33

Acid base1

Apr 22, 2015

Download

Documents

Benny BC

 
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Acid base1

สารละลายอิเล็กโตรไลต

สารละลายอิเล็กโตรไลต คือ สารที่ละลายน้ํา

หรือสารที่หลอมเหลวแลว สามารถนําไฟฟา

ได เชน NaCl, KNO3 และ HCl

ดังนั้น สารที่ไมนําไฟฟา จึงไมเปน

อิเล็กโตรไลต เชน น้ําตาล และ ยูเรีย

Page 2: Acid base1

ตัวอยางสารละลายอิเล็กโตรไลต1) อิเล็กโตรไลตแก

กรด HCl HBrO3 HIO3 HClO4 HNO3 H2SO4

เกลือ เกลือสวนมาก

เบส LiOH NaOH Ba(OH)2 Ca(OH)2 Sr(OH)2

Page 3: Acid base1

2) อิเล็กโตรไลตออน

กรด HClO H2S HF H3PO4 H2CO3 HNO2

H2SO3

เบส NH3 และเบสอินทรีย

เกลือ เกลือเฮไลด ไซยาไนด และไทโอไซยาเนต

ของ Zn Cd และ Hg(II)

Page 4: Acid base1

1. นิยามของกรดและเบส

1.1 นิยามของอารเรเนียส

1.2 นิยามของบรอนสเตด-เสารี

1.3 นิยามของลิวอิส

1.4 นิยามระบบตัวทําละลาย

Presenter
Presentation Notes
กรดและเบสมีวิวัฒนาการโดยเริ่มจาก (1) ,(2)ม (3) และ (4) พบว่านิยามเหล่านี้มีความถูกต้องและใช้กันอยู่ในปัจจุบัน การเลือกใช้นิยามขึ้นอยู่กับสภาวการณ์ที่เหมาะสมกับนิยามนั้นๆ การศึกษาในระดับนี้ใช้น้ำเป็นตัวทำละลายมากที่สุด ดังนั้นจึงใช้ (2) มากที่สุด
Page 5: Acid base1

1.1 นิยามของอารเรเนียส

กรด คอื สารที่ละลายน้ํา แลว แตก

ตัวให H+ เชน

HCl H+ + Cl-

H2SO4 H+ + HSO4-

HCO3- H+ + CO3

2-

Page 6: Acid base1

เบส คือ สารที่ ละลายน้ํา แลวแตกตัวให

OH- เชน

NaOH Na+ + OH-

Ba(OH)2 Ba2+ + 2OH-

Ca(OH)2 Ca2+ + 2OH-

Page 7: Acid base1

กรดแก คอื กรดที่แตกตัวให H+ มาก

กรดออน คือ กรดที่แตกตัวให H+ นอย

เบสแก คอื เบสที่แตกตัวให OH- มาก

เบสออน คือ เบสที่แตกตัวให OH- นอย

ความแรงของกรดและเบส

Page 8: Acid base1

ปฏิกิริยาสะเทินของกรดและเบส

จะเปนปฏิกิริยาระหวาง H+ และ

OH- เกิดเปน น้ํา

Page 9: Acid base1

H+ + OH- H2O(l)

HCl + NaOH NaCl + H2O

กรด + เบส เกลือ + น้ํา

Page 10: Acid base1

ขอจํากัดของนิยามอารเรเนียส สารที่จะเปนกรดหรือเบสตองละลายนํ้าเทาน้ัน

สารที่ไมมี H+ หรือ OH- ในโมเลกุลไมจัดวาเปนกรด

หรือเบส เชน NH4Cl NH3 CH3COONa H+ จะอยูในรูป hydrate ion เสมอ เขียนแทนดวย H3O

+

เรียกวา ไฮโดรเนียมไอออน หรือ ไฮดรอกโซเนียมไอออน

Page 11: Acid base1

1.2 นิยามของบรอนสเตด-เลารี

กรด คอื สารที่ ให H+

เบส คือ สารที่ รับ H+

Page 12: Acid base1

ปฏิกิริยาระหวางกรดและเบส

เปนการเคลื่อนยายโปรตอนจาก

กรดไปยังเบส

Page 13: Acid base1

HCl(aq)+H2O(l) H3O+(aq) +Cl-(aq)

กรด1 เบส2 กรด2 เบส1

HCl และ Cl- เปน คูกรด-เบส คูที่ 1(conjugate acid-base)

H3O+ และ H2O เปน คูกรด-เบส คูที่ 2 (conjugate acid-base)

โดย

Cl- เปนคูเบส (conjugate base) ของกรด HCl

HCl เปนคูกรด (conjugate acid) ของ Cl-

และ

Page 14: Acid base1

CO32- + H2O OH- + HCO3

-

เบส1 กรด2กรด2 เบส2

NH3 + H2O NH4+ + OH-

เบส1 กรด2กรด2 เบส2

Page 15: Acid base1

H2O เปนไดทั้งกรดและเบส

สารที่เปนฝายใหและรับ H+ เรียกวา

แอมฟโปรติก (amphiprotic)

Page 16: Acid base1

ข้ึนอยูกับความสามารถในการใหและรับ H+

ความแรงของกรดและเบส

กรดแก คือ กรดที่ให H+ มาก

กรดออน คือ กรดที่ให H+ นอย

เบสแก คือ เบสที่รับ H+ มาก

เบสออน คือ เบสที่รับ H+ นอย

Page 17: Acid base1

ขอสังเกต1. สําหรับคูกรด-เบสคูหน่ึง ถากรดเปนกรดแก คูเบสจะเปน

เบสออน เชน HCl เปน กรดแก Cl- เปน เบสออน

NH3 เปน เบสออน NH4+ เปน กรดแก

2. กรดหรือเบสอาจเปนโมเลกุลหรือไอออนก็ได

3. โมเลกุลของนํ้าอาจเปนฝายใหหรือรับ H+ ก็ได

น่ันคือ นํ้าเปนแอมฟโปรติกหรือแอมโฟเทอริก

Page 18: Acid base1

คาคงที่ของสมดุล สมดุลของกรด

HA(aq)+H2O(l) H3O+(aq)+ A-(aq)

ถามี กรด HA ชนิดหน่ึง ซึ่งมีการแตกตัวดังสมการ

จะมีคาสมดุลดังน้ี

Ka = [H3O+][A-]

[HA]

เมื่อ Ka เปนคาคงทีข่องการแตกตัวของกรด

Page 19: Acid base1

สมดุลของเบส

B(aq) + H2O(l) BH+(aq) + OH-(aq)

ถามีเบส B ชนิดหน่ึง ซึ่งมีการแตกตัวดังสมการ

จะมีคาสมดุลดังน้ี

Kb = [BH+][OH-]

[B]

เมื่อ Kb เปนคาคงที่ของการแตกตัวของเบส

Page 20: Acid base1

ตัวอยางที่ 1 จงแสดงวาจากปฏิกิริยาตอไปน้ี สารใดเปนเบส

และกรดตามทฤษฎีบรอนสเตด-เลารี

KNH2+NH4Cl KCl+2NH3

จากสมการขางตนสามารถเขียนใหมในรูปสมการไอออนิก :

NH2- + NH4

+ 2NH3

เบส กรด

Page 21: Acid base1

ตัวอยางที่ 2 สารตอไปน้ี สารใดเปน กรดหรือเบสตามนิยาม

บรอนสเตด-เลารี

ก. HI ข. HNO2 ค. NH4+ ง. NH2

- จ. HCO3-

ก. HI เปน กรด

ข. HNO2 เปน กรด

ค. NH4+ เปน กรด

ง. NH2- เปน เบส

จ. HCO3- เปน กรดและเบส

Page 22: Acid base1

1.3 นิยามของลิวอิส

กรด คือ สารที่รับคู e- จากเบสได แลวเกิดพันธะโคเวเลนต

เบส คือ สารที่ใหคู e- ในการเกิดพันธะโคเวเลนต

H+ + :O-H - H-O-H....

..

..

H

H-N: + B-F H-N B-F

H

H

H

F

F

F

Fเบส กรด

Page 23: Acid base1

ส.ป.ก. ที่ธาตุมี V. e- < 8 หรือมีออรบิตอลวาง เชน BF3

AlCl3 จัดเปน กรดลิวอิส และเรียกธาตุน้ัน วา อิเล็กโตรไฟล

(Electrophile)

ส.ป.ก.หรือไอออนที่มีคู e- โดดเดีย่ว จัดเปน เบสลิวอิส

และเรียกอะตอมน้ันวา donor atom หรือนิวคลีโอไฟล

(Nucleophile) เชน O ใน OH-

N ใน NH3

Page 24: Acid base1

ในปฏิกิริยาสะเทินระหวางโลหะออกไซด เชน

:O:2- + S-O: :O S-O:..

....

..

O:

:O:

..

..

O:

:O:

..

..

2-

Page 25: Acid base1

ตัวอยางท่ี 3 สารตอไปน้ีสารใดเปนกรดตามนิยามของลิวอิส

NH4+ CH3

+ BCl3 Fe2+ H2S

ตอบ CH3+ BCl3 Fe2+

Page 26: Acid base1

1.4 นิยามระบบตวัทําละลายกรด คือ สารที่ใหไอออนบวกของตัวทําละลาย (ไอออนกรด)

เบส คือ สารที่ใหไอออนลบของตัวทําละลาย (ไอออนเบส)

กรด HCl ในตัวทําละลาย HC2H3O2:

HCl + HC2H3O2 H2C2H3O2+ + Cl-

กรด ตัวทําละลาย ไอออนกรดของ

ตัวทําละลาย

Page 27: Acid base1

NaC2H3O2 ในตัวทําละลาย HC2H3O2 :

NaC2H3O2+ HC2H3O2 C2H3O2-+ Na+ + HC2H3O2

เมื่อกรดและเบสทําปฏกิิริยากันใน HC2H3O2 :

H2C2H3O2+ + C2H3O2

- 2 HC2H3O2

Page 28: Acid base1

ตัวอยางตัวทําละลายที่ใชในระบบตัว

ทําละลาย เชน H2O NH3 HC2H3O2

SO2 เปนตน

Page 29: Acid base1

2. ปจจัยที่มีผลตอความแรงของกรดและเบส

กรดไฮโดร

- คาบเดียวกัน

ความแรง Z EN

เชน NH3> H2O> HF- หมูเดียวกัน

ความแรง Z

HF<HCl<HBr<HI

H2O<H2S<H2Se<H2Te

เชน

Page 30: Acid base1

กรดออกซี (H-O-Z) ความแรง ENZ

ถาเปนกรดออกซีของอโลหะตัวเดียวกัน :

ความแรง จํานวน O-atom Oxidation number

HClO<HClO2<HClO3<HClO4

Page 31: Acid base1

เบส- คาบเดียวกัน

ความแรง EN

เชน NH3 > H2O > HF

NH2- > OH-> F-

ความแรง จํานวนประจุ

เชน N3- > O2- > F-

N3- > NH2- > NH2- > NH3

Page 32: Acid base1

Leveling effectเปนปรากฏการณที่ตัวทําละลายบดบังความแรงของ

กรดและเบสตางๆ

HCl + H2O H3O+ + Cl-

HNO3 + H2O H3O+ + NO3

-

HClO4 + H2O H3O+ + ClO4

-

กรดในนํ้า :

Page 33: Acid base1

นั่นคือ เกิด leveling effect ของ น้ํา

น้ํา เปน leveling solvent