Top Banner
บทที3 การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3.1 กระดาษที่ใช้ กระดาษที่ใชพิมพโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจหรือทําสําเนาโครงงานตองเปนกระดาษปอนดขาว พิเศษ ไมมีเสนบรรทัดขนาดมาตรฐาน A4 นํ้าหนัก 80 กรัมตอตารางเมตร ใชพิมพเพียงหนาเดียวเทานั้น ตลอดทั้งเลม 3.2**การวางรูปหน้ากระดาษพิมพ์ การเวนขอบระยะหางจากริมกระดาษใหเวนระยะหางดังนี3.2.1*หัวกระดาษใหเวน 3.81 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว) ยกเวนหนาที่ขึ้นบทใหมของแตละบทใหเวน 5.08 เซนติเมตร (2 นิ้ว) 3.2.2*ขอบลางและขอบขวามือ ใหเวน 2.54 เซนติเมตร (1 นิ้ว) 3.2.3*ขอบซายมือ ใหเวน 3.81 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว) 3.3**การพิมพ์ 3.3.1*ขนาดและแบบตัวพิมพ ใชตัวพิมพ (Font) ชื่อ TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 พอยต สําหรับตัวอักษร ธรรมดาที่เปนตัวพื้นของการพิมพตลอดทั้งเลม และใหใชขนาดตัวอักษร 16 พอยต ตัวหนา (Bold) เมื่อใช พิมพหัวขอ สําคัญ โดยใชหมึกพิมพสีดําตลอดทั้งเลม 3.3.2* การเวนระยะระหวางบรรทัดใหเปนแบบเดียวกันตลอดทั้งเลม บรรทัดระหวางหัวขอ สําคัญใหเวน 1 บรรทัด 3.3.3*การยอหนา ใหเวนระยะจากกรอบพิมพดานซายมือ 1 เซนติเมตร (0.39 นิ้ว) 3.3.4*การขึ้นบรรทัดใหม เมื่อพิมพคําสุดทายไมจบในบรรทัดนั้น ๆ ใหยกคํานั้นไปพิมพในบรรทัด ต่อไปทั้งคํา ไมควรตัดสวนทายของคําไปพิมพในบรรทัดใหม 3.3.4.1 การตัดคําที่ไมถูกตอง ในปจจุบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสมีสวนสําคัญในการพัฒนาดานตาง ๆ โดย เฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาอุตสาหกรรมดานการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมตองอาศัยวงจรอิเล็กทรอนิกส เปนตัวควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกล หรือควบคุมระบบจายกระแสไฟฟาใหกับมอเตอร ซึ่งการ ควบคุมมอเตอร ดวยวงจรอิเล็กทรอนิกส์นี้เปนระบบใหมที่ตองใชอุปกรณสารกึ่งตัวนําเปนตัวควบคุม
18

การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

Oct 21, 2019

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

บทท่ี 3 การพิมพโ์ครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

3.1 กระดาษท่ีใช้

กระดาษที่ใชพิมพโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจหรือทําสําเนาโครงงานตองเปนกระดาษปอนดขาวพิเศษ ไมมีเสนบรรทัดขนาดมาตรฐาน A4 นํ้าหนัก 80 กรัมตอตารางเมตร ใชพิมพเพียงหนาเดียวเทานั้นตลอดทั้งเลม

3.2**การวางรูปหน้ากระดาษพิมพ์

การเวนขอบระยะหางจากริมกระดาษใหเวนระยะหางดังนี้ 3.2.1*หัวกระดาษใหเวน 3.81 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว) ยกเวนหนาที่ข้ึนบทใหมของแตละบทใหเวน

5.08 เซนติเมตร (2 นิ้ว) 3.2.2*ขอบลางและขอบขวามือ ใหเวน 2.54 เซนติเมตร (1 นิ้ว) 3.2.3*ขอบซายมือ ใหเวน 3.81 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว)

3.3**การพิมพ์ 3.3.1*ขนาดและแบบตัวพิมพ ใชตัวพิมพ (Font) ชื่อ TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 พอยต สําหรับตัวอักษร

ธรรมดาที่เปนตัวพ้ืนของการพิมพตลอดทั้งเลม และใหใชขนาดตัวอักษร 16 พอยต ตัวหนา (Bold) เมื่อใชพิมพหัวขอ สําคัญ โดยใชหมึกพิมพสีดําตลอดทั้งเลม

3.3.2*การเวนระยะระหวางบรรทัดใหเปนแบบเดียวกันตลอดทั้งเลม บรรทัดระหวางหัวขอ สําคัญใหเวน 1 บรรทัด

3.3.3*การยอหนา ใหเวนระยะจากกรอบพิมพดานซายมือ 1 เซนติเมตร (0.39 นิ้ว) 3.3.4*การข้ึนบรรทัดใหม เมื่อพิมพคําสุดทายไมจบในบรรทัดนั้น ๆ ใหยกคํานั้นไปพิมพในบรรทัด

ต่อไปทั้งคํา ไมควรตัดสวนทายของคําไปพิมพในบรรทัดใหม

3.3.4.1 การตัดคําที่ไมถูกตอง

ในปจจุบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสมีสวนสําคัญในการพัฒนาดานตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาอุตสาหกรรมดานการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมตองอาศัยวงจรอิเล็กทรอนิกส เปนตัวควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกล หรือควบคุมระบบจายกระแสไฟฟาใหกับมอเตอร ซึ่งการควบคุมมอเตอร ดวยวงจรอิเล็กทรอนิกส์นี้เปนระบบใหมที่ตองใชอุปกรณสารกึ่งตัวนําเปนตัวควบคุม

Page 2: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-2

3.3.4.2 การตัดคําที่ถูกตอง ในปจจุบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสมีสวนสําคัญในการพัฒนาดานตาง ๆ โดย

เฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาอุตสาหกรรมดานการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมตองอาศัยวงจรอิเล็กทรอนิกส เปนตัวควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกล หรือควบคุมระบบจายกระแสไฟฟาใหกับมอเตอร ซึ่งการควบคุมมอเตอรดวยวงจรอิเล็กทรอนิกสนี้เปนระบบใหมที่ตองใชอุปกรณสารกึ่งตัวนําเปนตัวควบคุม

3.3.5 การข้ึนหนาใหม 3.3.5.1 ถาพิมพมาถึงบรรทัดสุดทายของหนากระดาษ ใหเวนขอบลางประมาณ 2.54

เซนติเมตร (1 นิ้ว) 3.3.5.2 หากมีขอความเหลืออีกเพียงบรรทัดเดียว ก็จะจบยอหนาเดิมใหพิมพตอไปใน

หนาเดิมจนจบแลวจึงขึ้นยอหนาใหมในหนาถัดไป 3.3.5.3*หากมีเนื้อที่เหลือใหพิมพได อีกเพียงบรรทัดเดียวในหนานั้นแลวจะขึ้นยอหน้าใหม

ใหยกยอหนานั้นไปตั้งตนพิมพในหนาถัดไป 3.3.6 โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่เปนภาษาไทย คําที่เปนภาษาตางประเทศใหพิมพเปนภาษา

ไทย และวงเล็บภาษาตางประเทศ สวนคําศัพทภาษาตางประเทศที่ไดมีการบัญญัติศัพทไวแลวโดย ราชบัณฑิตยสถาน ใหพิจารณาใชตามความเหมาะสม ดังตัวอยาง

จากขอความดังกลาว แมพิมพซึ่งเปนสวนหนึ่งของอุตสาหกรรมวิศวการนั้นมีสวนที่จะชวยเศรษฐกิจของประเทศไดเปนอยางดี แมพิมพเหลานี้ไดแก โปรเกรสซีฟว ดายส (Progressive Dies) และคอมบิเนชั่น ดายส 3.4 การลําดับหน้าและการพิมพ์เลขหน้า 3.4.1*การลําดับหนาในสวนนําเรื่อง ใหใชตัวอักษรเรียงตามลําดับพยัญชนะในภาษาไทย ก, ข, ค, . . .สําหรับโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจภาษาไทย และใชเลขโรมันตัวเล็กคือ i, ii, iii, iv, . . . สําหรับโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจภาษาอังกฤษหรือภาษาตางประเทศอ่ืน โดยพิมพลําดับหนาไวกลาง หนากระดาษดานล่างห่างจากขอบกระดาษขึ้นมา 1.27 เซนติเมตร (0.5 นิ้ว) โดยเริ่มนับจากหนาปกใน แตจะไมพิมพลําดับหนาในหนาปกใน ใหเริ่มพิมพลํ าดับหนาจากหนาบทคัดยอเปนตนไป

3.4.2 การลําดับหนาในสวนเนื้อหาและสวนอางอิง ใหใชตัวเลขอารบิค 1, 2, 3, . . . กํากับหน้าเรียงตามลําดับตลอดทั้งเลม โดยพิมพไวริมขอบขวาของกรอบกระดาษหางจากขอบบนและขอบขวามือของกระดาษ

Page 3: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-3

3.5** การพิมพ์บทที่ หัวข้อสําคัญ และหัวข้อย่อย 3.5.1*บท (Chapters) เมื่อขึ้นบทใหมใหขึ้นหนาใหมเสมอและมีเลขประจําบท โดยให้ใช้เลข

อารบิคเท่านั้น ใหพิมพคําวา "บทที่" หรือ "CHAPTER" ไวตรงกลางตอนบนสุดของหนากระดาษ สวนชื่อบทใหพิมพไวตรงกลางหนากระดาษเชนกัน โดยใหพิมพบรรทัดตอไปไมตองเวนบรรทัด ชื่อบทที่ยาวเกิน 1 บรรทัด ใหแบงเปน 2-3 บรรทัดตามความเหมาะสม การพิมพบทที่และชื่อบทใหใชขนาดตัวอักษร 20 พอยต ตัวหนา (Bold) สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และใหใชขนาดตัวอักษร 14 พอยตตัวหนา (Bold) สําหรับโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจภาษาอังกฤษ

3.5.2*หัวขอสําคัญ หัวขอสําคัญในแตละบทใหพิมพชิดขอบกระดาษดานซายมือ โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจภาษาไทยใหใชขนาดตัวอักษร 16 พอยตตัวหนา (Bold) โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจภาษาอังกฤษใหใชขนาดตัวอักษร 12 พอยต์ ตัวหนา (Bold) และไมตองขีดเสนใต ใหใสตัวเลขกํากับตามบท โดยพิมพเว้นหางจากบรรทัดชื่อบท 1 บรรทัด การพิมพบรรทัดตอ ๆ ไปไมตองเวนบรรทัด โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจภาษาอังกฤษ อักษรตัวแรกของคําแรกและของทุก ๆ คําในหัวขอสําคัญๆ เหลานี้ ตองพิมพดวยอักษรตัวใหญเสมอ แตบุพบท (Preposition) สันธาน (Conjunction) และคํานําหนานาม (Article) ไมตองพิมพดวยอักษรตัวใหญ เวนแตบุพบท สันธาน และคํานําหนานามดังกลาวจะเปนคําแรกของหัวขอนั้น

3.5.3*หัวขอยอยใหพิมพยอหนาโดยเวนระยะใหตรงกับตัวอักษรตัวแรกของชื่อขอความของ หัวขอสําคัญนั้นหากหัวขอยอยมีการแบงมากกวา 3 ระดับ ใหใสตัวเลขหรือตัวอักษรภาษาไทยคือคือ ก, ข, ค, . . . สํ าหรับโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจภาษาไทย และใชอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพเล็กคือ a, b, c, . ..สําหรับโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจภาษาตางประเทศ ซึ่งอาจทําได 2 แบบ และหากใชแบบใดแบบหนึ่ง ตองใชแบบเดียวกันตลอดท้ังเลม

Page 4: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-4

แบบท่ี 1 ใชระบบตัวเลขทั้งหมด

1.1**หัวข้อสํ าคัญ (เครื่องหมาย ** หมายถึงเวน 2 ตัวอักษร) 1.1.1**หวัขอยอย

1.1.2**หัวขอยอย

1.1.2.1**หัวขอยอย

1.1.2.2**หัวขอยอย

Page 5: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-5

แบบท่ี 2 ใชตัวเลขและตัวอักษรผสมกัน 1.1**หัวข้อสํ าคัญ (เครื่องหมาย ** หมายถึงเวน 2 ตัวอักษร)

1.1.1**หัวขอยอย

1.1.2**หัวขอยอย

1.1.2.1**หัวขอยอย

1.1.2.2**หัวขอยอย

ก)**หัวขอยอย

ข)**หัวขอยอย

Page 6: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-6

3.6 การพิมพ ตาราง 3.6.1 ตารางประกอบดวยเลขที่ของตาราง ชื่อของตาราง สวนขอความและที่มาของตาราง โดย

ปกติใหพิมพอยูหนาเดียวกันทั้งหมด ซึ่งตารางอาจมีทั้งแบบแนวตั้งและแบบแนวนอนก็ได 3.6.2 ใหพิมพคําวาตารางที่ชิดริมกรอบกระดาษซายมือ ตามดวยเลขที่ของตารางตามการแบ่งบท

และชื่อตารางกํากับไวดานบนของตารางนั้น โดยเรียงลํ าดับหมายเลขตารางตามบทจาก 1 ไปจนจบบท ตารางในภาคผนวกก็ใหพิมพในลักษณะเดียวกัน ใหพิมพตัวอักษรตัวหนา (Bold) คํ าวาตารางที่และเลขที่ตาราง เชน

ตารางที่ 1-1 (อยูในบทที่ 1) ตารางที่ 2-1 (อยูในบทที่ 2) ตารางที่ ก-1 (อยูในภาคผนวก ก) หรือ TABLE 1-1 (CHAPTER 1) TABLE 2-1 (CHAPTER 2) TABLE A-1 (APPENDIX A) 3.6.3 ใหพิมพชื่อตารางตอจากเลขที่ของตารางโดยเว้นระยะห่าง 3.6.4*ตารางที่อางอิงจากแหลงอ่ืน ใหแจงที่มาไวทายตารางโดยเขียนบรรณานุกรมแหลงที่มาไวด

วยในตอนทายตาราง 3.6.5*ขนาดของตารางตองไมเกินกรอบของหนาพิมพ สําหรับตารางขนาดใหญควรยอขนาดลง

โดยใชเครื่องถายยอสวนหรือวิธีอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม แตจะตองชัดเจนและอานไดงาย สําหรับตารางที่มีขนาดใหญและไมสามารถยอขนาดได ใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการที่ปรึกษาโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

3.6.6*กรณีท่ีตารางมีความยาว หรือกวางมากจนไมสามารถบรรจุในหนากระดาษเดียวกันไดใหยอสวนหรือแยกมากกวา 1 ตาราง ใหพิมพสวนที่เหลือในหนาถัดไป โดยจะตองพิมพเลขที่ตารางและ ตามด้วยคําวาตอในวงเล็บ เชน ตารางท่ี 1-1 (ต่อ) หรือ TABLE 1-1 (CONTINUED) เปนตน 3.7 การพิมพ์ภาพประกอบ

3.7.1*ภาพประกอบดวย รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ 3.7.2*ภาพประกอบที่เปนภาพสี จะตองทําเปนภาพอัดสําเนาสีลงบนกระดาษปอนดขาวอยาง

ชัดเจน 3.7.3*ภาพประกอบแตละภาพตองมีเลขที่ของภาพ และชื่อหรือคําอธิบายภาพกํากับไว ใต

ภาพประกอบกลางหนากระดาษ โดยเรียงลําดับหมายเลขของภาพตามบทจาก 1 ไปจนจบบท ภาพที่ปรากฏในภาคผนวกก็ใหพิมพในลักษณะเดียวกัน ใหพิมพตัวอักษรตัวหนา (Bold) คําวาภาพที่และเลขที่

Page 7: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-7

ของภาพ เชน ภาพที่ 1-1 (อยูในบทที่ 1) ภาพที่ 2-1 (อยูในบทที่ 2) ภาพที่ ก-1 (อยูในภาคผนวก ก) หรือ FIGURE 1-1 (CHAPTER 1) FIGURE 2-1 (CHAPTER 2) FIGURE A-1 (APPENDIX A) เปนตน

3.7.4*ภาพใด ๆ ก็ตาม จะตองทําเปนภาพอัดสําเนาบนกระดาษใหชัดเจนห้ามใช้วิธีการติดภาพ 3.7.5*การพิมพภาพประกอบ ใหใชแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการพิมพตารางที่กลาวมาแลว

รายละเอียด 3.8 การพิมพ์สมการ

สมการแตละสมการตองมีเลขท่ีของสมการ โดยพิมพเรียงลําดับหมายเลขของสมการตามบท จาก 1 ไปจนจบบท สมการที่ปรากฏในภาคผนวกใหพิมพในลักษณะเดียวกัน ใหพิมพตัวอักษรธรรมดา (Normal) เชน สมการที่ 1 อยูในบทที่ 1 ใหพิมพ (1-1) สมการที่ 2 อยูในบทที่ 2 ใหพิมพ (2-2) สมการที่ 3 อยูใน ภาคผนวก ก ใหพิมพ (ก-3) หรือ Eq.1-1 (CHAPTER 1), Eq.2-2 (CHAPTER 2), Eq.A-1 (APPENDIX A) 3.9 การเขียนอ้างอิงแบบนาม - ปี

3.9.1**ใชระบบการอางอิงแบบนาม - ป ซึ่งประกอบดวยชื่อผูแตง หรือชื่อกลุมผูแตง และปที่พิมพของเอกสาร เมื่อชื่อผูแตงปรากฏในประโยคใหระบุเฉพาะปในวงเล็บเอกสารอางอิงภาษาไทย ใหขึ้นตนชื่อผูแตงดวยชื่อตนเทานั้น โดยไมตองใสชื่อสกุล เอกสารอางอิงภาษาตางประเทศ ใหขึ้นตนชื่อผูแตงดวยชื่อสกุลเทานั้นเปนภาษาอังกฤษ โดยไมตองกํากับชื่อภาษาไทยในวงเล็บ

3.9.2**การอางอิงเอกสารทุกประเภทไวในเนื้อหา ใหใสไวในวงเล็บแทรกอยูกับเนื้อหา กรณีที่มีเลขหนาเลขที่ตารางหรือเลขที่ภาพของเอกสารที่นํ ามาอางอิงใหใสเลขที่นั้นๆ ตามหลังปที่พิมพโดยคั่นดวยเครื่องหมายมหัพภาคคู (Colon) ดังตัวอยาง

คนเปนปจจัยสําคัญท่ีสุดในการบริหารเพราะคนเปนผูผลิตและผูใชปจจัยอ่ืนๆ ไมวาจะเปนเงิน วัสดุและวิธีการจัดการ (สมาน, 2523: 1 - 2)

จากการสํารวจในป พ.ศ. 2528 ปรากฏวามีโรงงานผลิตผลิตภัณฑพลาสติกในประเทศทั้งรายใหญและรายยอยอยูไมนอยกวา 2,000 ราย โรงงานสวนใหญ หรือประมาณรอยละ 46.3 ผลิต ผลิตภัณฑประเภทของใชในครัวเรือน อีกรอยละ 35 ผลิตภาชนะของบรรจุผลิตภัณฑ รวมกํ าลังผลิตทั้งสิ้น ประมาณปละ 250,000-300,000 ตัน ซึ่งคาดหมายไดวาในอนาคต อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑพลาสติกจะเจริญมากขึ้นเปนเทาตัว และจะขยายไปไดตามความตองการของผูบริโภค (กมลลักษณ

หลักสูตรประกอบดวย 3 สวน คือ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล (Tyler, 1970: 22)

Page 8: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-8

3.9.3 ถาตองการอางเอกสารที่ผูแตงไดอางถึงในงานของตน การอางเชนนี้ถือวามิไดเปนการอ้างถึงเอกสารนั้นโดยตรง ใหระบุนามผูแตงของเอกสารทั้งสองรายการ โดยระบุนามผูแตงและปที่พิมพของเอกสารอันดับแรก ตามดวยคําอางถึงใน หรือ cited in แลวระบุนามผูแตงของเอกสารอันดับรองและปที่พิมพ ดังตัวอยาง

. . . แทจริงประโยชนที่หอพระสมุดสําหรับพระนครจะทําใหแกบานเมืองได ไมใชแตรวมหนังสือเก็บไวเปนสมบัติของบานเมืองอยางเดียว ถาหากสามารถตรวจสอบหนังสืออันเปนเหตุใหเกิดวิชาความรูพิมพใหแพรหลายได ยังเปนประโยชนยิ่งขึ้นเหมือนกับแจกจายสมบัตินั้นไปใหถึงมหาชนอีกชั้นหนึ่งกรรมการจึงเห็นเปนขอสําคัญมาแตแรกตั้งหอพระสมุดสํ าหรับพระนคร ซึ่งหอพระสมุดควรเอาเปนธุระในเรื่องพิมพหนังสือดวย (สมเด็จกรมพระยาดาํรงราชานุภาพ, 2459 : 110 อางถึงใน แมนมาส, 2509)

3.9.4*การคัดลอกขอความ (Quotations) การพิมพขอความที่คัดลอกมาอางอิงโดยตรง ถาเปนข้อความสั้น ๆ ที่มีความยาวไมเกิน 3 บรรทัด ใหพิมพตอไปในเนื้อหาโดยไมตองขึ้นบรรทัดใหมใหเขียนไวในเครื่องหมายอัญประกาศ (" ") หากขอความที่คัดลอกมานั้นมีความยาวติดตอกันเกิน 3 บรรทัด ใหพิมพแยกจากเนื้อหาโดยขึ้นบรรทัดใหมไมตองใสเครื่องหมายอัญประกาศ (" ") กํ ากับ แตใหพิมพติดต่อกันไป โดยดานซายของขอความอยูในระดับเสมอยอหนา กรณีขอความที่คัดลอกมาไมไดเริ่มจากตัวแรกของยอหนา และทายขอความที่คัดลอกมาไมจบยอหนาของขอความเดิมใหใสเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) สามครั้งไวหนาและหลังขอความที่คัดลอกมา กรณีตองการละขอความสวนกลางใหใสเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) สามครั้งแทนขอความที่ละไวนั้น การพิมพเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) สามครั้ง ใหพิมพโดยเวนระยะหางชวงตัวอักษร ( . . . ) ดังตัวอยาง

3.9.4.1 ขอความที่คัดลอกมาไมเกิน 3 บรรทัด ประเทศไทยในปจจุบัน วัว และควาย นอกจากจะยังคงเปนแรงงานในฟารมสวน

ใหญอยูแลว ยังเปนแหลงโปรตีนที่สําคัญอีกดวย พิจารณาในแงอาหารสัตว " . . . สัตวประเภทนี้สามารถที่จะใช้ประโยชนจากผลิตผลในไรนา . . . ซึ่งไมมีคาทางเศรษฐกิจใหเปลี่ยนมาเปนพลังงานและเนื้อไดอยางมีประสิทธิภาพ . . . " (ณรงค : 10)

3.9.4.2*ขอความที่คัดลอกมาเกิน 3 บรรทัด ในการศึกษาเพ่ือคนควาหาความรูใหมๆ นั้น ไดมีการวิเคราะหวิจัยเพ่ือหาวิธีการ

ในการศึกษาและการถายทอดความรูสึกดวยวิธีการตางๆ ที่แตกตางกันมาแลวมากมายหลายวิธี และวิธีการทางวิทยาศาสตรก็นับเปนวิธีการหนึ่งที่สามารถชวยในการศึกษาคนควาหาความรูใหม ๆ เปนไป อยางหนาเชื่อถือไดมากกวาวิธีการอ่ืนๆ อีกหลายวิธี ดังคํากลาวของ Cohen and Hagel (1897 : 195) ซึ่งกลาวไววา. . . วิธีการอ่ืน ๆ นั้นแตกตางไปจากวิธีการทางวิทยาศาสตรที่วา วิธีการเหลานั้นไมสามารถเอ้ือตอการปรับเปลี่ยนขอผิดพลาดที่อาจเกิดข้ึนไดจากการคนพบ จึงเปนการแตกตางจากวิธีการทางวิทยา

Page 9: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-9

ศาสตรเพราะวิธีการทางวิทยาศาสตรเปนกระบวนการที่เนนการพัฒนา และชวยสงเสริม และกระตุนใหเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่องของผลลัพธที่ไดจากกระบวนการศึกษา ไมวาจะเปนไปตามสมมติฐานหรือไมก็ตาม จะ นําไปสูการคนควาใหมอยางตอเนื่องและกาวหนาตอไปไดอีกเรื่อย ๆ โดยไมหยุดยั้ง โดยอาศัย ขอคน พบกอน ๆ มาเปนขอมูลสนับสนุนอีกขั้นหนึ่ง เพ่ือใหไดขอคนพบใหม ๆ ตอไป เรื่อย ๆ . . . ดังนั้นวิธีการทางวิทยาศาสตร จึงเปนกระบวนการศึกษาหาความรูที่นาเชื่อถือไดเปนอยางยิ่ง เปรียบเสมือนแสงสวางนําทางใหกับนักวิจัยหรือนักศึกษา เพ่ือไปสูการคนพบความรูใหม่ ๆ ตอไปอยางไมหยุดยั้ง

3.9.5 ในกรณีที่ระบุชื่อผูแตงไวแลวในเนื้อหาหรือขอความนั้น การอางอิงไมตองระบุถึงชื่อ ผูแตงซํ้าอีกในวงเล็บ ใหระบุเฉพาะปที่พิมพและเลขหนาที่อางอิง (ถาม)ี ดังตัวอยาง

การคํานวณหาคาการใชประโยชนอาคารสถานที่ของการศึกษา มักจะพิจารณาจากความจุและเวลาซึ่ง Vickery (1979) ไดใหความเห็นเกี่ยวกับการใชอาคารสถานที่เรียนไววา . . .

Bernett (1953 : 55) ไดใหความหมายของ “นวกรรม” ไววา . . . นภาภรณ (2531 : 1) ไดแบงประเภทของสื่อท่ีใชในการประชาสัมพันธไว 4 ประเภทคือ . . .

ในการใชสื่อเปนเครื่องมือในการประชาสัมพันธนั้น จําเปนที่จะตองทราบถึงลักษณะและความแตกตางของสื่อแตละชนิด ซึ่งวิจิตร (2522 : 116 - 118) ไดจํ าแนกไวดังนี้ . . .

3.9.6*ถาผูวิจัยอางอิงเอกสารของผูแตงคนเดียวกัน ซึ่งไดเขียนเอกสารไวหลายเลมในปเดียวกัน ก็ใหใสตัวอักษร ก, ข, ค, . . . กํ ากับไวที่ปที่พิมพดวยสํ าหรับเอกสารอางอิงภาษาไทย และอักษร a, b, c, . . . สํ าหรับเอกสารอางอิงภาษาตางประเทศ เชน (ศักดิ์, 2512 ก) และ (ศักดิ์, 2512 ข : 12) เปนตน

3.10 การพิมพ์บรรณานุกรม (Bibliography)

หลักเกณฑการพิมพบรรณานุกรมมีขอกําหนดดังนี้ 3.10.1 การพิมพบรรณานุกรมใหอยูตอจากสวนเนื้อหา และกอนภาคผนวกใหพิมพคําวา

“บรรณานุกรม" หรือ "BIBLIOGRAPHY" กลางหนากระดาษ โดยเวนขอบกระดาษพิมพเชนเดียวกับการเริ่มบทใหม และใหเวนระยะหางจากชื่อบรรณานุกรม 1 บรรทัด จึงเริ่มพิมพบรรทัดแรกของแตละรายการของเอกสารที่ใชอางอิง

3.10.2 ใหเรียงเอกสารที่ใชอางอิงทั้งหมดไวดวยกัน โดยเรียงลําดับตามตัวอักษรตัวแรกของรายการที่อางอิง โดยยึดวิธีการเรียงลําดับตามแบบพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่เขียนดวยภาษาไทย ใหเรียงลําดับรายการบรรณานุกรมภาษาไทยไวกอน แลวจึงตามดวยรายการบรรณานุกรมภาษาอังกฤษ

3.10.3*การพิมพแตละรายการที่อางอิง ใหพิมพชิดกรอบกระดาษดานซายมือ หากมีขอความที่จะตองพิมพตอจากบรรทัดแรกใหพิมพบรรทัดตอไปโดยยอหนาเวนระยะ 1.5 เซนติเมตร (0.59 นิ้ว)

Page 10: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-10

3.10.4*กรณีการอางอิงหนังสือหลายเลมที่มีผูแตงเปนชื่อเดียวกัน ใหเขียนชื่อผูแตงเฉพาะเล่มแรกเลมตอ ๆ ไป ใหขีดเสนยาว 1.5 เซนติเมตร (0.59 นิ้ว) แลวตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) และใหเรียงลําดับงานของผูแตงคนเดียวกันตามลําดับเวลาของผลงาน หรือลําดับตัวอักษรของชื่อผลงาน

3.10.5*ถาผูแตงเปนชาวตางประเทศ ใหพิมพชื่อสกุลตามดวยชื่อตนและชื่อกลาง (ถามี) เชน Reynolds,F. E. Mullen, N. D. Red, K. P. Muttiko, M. Turabian, Kate L. เปนตน

3.10.6*ถาผูแตงเปนคนไทย ใหพิมพชื่อตนกอน แลวตามดวยนามสกุล ถาเขียนเอกสารเปน ภาษาตางประเทศใหใชนามสกุลกอนแลวตามดวยชื่อตน ในกรณีที่ผูแตงชาวไทยมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ ใหพิมพชื่อตามดวยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) และฐานันดรศักดิ์หรือบรรดาศักดิ์ ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) เชน ธรรมศักดิ์มนตรี, เจาพระยา. วิจิตรวาทการ, หลวง เปนตน

3.10.7*ชื่อหนังสือ ชื่อวารสาร ชื่อวิทยานิพนธ ฯลฯ ใหเนนขอความโดยเลือกพิมพดวยตัวหนา (Bold) หรือขีดเสนใต (Under Line) หรือตัวเอน (Italic) ตามความเหมาะสม แต่ให้เป็นแบบเดียวกันตลอดท้ังเล่ม

3.10.8**การเวนระยะในการพิมพหลังเครื่องหมายวรรคตอน มีดังนี้ หลังเครื่องหมายมหัพภาค ( . Period) เวน 2 ระยะ หลังเครื่องหมายจุลภาค ( , Comma) เวน 1 ระยะ หนาและหลังเครื่องหมายอัฒภาค ( ; Semi-colon) เวน 1 ระยะ หนาและหลังเครื่องหมายมหัพภาคคู ( : Colons) เวน 1 ระยะ

3.11*การเขียนอ้างอิงแบบตัวเลข การอางอิงแบบตัวเลขเปนการระบุแหลงที่ใชอางอิง ในการเรียบเรียงโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

เปนหมายเลขเรียงลําดับกันไป โดยใชวิธีการดังนี้ 3.11.1*ใสตัวเลขกํากับไวทายขอความ หรือชื่อบุคคลที่อางอิงดวยตัวเลขอารบิคในเครื่อง หมาย

วงเล็บสี่เหลี่ยม [ ] เชน [1], [2] เปนตน 3.11.2*ตัวเลขเรียงลําดับตั้งแตเลข 1 เปนตนไปจนจบบทหรือจบเลม 3.11.3*ในกรณีที่มีการอางอิงซํ้าใหใชตัวเลขเดิมที่เคยใชอางอิงมากอนแลว 3.11.4*แหลงที่ใชอางอิงทั้งหมดนั้น จะไปปรากฏอยูในเอกสารอางอิง (References) ตัวอยางการอางอิงแบบตัวเลขแทรกในเนื้อหา การเลือกสื่อใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคของบทเรียน เปนปจจัยที่มีความสํ าคัญมากสําหรับการ

จัดกิจกรรมการเรียน พิสิฐและธีรพล [1] ไดใหหลักเกณฑและวิธีการในการเลือกสื่อใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคไวเปน 2 ตอน

Page 11: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-11

ในการพิจารณาบุคคลเพ่ือใหทําหนาที่ผูนําแผนกหรือพัฒนา ผูทําหนาที่หัวหนาแผนกอยูแลวให้ เปนผูนําที่ดีนั้น นอกจากจะทราบบทบาทหนาที่และทักษะของผูนําแลว ยังตองพิจารณาจากคุณสมบัติของตัวบุคคลที่จะไดรับการพิจารณาดวย คุณสมบัติของผูนําที่ดีนั้น Stogdill [2] ไดสรุปว่าบุคคลที่ดํารงตําแหนงผูนําจะมีลักษณะตอไปนี้มากกวาสวนเฉลี่ยของกลุม

3.12*การพิมพ์เอกสารอ้างอิง (References) หลักเกณฑการพิมพเอกสารอางอิง (References) มีขอกาํหนดดังนี้ (ดังตัวอยางหนา 89-90) 3.12.1*การพิมพเอกสารอางอิงใหอยูตอจากสวนเนื้อหา และกอนภาคผนวกใหพิมพคําวา “เอก

สารอางอิง” หรือ “REFERENCES” กลางหนากระดาษ โดยเวนขอบกระดาษพิมพเชนเดียวกับการเริ่มบทใหมและใหเวนระยะหางจากชื่อเอกสารอางอิง 1 บรรทัด จึงเริ่มพิมพบรรทัดแรกของแตละรายการของเอกสารที่ใชอางอิง

3.12.2 ใหเรียงลําดั บเอกสารอางอิงตามลําดับหมายเลขที่ไดกํากับไวภายในเครื่องหมายวงเล็บสี่เหลี่ยม [ ] ที่ไดอางถึงในเนื้อหาของโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยไมตองเรียงตัวอักษร

3.12.3*ไมตองแยกภาษาและประเภทของเอกสาร 3.12.4*พิมพหมายเลขของทุกเอกสารใหชิดกับขอบกระดาษดานซาย 3.12.5*ถาขอความในเอกสารอางอิงขอใดขอหนึ่งมีความยาวมากกวาหนึ่งบรรทัด ใหพิมพบรรทัด

ถัดไปโดยยอหนาเวนระยะ

3.13* การลงรายการบรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิงท้ายเล่ม การเขียนรายการอางอิงในสวนทายนี้ไมวาในเนื้อหาขอความผูวิจัยไดอางจากเอกสารตาง ๆ แบบตัวเลขหรือแบบนาม-ปใหใชวิธีเดียวกัน โดยมีหลักเกณฑในการลงรายการจําแนกตามประเภทของเอกสารคือ หนังสือ บทความที่พิมพเผยแพร บทวิจารณ วิทยานิพนธ จุลสาร เอกสารอัดสํ าเนา และเอกสารที่ไมไดตีพิมพ อ่ืน ๆ ตลอดจนการสัมภาษณ ซึ่งมีตัวอยางการลงรายการดังนี้

หนังสือ ผู้แต่ง 1 คน วัชรพงศ์**ยะไวทย์.**E-Commerce และกลยุทธ์การทําเงินบนอินเทอร์เน็ต.**กรุงเทพฯ*:*ซีเอ็ด ยูเคชัน,*2542. กัญจนา**บุญยเกียรติ.**การคํานวณข้ันต้นในวิชาวิศวกรรมเคมี.**พิมพ์ครั้งที่ 4.**กรุงเทพฯ*:*จุฬาภรณ์ มหาวิทยาลัย,*2540. Leonard,*J.**Advanced practical organic Chemistry.**2 nd ed.**London*:*Blackie Academic & Professional.*c1995.

Page 12: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-12

ผู้แต่ง 2 คน ประชา**พฤกษ์ประเสริฐ*และอุษณีย์**เหลืองอ่อน.**คู่มือการเรียนรู้และเทคนิคการใช้งาน Adobe Photoshop 5.0 ฉบับสมบูรณ์*:*step by step เรียนรู้ง่าย เข้าใจเร็ว พร้อมปฏิบัติได้จริง.**พิมพ์ครั้งที่ 2.** กรุงเทพฯ*:*ส.เอเชียเพรส.**(1989),*[2541?]. Hughes,*D.*E.*P. and M.*J.*Maloney.**Advanced theoretical Chemistry.**London*:*Chatto & Windus,*c1999. ผู้แต่ง 3 คน วัฒนา**วิริยะดนตรี,*สุปกิต**ประติมาภรณ์*และ*ศิริชัย**มงคลประสิทธิ์**คู่มือการเรียนรู้โปรแกรม Photoshop 5 technic**กรุงเทพฯ*:*Imagination,*2542. Skoog,*D.*A.,*Donald M.*West*and*F.*James Holler.**Analytical chemistry*:*an Introduction.**5 th*ed.**Philadelphia*:*Saunders College,*c1990.

ผู้แต่งมากกว่า 3 คน ชาตรี**ศรีไพพรรณ*และคนอ่ืน ๆ.**การรับส่งสัญญาณเสียงและสัญญาณคอมพิวเตอร์โดยวิธีการ มัลติเพลกซ์เข้ากับสัญญาณแสง.**กรุงเทพฯ*:*จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,*[25--?] Coffee,*Peter,*et al.**How to program JavaBeans.**Emeryville,*Calif.*.*Ziff-Davis Press,*c1997.

ผู้แต่งท่ีเป็นนิติบุคคล กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน,*กระทรวงวิทยาศาสตร์.**กฏกระทรวง ออกตามความในพระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535.**กรุงเทพฯ*:*กรม,*[2542?]. Institute of Electrical Engineers.**Energy storage for power systems.**London*:*Peter Peregrinus,*c1994. ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง มีแต่ผู้ทําหน้าที่บรรณาธิการ Kellner,*R.,*ed.**Analytical chemistry*.*the approved text to the FECS Curriculum Analytical chemistry.**Weinheim*:*Wiley,*c1998

ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง 65 เรื่องน่ารู้เทคนิคเครื่องกล.**กรุงเทพฯ*:*ซีเอ็ดยูเคชั่น,*2533.

งานของผู้แต่งปรากฏในหนังสือที่รวบรวมโดยอีกบุคคลหนึ่ง ไพโรจน์**จ๋วงพานิช.**โรคอ้อยที่เกิดจากเชื้อรา.**รวบรวมโดยเกษม**สุขสถาน*และ*อุดม**พูลเกษ.** หลักการทําไร่อ้อย.**กรุงเทพมหานคร*:*มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,*2520. Coleridge,*Samuel Taylor.**”The Complete Works of Samuel Taylor Coleridge.”**Edited by W.*G.*T.**Shedd.**Vol.1.**Aid to Reflection.**New York*:*Harper & Bros,*1884.

Page 13: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-13

หนังสือในชุดหนังสือ (Book in a Series) ผู้แต่ง.**ชื่อหนังสือ.**ชื่อชุดหนังสือ.**ลําดับที่.**เมืองที่พิมพ์*:*สํานักพิมพ์,*ปีที่พิมพ์ ไพโรจน์**มีกุศล.**การปฏิรูปการปกครองมณฑลอีสาน พ.ศ. 2436-2453.**เอกสารการนิเทศการศึกษา.** ฉบับที่ 49.**กรุงเทพมหานคร*:*หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู,*2517. Clapp,*Verner W.**The Future of the Research Library.**Phenias W.*Windsor Series in Linbrarianship.** Librarianship.**No.8.**Urbana*:*University of Minois Press,**1964.

เอกสารที่อ้างถึงในเอกสารอ่ืน การอ้างเอกสารซึ่งมีผู้กล่าวไว้ในเอกสารอื่นโดยที่มิได้เคยอ่านหนังสือเล่มนั้น มีแบบการเขียนคือ ขึ้นต้นด้วยชื่อผู้แต่ง และชื่อเรื่องเอกสารอันดับแรก ใช้ว่า “อ้างถึงใน” หรือ “cited in” หน้าชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่องเอกสารอันดับรอง ดังตัวอย่าง อนุมานราชธน,*พระยา.**แหลมอินโดจีนสมัยโบราณ.**พระนคร*:*สํานักพิมพ์คลังวิทยา.**2479,*อ้างถึงใน สายจิตต์**เหมินทร์.**การเสียรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานูและปะลิส ของไทยให้แก่อังกฤษใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.**วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต แผนกวิชา ประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.*2507. French,*L.*S.**”Is it really friendly?”*PITT.**(February 1985)*:*19,*อ้างถึงใน*ศรีอร** เจนประภาพงศ์.**ทัศนคติของบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่มีต่อเทคโนโลยีสารนิเทศ** วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาบรรณารักษศาตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,*2529.**หน้า 44. Wallis,*Osborne A.**Introduction to Microcomputers.**Berkley,*Calif.*:*Adam Osbarne & Assoc.,*1977,*p.198.**Cited in Morris M.*Hyman.**Automated Library Circulation System.**White Plains,*NY*:*Knowledge Industry Publications,*1981.

หนังสือแปล ผู้แต่ง.**ชื่อเรื่อง.**แปลโดย ผู้แปล.**สถานที่พิมพ์*:*สํานักพิมพ์,*ปีที่พิมพ์. จอร์ช**แน้ช,*แดน**วอลดอร์ฟ*และ*โรเบิร์ต อี ไพรซ์.**มหาวิทยาลัยกับชุมชนเมือง.**แปลโดย อัปสร ทรัยอัน และคนอื่น ๆ.**กรุงเทพมหานคร*:*สํานักพิมพ์แพร่วิทยา,*2518. Lissuer,*Ivar.**The Living Past.**Translated by J.*Maxwell Brownjohn.**New York*:*G.P.*Putnam’s Sons,*1957. Foucault.,*M.**The Archaeology of Knowledge.**Translated by A.*M.*S. Smith London*:*

Page 14: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-14

Tavistock Publications,*1972.

บทความท่ีพิมพ์เผยแพร่ บทความในหนังสือรวบรวมบทความ ผู้แต่ง.**”ชื่อบทความ.”**เลขหน้า.**ชื่อบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม.**สถานที่พิมพ์*:*สํานักพิมพ์,*ปีที่พิมพ์. บุนนาค**พยัคเดช.**”พุทธศาสนากับมารยาทประจําวัน.”**พุทธศาสนาก้าวหน้า.**445-448.**รวบรวมและ จัดพิมพ์โดย ทวน**วิริยาภรณ์.**ธนบุรี*:*ป.พิศนาคะการพิมพ์,*2506. Johnson,*Bruce F.*and Kilby,*Peter.**”Interselations between Agricultural and Industrial Growth.”**Agricultural Policy in Developing Countries.**41-57.**Edited by Nural Islarn. **New York*:*Wiley,*1974. บทความจากวารสาร (Journal) ผู้แต่ง.**”ชื่อบทความ.”**ชื่อวารสาร.**ปีที่ (เดือน ปี)*:*เลขหน้า. ยรรยง**ศรีสม.**การหาพ้ืนที่ของรูปหลายเหลี่ยม.”**21 (เม.ย.-พ.ค.29)*:*71-74 ลัดดาวัลย์**บุญรัตนกรกิจ.**”สมุนไพรกระเทียม.”**วารสารวิทยาศาสตร์.**35 (พฤศจิกายน 2524)*:*803- 806. ธเนศ**อาภรณ์สุวรรณ.**”ข้อสังเกตเก่ียวกับการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของไทย.”**วารสาร มนุษยศาสตร์.**ฉบับที่ 2 (2518)*:*35-40. Yoder,*Robin N.*…*[et*al.].**”Aerobic metabolism of diclosulam on U.S. and south American soils. “**Journal of Agricultural and Food Chemistry.**48,*9*(Sept.2000)*:*4335-4340. H.*P.*Blorn.**et*al.,*Journal of Applied Polymer Science.**58*(1995)*:*995-1006. Michel**Droscher.**Polymer Recycling.**2*(1996)*:*43-47

Dissertation Abstracts ผู้แต่ง.** ชื่อหนังสือ.**ปีที่ (เดือน ปี)*.*เลขหน้า. Seibold,*David Robert.** “A Complex Model of Attitude and Overt Behavior Relationships*:*

The Mediating Effeots of Certainty and Loous Control.”**Dissertation Abstraots International.**36*(1976)*:*6454-6455.

บทความในหนังสือพิมพ์ ผู้เขียน.** “ชื่อบทความ.”**ชื่อหนังสือพิมพ์.**(วัน เดือน ปี)*:*เลขหน้า. พัฒน์พงษ์.** “อุปสรรคในการรวมเวียดนาม.”**สยามรัฐ.**(10 พฤษภาคม 2519)*:*11.

Page 15: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-15

หากไม่มีชื่อผู้เขียนให้ขึ้นต้นด้วยชื่อบทความดังนี้ “Amazing Amazon Region.”**New York Times.**(January 12,*1969)*:*11. บทความในสารานุกรม ผู้แต่ง.** “ชื่อบทความ.”**ชื่อสารานุกรม.**เล่มที่.**(ปีที่พิมพ์)*:*เลขหน้า. วิกรม**เมาสลนนท์.** “ทอดตลาด.”**สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน.**13*(2516-

2517)*:*8453-8460. เจริญ**อินทรเกษตร.** “ฐานันดร.”**สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน.**11*(2515-

2516)*:*6912-6930. Kaplan, *L.** “Library Cooperation in the United States.”**Enoyolopedia of Library and

Information Science.**15*(1975)*:*241-244. Lermer,*Edwin M.** “Social Problems.”**International Enoyolopedia of the Social Sciences. 14*(1968)*:*452-458. บทวิจารณ์หนังสือ (Book Reviews) ผู้เขียนวิจารณ์.**วิจารณ์เรื่อง**ชื่อหนังสือที่วิจารณ์**โดย*ชื่อผู้แต่ง.**ชื่อวารสาร.**ปีที*่(เดือน

ปี)*:*เลขหน้า. ชํานาญ**นาคประสม.**วิจารณ์เรื่องลายมือสยาม.**โดย*สุลักษณ*์*ศิวลักษณ์**สังคมศาสตร์

ปริทัศน์. 5*(มิถุนายน-สิงหาคม 2510)*:*139-141. เกศินี**หงสนันท์.**วิจารณ์เรื่อง**การวัดในการจัดงานบุคคล.**โดย*สวัสดิ์**สุคนธรังสี.**

วารสารพัฒนบริหารศาสตร์.**14*(กรกฎาคม 2517)*:*379-381. Demott,*Benjamin.**Review of Briefting for a Desoent into Hell.**by Doris Lessing.**Saturday

Review.**13*(March 1971)*:*25-26. Millar, T. B.**Review of three and a Half Powers : The New Balance in Asia.** H.*C.*Hinton.**Pacific Affairs.**49*(Spring 1976)*:*114-115.

วิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์ในสถาบันศึกษา สุขเกษม**มานพพงศ์.** “สภาพการจัดการเรียนการสอนกลุ่มวิชาชีพเลือก สาขาวิชาพณิชยการ

ของสถาบันศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร.”**วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์อุสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษาบัญฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ,*2541.

ธีระเดช**คําขํา,*วิษณุ**บุตรแวว*และ*ดิษพงษ*์*อัจฉริยะศิลป์.** “การออกแบบและสร้างเครื่อง อัดเชื้อถุงสําหรับเพาะเห็ด.”**ปริญญานิพนธ์ปริญญาอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี

Page 16: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-16

เครื่องกล (ออกแบบเครื่องกล) ภาควิชาเครื่องกล วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ,*2541.

Baolawski,*K.*P.** “Homology and Cambinatories of Ordered Sets.”**Ph.D.Thesis,*Faculty of Science,*Harward University,*1976.

Tumnong**Dassri.** “An Economic Analysis of Maize Supply Response Thailand,*1950-1970.” Masters Thesis,*Faculty of Economics,*Thammasart University,*1972.

สิ่งไม่ตีพิมพ ์การเขียนรายการอ้างอิงสื่อไม่ตีพิมพ์ เช่น โสตทัศนวัสดุประเภทสไลด์ เทปบันทึกเสียง

ฟิล์มสตริป ภาพยนตร์ รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ เทปบันทึกภาพ แฟ้มข้อมูลและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีแบบการเขียนดังนี้ โสตทัศน์ Maas,*J.*B.*(Producer),*and Gluok,*D.*H.(director).**Deeper into hypnosis [Film]. Englewood

Cliffs,**NJ*:*Prentice-Hall,*1979. Clark,*K.*B.*(Speaker).**Problems of freedom and behavior modification [Cassette Recording

No.7612].**Washington,DC*:*American Psychological Association,*1976. พจน์**สารสิน.**ความอยู่รอดของเศรษฐกิจไทย.**[บทวิทยุออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง

แห่งประเทศไทย].**13 เมษายน 2520.

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ แฟ้มข้อมูลและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Electronic Document) สื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นแหล่งข้อมูลที่สําคัญอีกชนิดหนึ่ง สามารถสืบค้นได้ 2 ระบบ คือ

ระบบออนไลน์ (Online) และระบบซีดีรอม (CD-ROM) Bowers,*K.*L.*et*al.**FYI on where to start – bibliography of internet working information

[Online].**1990.**Available from E-mail*:*[email protected] Prizker,*T.*J.**An early fragment from central Nepal[Online].**(n.d.).**Available from: http://www.ingress.com/-astanart/pritzker.html[1995 June 8]. Chandraskar,*R.*and*S.*Bangalore.**1998.**Knowing a word by the Company it Keeps*:* Using Local Information is a Maximum Entropy Model.**Available online at http://www.cis.upenn.edu/~miokeyo/ov/ov.html

มาตรฐานการทดสอบ ASTM DESIGNATION*:*D1238-94a,*Standard test method for flow rate of thermoplastics by

Page 17: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-17

extrusion plastomer.

สิทธิบัตร (Patent) ชื่อผู้จดสิทธิบัตร.** “ชื่อวิธีหรือสิ่งประดิษฐ์.”**ประเทศท่ีจดสิทธิบัตร หมายเลขของสิทธิบัตร.**

วัน เดือน ปีที่ได้รับการจดสิทธิบัตร. สาธิต**เกษมสันต์,*ม.ล.** “กรรมวิธีในการทําแอบโซลูตอัลกอฮอล์.”**สิทธิบัตรไทย เลขที่

77.**4 ก.พ. 2526. Meltsner,*B.*R.** “Stable Plastic Compos tions.*Assigner to ethyl Corporation.”**New York,*U.S.Patent*:*3,637,586.**January*1972.

Buohanan,*R.*A.** “Extraction of rubber or rubberlike substances from fibrous plant materials.”**U.S.Patent 4,136,131.**Jan 23,*1979. การสัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์.**ตําแหน่ง(ถ้ามี).**สัมภาษณ์,*วัน เดือน ปี. เสริม**วินิจฉัยกุล.**นายกราชบัณฑิตยสถาน.**สัมภาษณ์,*20 มกราคม 2521. แม้นมาส**ชวลิต.**ผู้อํานวยการกองหอสมุดแห่งชาติ.**สัมภาษณ์,*7 ธันวาคม 2519. Sommai**Hoontrakool.**Managing Director,*Siam Cement Co.,Ltd.**Interview, 27 March

1977. Ross,*R.**Associate Director,*Cornell University Libraries.**Interview,*5 May 1980.

แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม กรมแผนที่ทหาร.** “ดอยป่าชาง.”**4840 II.**พิมพ์ครั้งที่ 1-RTSD.**แผนที่ประเทศไทย ชุด L

7017.**2517.**มาตราส่วน 1*:*50,000. กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กอง

สํารวจทรัพยากรธรรมชาติด้วยดาวเทียม.** “เมืองพิษณุโลกจากอวกาศภาพถ่ายจากดาวเทียมแลนด์แซทระบบซีแมกิดแบบเปอร์ (T.M.)”**ภาพสีผสม.**17 มกราคม 2513.**มาตรส่วน*:*50,000.

จุลสาร เอกสารอัดสําเนา ให้ใช้รูปแบบการบันทึกรายการเช่นเดียวกับการอ้างอิงหนังสือ ยกเว้นชื่อเรื่องให้ใส่ไว้ใน

เครื่องหมายอัญประกาศ (“ ”) และในวงเล็บท้ายรายการพิมพ์คําว่า “อัดสําเนา” สําหรับเอกสารภาษาไทย และคําว่า “Mimeographed” สําหรับเอกสารภาษาอังกฤษ ส่วนกรณีภาษาต่างประเทศอ่ืนให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และภาควิชา สัจจา**สายโรจน์พันธ์.** “สภาวะแวดล้อมกับความปลอดภัยในการทํางาน.”**

กรุงเทพมหานคร*:*กองวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

Page 18: การพิมพ์โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจbnscom.rpu.ac.th/uploads/userfiles/Chapter_3.pdf · 3-3 3.5** การพิมพ์บทที่

3-18

,*2520.**(อัดสําเนา) วรรณี**เมืองเจริญ.** “การให้ข้อติชมทางการศึกษา สําหรับผู้สอนในระดับอุดมศึกษา.”**

กรุงเทพมหานคร*:*หน่วยพัฒนาคณาจารย์ ฝ่ายวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, *2520.**(อัดสําเนา) Boonlert**Supadhiloke.** “Communicator and Civil Engineer*:*How Close We are?”**Paper

Presented at the AMIC Seminar on Some Aspects of the Multi-Media Approach to Mass Communication,*Bangkok,*4-6 October 1977.**(Mimeographed)

Economic*and*Social Commission for Asia and the Pacific.** “ESCAP Trade Promotion Centre*:*What it is, what is does 1976-1977.**Bangkok*:*ESCAP.(Mimeographed) 3.14*การพิมพ์ภาคผนวก

การพิมพภาคผนวกใหพิมพในหนาถัดจากภาคเอกสารอางอิง ถาภาคผนวกมีภาคเดียวไมไดแบง ออกเปนหลายภาคใหใชเปน "ภาคผนวก ก" หรือ "APPENDIX A" โดยพิมพอยูกลางหนากระดาษ บรรทัดตอมาพิมพชื่อของภาคผนวกโดยเวนจากบรรทัดบน 1 บรรทัด ถาภาคผนวกมีหลายภาคใหใช

เปนภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ หรือ APPENDIX A, APPENDIX B ฯลฯ ตามลําดับใหขึ้นหนาใหมเมื่อขึ้นภาคผนวกใหม

3.15*การทําสําเนา การทําสําเนาใหใชวิธีอัดสําเนาโรเนียว ถายเอกสาร พิมพออฟเซทหรือวิธีอ่ืนๆ ที่ใหความชัดเจนและถูกตองเชนเดียวกับตนฉบับ โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจทุกเลมที่เสนอคณะบริหารธุรกิจตองมีลายมือชื่อจริงดวยปากกาหมึกซึมสีดําของคณะกรรมการสอบโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ(ในใบรับรองโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ) และประธานกรรมการที่ปรึกษาโครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ(ในบทคัดยอ)