Top Banner
คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิทัลด้วยโปรแกรม QGIS จัดทาโดย กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
15

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

Jan 03, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

คู่มือมาตรฐานการปฏบิัติงาน Standard Manual

การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจทิัลดว้ยโปรแกรม QGIS

จัดท าโดย

กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี

กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Page 2: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

ค าน า

กรมส่งเสริมการเกษตรได้ด าเนินการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร เพื่อใช้ในการจัดท าฐานข้อมูลเกษตรกรเป็นรายครัวเรือน และทราบสถานการณ์การผลิตประกอบการวางแผนพัฒนาด้านการเกษตรของประเทศ รวมถึงให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและสนับสนุนการด าเนินงาน ตามนโยบายของรัฐบาลต่างๆ ตลอดจนเป็นฐานข้อมูลส าหรับตรวจสอบการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรในกรณีเกิดภัยพิบัติ

โดยกรมส่งเสริมการเกษตรมีเป้าหมายการด าเนินโครงการจ านวน ๑๓,๐๐๐,๐๐๐ แปลงตลอดโครงการ และจัดสรรเป้าหมายด าเนินการวาดแปลงเพาะปลูกให้แต่ละจังหวัดด าเนินการ เจ้าหน้าที่สามารถวาดแปลงผ่านโปรแกรม GISAGRO Application FAARMis และโปรแกรม QGIS ซึ่งเป็นโปรแกรมทาง ภูมิสารสนเทศศาสตร์ที่เปิดให้ดาวน์โหลดใช้ได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและยังมีการปรับปรุงโปรแกรมให้มีความทันสมัยพร้อมใช้งานอยู่เสมอ

กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ ๘ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงได้จัดท าคู่มือการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS ขึ้นเพ่ือใช้เป็นคู่มือและแนวทางในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ต่อไป

ผู้จัดท า กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ

สิงหาคม 2561

Page 3: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

สารบัญ

หน้า ค าน า (ก) สารบัญ (ข) 1. หลักการและเหตุผล 1 2. วัตถุประสงค์ 1 3. ขอบเขต 1 4. ค าจ ากัดความ 1 5. หน้าที่ความรับผิดชอบ 2 6. ผังกระบวนงาน (Work Flow) 2 7. ขั้นตอนการปฏิบัติ 3 8. มาตรฐานงาน 12 9. ระบบติดตามประเมินผล 12 10. เอกสารอ้างอิง 12

Page 4: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

กระบวนงาน การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS 1. หลักการและเหตุผล กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีการรับขึ้นทะเบียนเกษตรกรในกลุ่มผู้ปลูกพืช ท าไร่นาสวนผสม ท านาเกลือและเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ พร้อมทั้งท าการวาดผังแปลงเกษตรกรรมที่เกษตรกรน ามาขึ้นทะเบียนควบคู่ไปกับการขึ้นทะเบียนและการปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรด้วยโปรแกรมต่างๆ เพ่ือต้องการทราบสถานการณ์การเพาะปลูก รวมถึงให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและสนับสนุนการด าเนินงาน ตามนโยบายของรัฐบาลต่างๆ ตลอดจนเป็นฐานข้อมูลส าหรับตรวจสอบการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรในกรณีเกิดภัยพิบัติ โปรแกรม QGIS เป็นโปรแกรมที่เปิดให้สามารถดาวน์โหลดมาใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และมีการพัฒนาโปรแกรมด้วยบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ จึงสามารถน ามาใช้ในการวาดแปลงเกษตรกรรม เพื่อน าข้อมูลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆต่อไป ดังนั้นการจัดท าคู่มือการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS จึงจ าเป็นต่อการวาดแปลงเกษตรกรรมของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการการข้ึนทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร เพ่ือใช้เป็นคู่มือและแนวทางในการปฏิบัติงานต่อไป 2. วัตถุประสงค ์ เพ่ือให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการการข้ึนทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ด าเนินการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS ได้อย่างถูกต้อง 3. ขอบเขต คู่มือด าเนินการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS ครอบคลุมขั้นตอนการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอล ตั้งแต่กระบวนการดาวน์โหลดโปรแกรม ติดตั้ง ตั้งค่า และขั้นตอนการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอล จนกระทั่งการส่งแปลงที่วาดเสร็จแล้วไปยังเว็บไซต์ https://ssmap.doae.go.th/geofarmer 4. ค าจ ากัดความ ระบบพิกัด (Coordinate system) หมายถึง ข้อมูลเชิงพ้ืนที่ที่อยู่ในรูปของสถานที่ตั้ง หรือคุณลักษณะอ่ืนใดบนพื้นโลกจะต้องมีพิกัดก ากับไว้อยู่เสมอ เพื่อให้ทราบว่าวัตถุหรือสิ่งของนั้นมีที่อยู่ที่แน่นอน และสามารถค านวณหาความสัมพันธ์เชิงต าแหน่งในระหว่างกันได้ ระบบพิกัดกริด (Universal Transverse Mercator System: UTM) หมายถึง เป็นระบบตารางกริดที่ช่วยในการก าหนดต าแหน่งและใช้อ้างอิง ในการบอกต าแหน่งที่นิยมใช้กับแผนที่ มีตารางกริดที่มีขนาดเท่ากันทุกตาราง และมีวิธีการก าหนดบอกพิกัดที่ง่ายและถูกต้อง โดยเป็นชุดตัวเลขอย่างน้อย 2 ค่า ได้ แก่ค่า X และค่า Y โซน (Zone) หมายถึง เส้นสมมติที่ลากในแนวเหนือ-ใต้บนพ้ืนผิวของโลก ผ่านใจกลางมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งก าหนดสถานที่ซึ่งวันตามปฏิทินเริ่มต้น เส้นดังกล่าวอยู่ที่ประมาณลองติจูด ๑๘๐ องศา ตรงข้ามกับเส้นเมริเดียนแรก แต่ลากอ้อมบางดินแดนและกลุ่มเกาะบางกลุ่ม ประเทศไทยอยู่ในโซนที่ 47N และ 48N โดยจังหวัดส่วนใหญ ่อยู่ในโซน 47N ยกเว้นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือฝั่งตะวันออก ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตราด นครพนม บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีษะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย อ านาจเจริญ อุดรธานี อุบลราชธานี อยู่ในโซน 48N

1

Page 5: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

5. หน้าที่ความรับผิดชอบ คู่มือการวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอลด้วยโปรแกรม QGIS มีบุคคลที่เกี่ยวข้องได้แก่ 1) ผู้อ านวยการส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ ๘ จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีหน้าที่เป็นผู้บริหารสูงสุด ใช้อ านาจในการตัดสินใจและมีบทบาทเป็นผู้น าองค์กร 2) ผู้อ านวยการกลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ มีหน้าที่ในการควบคุมการด าเนินงาน และก ากับให้การด าเนินงานให้เป็นไปตามระยะเวลา 3) เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร มีหน้าที่ในการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร พร้อมทั้งวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิตอล 6. ผังกระบวนงาน (Work Flow)

ขั้นตอนการเตรียมข้อมูล • ดาวน์โหลดโปรแกรม QGIS • ติดตั้งโปรแกรม QGIS • การดาวน์โหลดปลั๊กอิน • การคัดเลือกแปลงในการ

วาด • การตั้งค่าโปรแกรม

ก่อนวาดแปลง

ขั้นตอนการวาดแปลง การส่งแปลงที่วาด

2

Page 6: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

7. ขั้นตอนการปฏิบัตงิาน ขั้นตอนการเตรียมข้อมูล 1) ดาวน์โหลดโปรแกรม QGIS

- เข้าไปโหลดโปรแกรมที่เว็บไซต์ https://download.qgis.org - เลือกเวอร์ชั่นที่ต้องการ

2) การติดตั้งโปรแกรม QGIS

- ดับเบ้ิลคลิกไฟล์โปรแกรม QGIS ที่โหลดมา - ปรากฏหน้าต่าง Setup จากนั้นคลิกที่ Next

3

Page 7: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

- ปรากฏหน้าต่างแสดงค าชี้แจงต่างๆ ให้คลิก I Agree - เลือกพ้ืนที่จัดเก็บ จากนั้นคลิก Next - เลือก conponents จากนั้นคลิก Install - รอจนโปรแกรมติดตั้งเสร็จสมบูรณ์ จากนั้นคลิกที่ Finish

3) การดาวน์โหลดปลั๊กอิน - ไปที่เมนูเลือก Mange And Install Plugins..

- พิมพ์ชื่อปลั๊กอิน ZoomToCoordinates และ OpenLayers Plugin ในช่องค้นหา - จากนั้นคลิก Install Plugin โดยท าการค้นหาและติดตั้งครั้งละ 1 ปลั๊กอิน

4

Page 8: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

4) การคัดเลือกแปลงในการวาด - ไปที่เว็บไซต์ https://ssmap.doae.go.th/geofarmer - ด าเนินการเข้าสู่ระบบ

- ไปที่เมนูรายงาน -> ข้อมูลแปลงส าหรับใช้วาดแปลง -> แปลงที่ยังไม่วาด หน้าต่างจะแสดงแปลงที่ยังไม่วาด เลือกวาดแปลงในปีปัจจุบันและแปลงที่มีพิกัดก่อน

แปลงปีปัจจุบัน พิกดัแปลง

5

Page 9: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

5) การตั้งค่าโปรแกรมก่อนวาดแปลง - การเรียกใช้เครื่องมือ Digitizing คลิกขวาบนพ้ืนที่ว่างหลังเมนูบาร์ จากนั้นเลือก Advance

Digitizing Toolbar

- การตั้งค่า Snapping เพ่ือให้เส้นขอบแปลงที่อยู่ติดกันแนบสนิทกัน ไปที่เมนู เลือก setting เลือกsnapping options

- ตั้งค่า Snap to เลือกเป็น Vertex and segment - Tolerance เท่ากับ 5 pixels จากนั้นคลิก OK

6

Page 10: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

ขั้นตอนการวาดแปลง 6) ขั้นตอนการวาดแปลง

- เปิด Shapefile ตั้งต้นส าหรับใช้วาดแปลง โดยมีวิธีเปิด 2 วธิี คือ 1. การเปิดจาก และการ2. เปิดจากเมนู Layer -> add Layer -> Add Vector Layer

- เปิดภาพดาวเทียมจาก Google มาซ้อนทับ เพ่ือดูขอบเขตแปลงที่จะท าการวาด โดยไปที่เมนู เลือก Web -> OpenLayer Plugin -> Google Maps -> Google Satellite

7

Page 11: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

- ตั้งค่า EPSG ของภาพดาวเทียม ให้ตรงกับโซนที่เราจะท าการวาด โดยคลิกที่ EPSG XXXX พิมพ์ที่ช่อง Filter หากพ้ืนที่อยู่ในโซน 47 ให้พิมพ์ 32647 หากพ้ืนท่ีอยู่ในโซน 48 ให้พิมพ์ 32648

- ตั้งค่ามาตราส่วนเพื่อให้มองเห็นภาพถ่ายดาวเทียมได้อย่างชัดเจน โดยคลิกที่ Scale ตั้งค่ามาตราส่วนไม่ต่ ากว่า 1:2000

8

Page 12: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

- Copy ค่า X และค่า Y จากหน้าเว็บ GEOFARMER ไปใส่ลงในฟังชันก์ Zoomtocoordinates ในโปรแกรม QGIS และเม่ือกดปุ่มแว่นขยายจะมีแนวเล็งไปยังพิกัดนั้น

9

Page 13: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

- ก่อนท าการวาดจัดวางชั้นข้อมูล Shapefile ตั้งต้นให้อยู่ด้านบน และชั้นข้อมูล Google Satellite ให้อยู่ด้านล่าง

- จากนั้นคลิกที่ - คลิกท่ีไฮไลท์ชั้นข้อมูล Shapefile ตั้งต้น

- จากนั้นคลิก Add Feature - ท าการวาดแปลงโดยเริ่มที่มุมแปลง จนครบรอบแปลงโดยจะมีแนวเล็งเป็นกรอบสีแดงดังภาพ

10

Page 14: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

- เมื่อจบการวาดแปลงให้คลิกขวา 1 ครั้ง จะปรากฏหน้าต่าง Feature Attibutes - น าเลข Activity จากเว็บ GEOFARMER กรอกลงไปในช่อง Activity จากนั้นคลิก OK

การส่งแปลงที่วาด 7) การส่งแปลงที่วาด

- ลากเมาส์คลุม shapefile ที่ท าการวาดแปลงแล้ว โดยเลือกทุกนามสกุลไฟล์ จากนั้นคลิกขวา เลือก sent to compressed (Zipped) folder

- ลงชื่อเข้าเว็บไซต์ https://ssmap.doae.go.th/geofarmer เลือกเมนูน าเข้าแปลง - สามารถลากไฟล์ที่ท าการ Zipped เมื่อสักครู่ลงในเว็บได้เลย จากนั้นระบบจะท าการอัพโหลดรูป

แปลงอัตโนมัติ

11

Page 15: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Manual การวาดแปลง ...10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม

8. มาตรฐานงาน กระบวนงาน การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิทัลด้วยโปรแกรม QGIS มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงาน มีผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และสามารถด าเนินงานตาม การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิทัลด้วยโปรแกรม QGIS ได้อย่างถูกต้อง ชื่อกระบวนงาน : การวาดแปลงเกษตรกรรมดิจิทัลด้วยโปรแกรม QGIS ผู้รับผิดชอบกระบวนการท างาน : กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ล าดับขั้นตอน มาตรฐานการปฏิบัติ 1. ขั้นตอนการเตรียมข้อมูล - จัดเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับเกษตรกร การเพาะปลูก พิกัดแปลงและโปรแกรม

ให้พร้อมส าหรับการวาดแปลง 2. ขั้นตอนการวาดแปลง - เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบสามารถด าเนินการวาดแปลงได้อย่างถูกต้อง

ตามหลักการทางภูมิสารสนเทศ 3. การส่งแปลงที่วาด - ผู้รับผิดชอบสามารถส่งแปลงได้อย่างถูกต้อง 9. ระบบติดตามประเมินผล 9.1 การตรวจสอบผังแปลงเกษตรกรรมดิจิทัลโดยศูนย์สารสนเทศและการสื่อสาร 10. เอกสารอ้างอิง 10.1 คู่มือการใช้โปรแกรม QGIS DESKTOP (เบื้องต้น) ของกรมทางหลวงชนบท 10.2 คู่มือการใช้โปรแกรม QGIS ส านักเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ การประปาส่วนภูมิภาค 10.3 คู่มือการใช้โปรแกรม QGIS ศูนย์สารสนเทศชุมชนคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 10.4 คู่มือการใช้โปรแกรม QGIS มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 10.5 คู่มือการใช้โปรแกรม QGIS กรมส่งเสริมการเกษตร

12