Top Banner
ความขัดแย้งกับความร่วมมือ
25

ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

Sep 02, 2019

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

ความขัดแย้งกับความร่วมมือ

Page 2: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคม มาตั้งแต่สมัยดึกด าบรรพ์มีความขัดแยง้และการสานประโยชน์ร่วม กันมาตลอด เมื่อมนุษย์มีพัฒนาการเพิ่มขึ้นและอยู่ร่วมกันเป็นประเทศ ความแตกต่างกันในด้านต่างๆ ทั้งทางด้านสังคม วัฒนธรรม ความคดิ ความเชื่อ รวมทั้งอุดมการณ์ทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองตลอดจนการแข่งขันเพื่อเป็นผู้น าประเทศอื่นๆ

Page 3: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

จึงก่อให้เกิดความขัดแย้งพิพาท เป็นสงครามอย่างกว้างขวาง ท าให้ต้องสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาล แล้วมนุษย์ก็ร่วมมือกันสานประโยชน์ เพื่อป้องกันความขัดแย้งที่อาจมีขึ้น แต่อย่าง ไรก็ตาม ความขัดแย้งยังคงมีอยู่ ซึ่งเป็นหน้าที่ของประชาชาติต่างๆ ที่จะร่วมมือกัน เพื่อน าสันติสุข มาสู่มวลมนุษยชาติ

Page 4: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

สงครามโลกครั้งที่ 1

Page 5: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

เป็นสงครามครั้งใหญ่ ที่ เกิดจากความขัดแย้งของประเทศในทวีปยุโรป และลุกลามไปยังประเทศต่างๆ มากกว่า 30ประเทศ สร้างความเสียหายให้แก่สังคมโลกอย่างร้ายแรง จึงมีผู้เรียกสงครามครั้งนี้ว่า มหาสงคราม (Great War) เป็นสงครามที่เริ่มต้นเมือเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1914และสิ้นสุดลงเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918

สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I)

Page 6: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

สาเหตุของสงคราม1. ปัญหาคาบสมุทรบอลข่าน สาเหตุของปัญหา

เกิดจากการแข่งขันอิทธิพล ระหว่างจักรวรรดิออสเตรีย -ฮังการี กับ จักรวรรดิรัสเซีย โดยรัสเซียต้องการใช้คาบ สมุทรบอลข่าน เป็นทางออกสู่ทะเลทางใต้ของตน และต้องการเป็นผู้น าของชนชาติสลาฟ (Slave) ในคาบสมุทรบอลข่านอันมีเชื้อสายเดียวกับรัสเซีย แทนออสเตรีย -ฮังการี

Page 7: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

2. ปัญหาลัทธิชาตินิยม ก่อให้เกิดการแข่งขันระหว่างมหาอ านาจคือ ชาตินิยมเยอรมนีให้การสนับ สนุนออสเตรีย - ฮังการี กับชาตินิยมสลาฟที่รัสเซียเป็น ผู้น าโดยรัสเซียสนับสนุนชนชาติสลาฟในจักรวรรดิตุรกี เพื่อตนจะได้เข้าไปแทนที่และสลาฟเองก็ต้องการเป็น เอกราชการแข่ งขันและการสนับสนุนของมหาอ านาจ

Page 8: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

3. การแข่งขันแสวงหาอาณานิคม อันเป็นผลมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม ประเทศมหาอ านาจต้อง การแสวงหาตลาดส าหรับระบายสินค้า และแหล่งวัตถุ ดิบป้อนโรงงานอุตสาหกรรม จึงก่อให้เกิดความขัดแย้งในทางประโยชน์

4. การแข่งขันทางด้านแสนยานุภาพ เป็นผลมาจากความขัดแย้งระหว่างประเทศอันมีสาเหตุมาจากการเมืองและเศรษฐกิจรวมทั้งการแข่งขันทางด้านอาณานิคมท าให้ประเทศต่างๆส่งเสริมการสร้างก าลังทหาร และกองทัพที่มีประสิทธิภาพ

Page 9: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

5. การแบ่งกลุ่มของฝ่ายมหาอ านาจ ก่อสงคราม โลกครั้งที่ 1 มหาอ านาจในยุโรปแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม

- ไตรภาคี (Triple Alliance) ซึ่งประกอยด้วยเยอรมนี ออสเตรีย – ฮังการี อิตาลี

- กลุ่มสมัพันธมติร (Triple Entente) ประกอบ ด้วยอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ซึ่งแต่ละกลุม่ต่างมีผลประโยชน์และข้อตกลงในการใหค้วามช่วยเหลือร่วมกัน

Page 10: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

การลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุค ฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ มกุฎราชกุมารและพระชายา แห่งออสเตรีย - ฮังการีเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 1914 ที่เมืองซาราเจโว ในแคว้นบอสเนีย ผู้ลอบสังหารเป็นชาวเซอร์เบีย

ชนวนระเบิดของสงคราม

อาร์ชดยุค ฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ มกุฎราชกุมารและพระชายา

Page 11: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

ออสเตรีย-ฮังการี จึงประกาศสงครามกับเซอร์เบียซึ่งมีผลให้รัสเซียเข้ามาช่วยเซอร์เบีย และเมื่อเยอรมนี ฝรั่งเศส และอังกฤษปฏิบัติตามข้อผูกผันต่อพันธมิตรของตน สงครามจึงเกิดขึ้นและขยายต่อไปนอกยุโรป จึงท าให้สงครามขยายขอบเขตไปทั่วกลายเป็นสงครามโลก

Page 12: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

แผนที่ประเทศ แสดงระหว่าง ฝ่ายสัมพันธมิตรในสีเขียวและฝ่ายมหาอ านาจกลางในสีส้ม และฝ่ายที่เป็นกลางในสีเทา

Page 13: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

เยอรมันประสบชัยชนะในสงครามในระยะแรกทวีความรุนแรงและขยายออกเป็นแนวรบใหญ่ 2 แนว คือ แนวรบด้านตะวันออกใกลบ้ริเวณเมโสโปเตเมียเดิมและชอ่งแคบคาร์ดาแนลส์ และแนวตะวันตก ได้แก่ บริเวณเบลเยี่ยมและตอนเหนือของฝรัง่เศส

ปลายสงครามเยอรมนีใช้เรือด าน้ าโจมตีอังกฤษอย่างไม่มีขอบเขต และสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมกับอังกฤษ ฝ่ายเยอรมันเป็นฝ่ายถอย และปราชัยในวันที่ 11 พฤศจิกายน 1918

เหตุการณ์ของสงครามโลกครั้งที่ 1

Page 14: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1

ฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับชัยชนะและเกิดสนธิสัญญา สันติภาพ ที่บีบบังคบัประเทศผู้แพ้สงคราม 3 ประการ คือ

1. จ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจ านวนมหาศาล2. ถูกจ ากัดก าลังทหารและห้ามสะสมอาวุธ3. เสียดินแดนที่มีความส าคัญทางเศรษฐกิจ

Page 15: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

สนธิสัญญาสันติภาพที่สัมพันธมิตรท ากับประเทศผู้แพ้สงคราม 5 ประเทศ ได้แก่

- สนธิสัญญาแวร์ซายส์ ท ากับเยอรมนั- สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมง ท ากับออสเตรีย- สนธิสัญญาเนยยี ท ากับบัลแกเรีย- สนธิสัญญาตริอานอง ท ากับฮังการี- สนธิสัญญาแซฟส์ ท ากับตุรกีภายหลังตุรกีขอแก้ไขสัญญาใหม่เป็นสนธิสัญญา

โลซานน์

Page 16: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

ผละกระทบของสงคราม

1. เกิดความสูญเสียทางสังคมและทางจิตวิทยา2. เกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ3. สภาพเศรษฐกิจตกต่ าไปทั่วโลก4. ความพ่ายแพ้ของมหาอ านาจกลาง และความ

หายนะของมนุษยชาติ ท าให้ประเทศต่างๆ มีแนวคิดร่วมมือกัน ระหว่างประเทศ เพื่อแกป้ัญหาต่างๆ โดยสันติวิธีจึงมีการการก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติขึน้

Page 17: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

องค์การสันนิบาตชาติ

Page 18: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

องค์ ก ารสันนิบ าตชาติ เป็ นองค์การกลางระหว่างประเทศ โดยประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เพื่อรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และได้สถาปนาเป็นองค์การระหว่างประเทศเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1920 ส านักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

องค์การสันนิบาตชาติ

ประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน

Page 19: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

องค์การสันนิบาตชาติมหีน้าที่ส าคัญสองประการ คือ

1. ดูแลให้มกีารปฏิบัติเป็นไปตามสนธิสัญญา 2. ให้โลกมีสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ

หน้าที่ขององค์การสันนิบาตชาติ

Page 20: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

มีองค์กรต่างๆท าหน้าที่และรับผิดชอบ ดังนี้- สมัชชา (General Assembly) เป็นที่ประชุม

ใหญ่ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกต่างๆ มีสิทธิออกเสียงได้ประเทศละ 1 เสียง

- คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยสมาชิกประเภทถาวร คืออังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี ญี่ปุ่น เยอรมณีรัสเซียส าหรับสหรัฐอเมรกิาไม่ได้เข้าเป็นสมาชิกเพราะมีนโยบายไม่เข้าไปแทรกแซงกิจการของประเทศยุโรป

การด าเนินงาน

Page 21: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

- ส านักเลขาธิการ (Secretariat) ท าหน้าที่ธุรการทั่วไป - ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ( The International court of Justice) ท าหน้าที่

พิจารณากรณีพิพาทระหว่างประเทศสมาชิก มีส านักงานตั้งอยู่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์

- องคก์ารแรงงานระหว่างประเทศ(International Labour Organization) มีฐานะ

เป็นองค์กรอสิระ แต่ขึ้นตรงต่อองค์การสันนิบาตชาติโดยตรง

Page 22: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

1. ไม่ได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากสหรัฐอเมริกา2. ไม่มีกองก าลังทหารเป็นของตนเอง 3. ประเทศสมาชิกค านึงถึงประโยชน์ของตนมากกว่า

การรักษาสันติภาพของโลก

ข้อเสียขององค์การสันนิบาตชาติ

Page 23: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

ข้อสังเกต

ในการก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาต ิ ประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ได้เข้าเป็นสมาชิกเพราะต้องปฏิบัติตามลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งมีนโยบายไม่ยุ่งเกี่ยวหรือผูกพันทางการเมืองกับประเทศทางยุโรป นับ เป็นความบกพร่องที่ส าคัญท่ีสุดขององค์การสันนบิาตชาติ

Page 24: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

อุปสรรคขององค์การ

อุปสรรคส าคัญที่สุดอันหนึ่งคอื ไม่มีสหรัฐอเมริกา ร่วมเป็นสมาชิกขององค์การด้วย สันนบิาตชาติประชุมกันเป็นสมัยประชุมครั้งสุดท้ายเมื่อ วันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ.1939 และหมดสภาพเป็นองค์การระหว่างประเทศลงเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 ทรัพย์สินที่มีอยู่ทั้งหมดได้โอนไปให้แก่องคก์ารสหประชาชาติ

Page 25: ความขัดแย้งกับความร่วมมือ · สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I) ... โลกครั้งที่1

จัดท าโดย

นายพร้อมพรรณ์ อภินันทน์ เลขที่ 7 นางสาวสุพัตรา จอมแปง เลขที่ 31

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4