Top Banner
1 การบริหารค่าบริการสาธารณสุข สาหรับ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิง ในชุมชน ( Long Term Care : LTC ) ปีงบประมาณ 2563 เครือออน มานิตยกูล สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 1 เชียงใหม่
49

ตารางการเทียบการประเมิน ADL และ TAI · 2020. 4. 17. · เรื่อง ......

Oct 23, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
  • 1

    การบริหารค่าบริการสาธารณสุขส าหรับ

    ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน

    (Long Term Care : LTC)

    ปีงบประมาณ 2563 เครือออน มานิตยกูลส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

    เขต 1 เชียงใหม่

  • 2

  • ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง

    ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน

    • ครอบคลุมไปยังทุกสิทธิ และ ทุกกลุ่มอายุ

    • ปรับปรุงประกาศ ที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารจัดการกองทุนท้องถิ่นฯ

    วัตถุประสงค์

    เพื่อให้ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ที่มีภาวะพึ่งพิง(คะแนนประเมินความสามารถในการด าเนินชีวิต ประจ าวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) เท่ากับหรือน้อยกว่า 11 คะแนน)ที่เป็น ประชาชนไทยทุกสิทธิและทุกกลุ่มวัย ให้ได้รับบริการด้านสาธารณสุขส าหรับผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิงตามชุดสิทธิประโยชน์

    วัตถุประสงค์

    เพื่อให้ ผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการด้านสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ที่เชื่อมโยงกับบริการทางสังคมโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

  • กรอบแนวทางการบริหารจัดการค่าบริการ

    อปท.(กองทุนฯ ท้องถิ่น

    สปสช.

    ให้บริการตาม Care Plan

    ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน

    มหาดไทย

    พม.

    สสส.

    สช.

    สวรส.

    เอกชน

    หน่วยจัดบริการ

    หน่วยบริการ

    สถานบริการ

    ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน ให้การดูแลตาม

    บทบาทภารกิจ

    เหมาจ่าย5,000 บาท/คน/ปี

    ซื้อบริการตามชุดสิทธิประโยชน์

    บริการเชิงรุกที่บ้าน

    ส าหรับหน่วยบริการประจ า100,000 บาท

    หน่วยบริการประจ า

    หรือ

    หรือ

  • กรอบแนวทางการบริหารจัดการค่าบริการ

    ค่าบริการผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่มีภาวะพ่ึงพิงในชุมชน

    ส าหรับหน่วยบริการ ส าหรับ อปท.

    เขต 1 – 12 จ่ายแบบเหมาจ่ายให้หน่วยบริการท่ีมี อปท. เข้าร่วมด าเนินการแห่งละ 100,000 บาท และสามารถปรับจ่ายเพ่ิมเติมตามจ านวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการอนุมัติ Care plan แล้ว

    จ่ายแบบเหมาจ่ายให้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่เข้าร่วมด าเนินการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงท่ีมีภาวะพึ่งพิงในชุมชน (5,000 บาท/คน/ปี)

    คัดกรอง จัดกลุ่ม ประเมิน บันทึกCare Plan

    ดูแลผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง

    ตามชุดสิทธิประโยชน์ฯ เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศฯ พ.ศ.2561

  • 1) จัดทีมหมอครอบครวัร่วมกับ อปท. ด าเนินการคัดกรองประชาชนในพืน้ที่ทุกสิทธแิละ ทุกกลุ่มวัย ตามแบบประเมินความสามารถในการด าเนินชีวิตประจ าวันตามดัชนีบารเ์ธลเอดแีอล (Barthel ADL index) โดยแบ่งผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ออกเป็น 4 กลุ่ม และประเมินความต้องการ การบริการด้านสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ รวมทั้งให้ลงทะเบียนข้อมูลในโปรแกรมผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (โปรแกรม LTC)

    2) จัดท าแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพจิารณา สนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ท้องถิ่น

    ขอบเขตการด าเนินงาน

  • เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินด าเนินงานและบริหารจัดการ

    ระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561

    เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินด าเนินงานและบริหารจัดการ

    ระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562

    ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสขุภาพแหง่ชาติ

  • ประกาศฯ ปี 61

    ประกาศฯ (ฉ.2) ปี 62

    บริหารจัดการภาพรวม

    ข้อ 1, 2, 3, 4, 21, 22, 23, 24, 25, 26

    กองทุนหลักประกัน

    สุขภาพ

    ข้อ 5, 6, 7, 8, 9, 10, 12, 13, 14, 15, 16, 17

    Long Term Care

    ข้อ 11, 18, 19, 20(ข้อ 4, 7, 21/แนบท้าย 1, 2)

  • ข้อ ๑๘

    ให้คณะกรรมการกองทุนแต่งตั้งคณะอนุกรรมการชุดหนึ่งชื่อ “คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวส าหรบัผู้สงูอายุที่มีภาวะพึง่พิง” ประกอบด้วย (๑) ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือผู้บรหิารอื่น เป็นประธานอนุกรรมการ

    ที่ผู้บริหารสูงสดุขององคก์รปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมาย(๒) ผู้แทนกรรมการกองทุนหลักประกันสขุภาพ จ านวนสองคน เป็นอนุกรรมการ(๓) หัวหน้าหน่วยบริการประจ าที่จัดบริการสาธารณสุขในท้องถิ่น เป็นอนุกรรมการ

    หรือผู้แทน (เช่น โรงพยาบาลอ าเภอ)(๔) สาธารณสขุอ าเภอหรือผู้แทน เป็นอนุกรรมการ

    กองทุนที่ด าเนินงาน LTC จะต้องตั้งคณะอนุฯ LTC เพราะจะต้องเป็นผู้อนุมัติโครงการ LTCโดยในประกาศฯ ๖๑ ก าหนดให้ตั้งได้เท่านี้ ไม่เหมือนประกาศฯ ๕๙ ที่ใช้ค าว่าอย่างน้อย

  • ข้อ ๑๘

    (๕) หัวหน้าหน่วยบริการปฐมภูมิที่จัดบริการสาธารณสุข เป็นอนุกรรมการในท้องถิ่น (เช่น รพ.สต.)

    (๖) ผู้จัดการการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข เป็นอนุกรรมการ(๗) ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สงูอายุที่มีภาวะพึ่งพงิ เป็นอนุกรรมการ(๘) ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นอนุกรรมการ

    และเลขานุการ(๙) เจ้าหน้าที่อื่นที่ผูบ้ริหารสูงสดุ เป็นอนุกรรมการ

    ขององค์กรปกครองสว่นท้องถิ่นมอบหมาย และผู้ช่วยเลขานุการ

  • ข้อ ๑๙

    คณะอนุกรรมการสนับสนนุการจัดบริการดูแลระยะยาวส าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพงิ มีอ านาจหน้าที่ พิจารณาอนุมัติโครงการ แผนการดูแลรายบุคคล รวมถึงค่าใช้จ่ายตามแผนการดูแลรายบุคคลส าหรับผูสู้งอายุที่มีภาวะพึ่งพงิ ของศูนย์พฒันาคณุภาพชวีิตผู้สูงอายุในชุมชน หน่วยบริการ หรือสถานบริการ

    ศูนย์พัฒนาคุณภาพชวีิตผู้สูงอายุในชุมชน ตามวรรคหนึ่งให้เปน็ไปตามหลักเกณฑ์ที่ส านักงานก าหนด

    ศูนย์พัฒนาคุณภาพชวีิตผู้สูงอายุในชุมชน ที่ส านักงานก าหนดปัจจุบันยึดตามประกาศ สปสช. เรื่องหลักเกณฑ์การสนับสนุนศนูย์ฯ (๒ มี.ค.๖๐)

  • ข้อ ๒๐

    การประชุมของคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวส าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง คณะอนุกรรมการ คณะท างาน ที่คณะกรรมการกองทุนแต่งตั้ง ให้น าข้อ ๑๕ มาบังคับใช้โดยอนุโลม

    ข้อ ๑๕ การประชุมคณะกรรมการกองทุนต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจ านวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม

  • กลุ่มเป้าหมาย : คนไทย

    1• ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป

    2• สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

    3

    • คะแนนประเมินความสามารถในการด าเนินชีวิตประจ าวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล(Barthel ADL index) เท่ากับหรือน้อยกว่า 11 คะแนน

  • ความสามารถในการด าเนินชีวติประจ าวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living index)

    • รับประทานอาหารเมื่อเตรียมส ารับไว้ให้เรียบร้อยต่อหน้าFeeding

    • ล้างหน้า หวีผม แปรงฟัน โกนหนวด ในระยะเวลา 24 - 28 ชั่วโมงที่ผ่านมาGrooming

    • ลุกนั่งจากที่นอน หรือจากเตียงไปยังเก้าอี้Transfer

    • ใช้ห้องน้ าToilet use

    • การเคลื่อนที่ภายในห้องหรือบ้านMobility

  • • การสวมใส่เสื้อผ้าDressing

    • การขึ้นลงบันได 1 ชั้นStairs

    • การอาบน้ าBathing

    • การกลั้นการถ่ายอุจจาระในระยะ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมาBowels

    • การกลั้นปัสสาวะในระยะ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมาBladder

  • ความสามารถในการด าเนินชีวติประจ าวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index)

    กลุ่มที่ 1

    • ผู้ที่พ่ึงตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อ่ืน ชุมชนและสังคมได้ (กลุ่มติดสังคม)• มีผลรวมคะแนน ADL ตั้งแต่ 12 คะแนนขึ้นไป

    กลุ่มที่ 2

    • ผู้ที่ดูแลตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง (กลุ่มติดบ้าน)• มีผลรวมคะแนน ADL อยู่ในช่วง 5 – 11 คะแนน

    กลุ่มที่ 3

    • ผู้ที่พ่ึงตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการหรือทุพพลภาพ (กลุ่มติดเตียง)• มีผลรวมคะแนน ADL อยู่ในช่วง 0 -4 คะแนน

  • การแบ่งกลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิงตาม ADL

    ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL ≤ 11 คะแนน)

    ADL 5-11 คะแนน

    กลุ่ม 1 ติดบ้าน เคลื่อนไหวได้บ้างและ

    อาจมีปัญหาการกิน หรือขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะ

    สับสนทางสมอง

    กลุ่ม 2 ติดบ้าน เหมือนกลุ่มที่ 1 แต่มีภาวะสับสนทางสมอง

    ADL 0-4 คะแนน

    กลุ่ม 3 ติดเตียงเคลื่อนไหวเองไม่ได้และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่ายหรือมีอาการ

    เจ็บป่วยรุนแรง

    กลุ่ม 4 ติดเตียง เหมือนกลุ่ม 3 และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง

    หรืออยู่ในระยะท้ายของชีวิต

  • การคัดกรองผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิงและการแบ่งกลุ่มตาม ADL และ TAI (Typology of Aged with Illustration)

    ADL TAI กลุ่ม

    5 -11 B3 15 -11 C2 25 -11 C3 25 -11 C4 20 - 4 I3 30 - 4 I2 40 - 4 I1 4

  • 3 C ประกอบด้วย

    CM

    • Care manager : ผู้จัดการระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสขุ• CM 1 คนดูแล CG 5-10 คน ดูแลผู้สูงอายุ 35-40 คน

    CG• Care giver : ผู้ชวยเหลือดูแลผู้สงูอายุทีม่ีภาวะพึ่งพงิ

    CP• Care plan : แผนการดูแลรายบุคคล

  • 1• ประเมินก่อนให้บริการและวางแผนการดูแลรายบุคคลระยะยาวด้านสาธารณสุข (Care Plan)

    2• ให้บริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขโดยบุคลากรสาธารณสุข/ ทีมหมอครอบครัว

    3• บริการดูแลที่บ้าน/ชุมชน และให้ค าแนะน าแก่ญาติและผู้สูงอายุโดยผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ

    (Care giver) หรือเครือข่ายสุขภาพอื่น ๆ หรืออาสาสมัคร จิตอาสา

    4• จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์

    5• ประเมินผลการดูแลและปรับแผนการดูแลรายบุคคลล

    ประเภทและกิจกรรมบริการ

  • เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศ

    ประเภทและกิจกรรม กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 41. ประเมินและวางแผน CP

    1 ครั้ง/ ปี 1 ครั้ง/ ปี 1 ครั้ง/ ปี 1 ครั้ง/ ปี

    2. ดูแลโดยหมอครอบครัว อย่างน้อยเดือนละ1 ครั้ง

    อย่างน้อยเดือนละ1 ครั้ง

    อย่างน้อยเดือนละ1 ครั้ง

    อย่างน้อยเดือนละ2 ครั้ง

    3. ดูแลโดย CG อย่างน้อยเดือนละ2 ครั้ง

    อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

    อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

    อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง

    4. จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์

    ตามความจ าเป็น ตามความจ าเป็น ตามความจ าเป็น ตามความจ าเป็น

    5. ประเมินและปรับ CP อย่างน้อย 6 เดือน/ครั้ง

    อย่างน้อย 3 เดือน/ ครั้ง

    อย่างน้อย 3 เดือน/ ครั้ง

    อย่างน้อย 1 เดือน/ ครั้ง

  • การด าเนินงาน LTC

    CM บันทึกรายชื่อ

    ผู้สูงอายุ ส่ง CP ภายใน 1 เดือน

    อปท. ยืนยันรายชื่อ ก่อนสิ้นเดือน

    สปสช.โอนเงิน ภายใน

    1 เดือน

    อปท. ประชุม อนุ LTC ภายใน 15 วัน หลังได้รับ CP

    อปท. น าเข้า/อนุมัติ

    โครงการทันทีหลัง

    การประชุม

    อปท. ท าข้อตกลง/ วางฎีกา/ โอนเงิน

    หน่วยจัดบริการ

    ดูแลผู้สูงอายุ

    หน่วยจัดเสนอบันทึก ADL 9/12 เดือน เสนอชื่อรับงบต่อเนื่อง/ ส่งรายงาน

  • http://ltc.nhso.go.th/ltc/#/login

    ▪ อปท.▪ หน่วยจัดบริการ

    •ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯ หรือ•หน่วยบริการ (รพ./ รพ.สต.)

    หรือ 1330

    http://ltc.nhso.go.th/ltc/#/login

  • ประกาศฯ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนส่งเสริมกิจกรรมของศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ. 2560

    วันที่ 2 มีนาคม 2560

    • ข้อ 1 ให้ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชวีิตผู้สูงอายุและคนพกิาร หรือศูนย์ชื่ออื่นที่ด าเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน ที่มีสิทธิขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพื่อด าเนนิกิจกรรมการสรา้งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ต้องเป็นศูนย์ที่มีคณุลักษณะ ดังต่อไปนี้

    1) จัดตั้งและก ากับหรือด าเนินการโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือหน่วยงานของรัฐ2) บริหารจัดการโดยคณะกรรมการ ซึ่งอาจบริหารเป็นอิสระจากหน่วยงานที่จัดตั้งหรอื

    ด าเนินการก็ได้3) มีที่ท าการหรือสถานทีต่ิดต่อ เพื่ออ านวยความสะดวกในการติดต่อประสานงาน

  • • ข้อ 2 กรณีศูนย์ตามข้อ 1 ขอรับ ค่าใช้จ่ายเพือ่จัดบริการดูแลระยาวด้านสาธารณสุขส าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ตามประกาศฯ ต้องมีคุณลักษณะเพิม่เติม ดังต่อไปนี้

    1) มีผู้จัดการระบบดูแลระยาวด้านสาธารณสุข หรือจนท.สาธารณสุขของหน่วยบริการหรือ อปท.ที่มีความรู้ มาช่วยปฏิบัติงานเป็นผู้จัดการระบบตามความเหมาะสม

    2) มีผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพงิ (Care giver) ในการจัดบริการดูแลตามแผนการดูแลรายบุคคล

  • • ข้อ 3 กรณีศูนย์ตามข้อ 1 ขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายตามข้อ 7(3) ของประกาศฯ พ.ศ. 2557 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ต้องมีคุณสมบัติตามข้อ 2(1) และ (2)

    • ข้อ 4 ให้ศูนย์ที่ได้รับการสนับสนนุค่าใช้จ่าย ตามข้อ 2 หรือข้อ 3 มีหน้าที่1) ด าเนินงานตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมหรอืแผนการดูแลรายบุคคลที่

    คณะกรรมการกองทนุอนุมัติ2) จัดท าบัญชีพร้อมจัดเก็บหลักฐานการรับเงนิ การจ่ายเงิน เพื่อรับการตรวจสอบ

  • • ข้อ 5 บรรดาหลักเกณฑ์ แนวทางปฎิบัติเกี่ยวกับการสนับสนุนและสง่เสริมพฒันาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการที่ออกโดยส านักงานหลกัประกันสุขภาพแห่งชาติ ขัดหรือแย้งกับประกาศนี้ ให้ใช้ความในประกาศนี้บังคบัแทน

    • ข้อ 6 ประกาศนี้ให้ใช้บังคบัตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป (2 มีนาคม 2560)

  • ตัวอย่างแบบฟอร์มการจัดท าข้อเสนอต่อคณะอนุ LTC เพื่อพิจารณาการสนับสนุนค่าบริการ LTC

  • แบบฟอร์มโครงการ และสรุป CPประกอบด้วย 3 ส่วน

    ส่วนที่ 1 โครงการ

  • ส่วนที่ 2 CP (ฉบับย่อ)

  • ส่วนที่ 3 ผลการพิจารณาโครงการ +CP

  • แบบฟอร์ม Care Plan ลงรายละเอียดการวางแผนดูแลผส.รายบุคคล /CGใน

    การเยี่ยมบ้าน

    ปัจจุบัน Key ในระบบโปรแกรม

    LTC (3C)

  • ตัวอย่าง ข้อตกลงระหว่าง หน่วยจัดบริการ

    กับ อปท.

  • ค าถามที่พบบ่อย

  • สรุปขั้นตอนการด าเนินงาน LTC I

    อปท. ร่วมกับหน่วยบริการในพื้นที่ประเมินความพร้อม

    องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)สมัครเข้าร่วมโครงการ

    สปสช.เขต 1 เชียงใหม่ รับเข้าร่วมโครงการ LTC

  • สรุปขั้นตอนการด าเนินงาน LTC II

    CM บันทึกรายชื่อผู้มีภาวะพึ่งพิง

    อปท. ยืนยันรายชื่อผู้มีภาวะพึ่งพิง โดยพิจารณาว่าเป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่

    สปสช. โอนเงินเข้าบัญชี LTC

  • สรุปขั้นตอนการด าเนินงาน LTC III

    CM เสนอ CP ผ่านหน่วยจัดบริการ

    อนุกรรมการ LTC พิจารณาอนุมัติโครงการ CP ค่าใช้จ่ายตาม CP

    อปท. น าเข้าโครงการ/อนุมัติโครงการผ่านโปรแกรม LTC

    อปท.ท าข้อตกลงกับหน่วยจัดบริการ

    อปท.โอนงบไปยังหน่วยจัดบริการ

  • สรุปขั้นตอนการด าเนินงาน LTC IV

    หน่วยจัดบริการดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิง

    หน่วยจัดบริการบันทึกผลการให้บริการ เมื่อดูแลครบ 9 เดือนเพื่อเสนอรายชื่อไปปีถัดไป

    อปท.ยืนยันรายชื่อ

    หน่วยจัดบริการบันทึกผลการให้บริการ เมื่อครบ 12 เดือนเพื่อปิดโครงการ

    หน่วยจัดบริการส่งรายงานผลการด าเนินงานและรายงานการเงินเมือครบ 12 เดือน

  • โอนเงินให้หน่วยจัดบริการแล้วมีเงินเหลือจากการด าเนินงานต้องคืนเงินหรือไม่

    คืนเงิน

    หากไม่ด าเนินการตามโครงการและแผนการดูแลรายบุคคล

    ไม่คืนเงิน

    หากด าเนินการตามโครงการและแผนการดูแลรายบุคคล

    เงินที่เหลือให้ถือเปน็ทรัพย์สนิของหน่วยงาน

    เอกสารหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศ หมวด 2 ข้อ 4.4

  • กรณีผูมี้ภาวะพ่ึงพิงเสียชีวติจะตอ้งท าอยา่งไร

    เงินอยู่ในบัญชี LTC

    หารายใหม่ทดแทน/ดูแลต่อเนื่อง

    บันทึกรายชื่อเข้าโปรแกรม

    ไม่ขอรับงบ

    เงินอยู่ที่หน่วยจัดบริการ

    ใช้ตามระเบียบของหน่วยจัดบริการ

  • แพมเพริ์สหรือแผ่นรองซับซื้อได้หรือไม่

    ไม่ได้

    หากไม่ได้อยู่ในโครงการและแผนการดูแลรายบุคคล

    ได้

    หากอยู่ในโครงการและแผนการดูแลรายบุคคล

    เอกสารหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศ ข้อ 4ข้อหารอืซื้อแพมเพริส์

  • ต้องบันทึกรายชื่อผู้มีภาวะพึ่งพิงในโปรแกรม LTC ทุกรายหรือไม่

    บันทึก

    อนุ LTC อนุมัติ

    ไม่บันทึก

    หน่วยจัดบริการอนุมัติ

  • กรณีที่โครงการนัน้ ครบ 9 เดือน (นับจากวันที่ท าข้อตกลง) ระบบจะแจ้งใหเ้ห็น

    ต้องการเสนอรายชื่อไปปีถัดไป ต้องท าอย่างไร

  • 1. เลือกเมนู “บันทึกผลการให้บริการ (ADL หลัง)/เสนอรายชื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึง่พิง (ต่อเนื่อง)

    2. เลือกปีงบประมาณ

    3. กดค้นหา

    ต้องการเสนอรายชื่อไปปีถัดไป ต้องท าอย่างไร (ต่อ)

  • 4. กดเลือก

    จะปรากฏรายชื่อทั้งหมดที่การอนมุัติโครงการ วันเริ่มต้นข้อตกลงครบ 9 เดือน

    ต้องการเสนอรายชื่อไปปีถัดไป ต้องท าอย่างไร (ต่อ)

  • ผู้ประสานงาน LTC สปสช.เขต 1 เชียงใหม่

    • เครือออน มานิตยกูล (ออน)• โทรศัพท์/ ไลน์ : 0901975154•E-mail : [email protected]•แหล่งข้อมูล : https://chiangmai.nhso.go.th

    : www.obt.nhso.go.th

    mailto:[email protected]://chiangmai.nhso.go.th/http://www.obt.nhso.go.th/