Top Banner
เอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า หมวดที1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 5574306 คุณภาพระบบไฟฟ้ากําลัง(ภาษาไทย) Electrical Power Systems Quality (ภาษาอังกฤษ) 1.2 จํานวนหน่วยกิต 3(2-2-5) 1.3 หลักสูตร และประเภทรายวิชา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า 1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ บุญรอด 1.5 ระดับการศึกษา / ชั้นปีท่เรียน ภาคการศึกษาที2 ของชั้นปีท3 1.6 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร 1.7 รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร 1.8 สถานที่เรียน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 1.9 วันที่จัดทํารายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด วันที............เดือนกันยายน .. 2556
10

รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป...

Aug 30, 2019

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

เอกสารหมายเลข มคอ. 3

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 5574306 คุณภาพระบบไฟฟ้ากําลัง(ภาษาไทย) Electrical Power Systems Quality (ภาษาอังกฤษ)

1.2 จํานวนหน่วยกิต 3(2-2-5)

1.3 หลักสูตร และประเภทรายวิชา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า

1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ บุญรอด

1.5 ระดับการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที ่2 ของชั้นปีที่ 3

1.6 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร

1.7 รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร

1.8 สถานที่เรียน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

1.9 วันที่จัดทํารายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด วันที่............เดือนกันยายน พ.ศ. 2556

Page 2: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

2

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค ์

1 จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาความหมายของคําศัพท์ที่เกี่ยวข้อง บอกวิธีควบคุมการกําเนิดและแพร่กระจายที่มีผลต่อคุณภาพระบบไฟฟ้าได้

2 มีหลักการในการจําแนกองค์ประกอบและเปรียบเทียบคุณภาพระบบไฟฟ้ากับเกณฑ์มาตรฐานได้ 3 มีทักษะในการคํานวณการตรวจสอบคุณภาพระบบไฟฟ้าด้วยเครื่องมือวัดได้ 4 มีเจตคติที่ดีเป็นผู้มีจริยธรรมและจรรยาบรรณ

2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา (อธิบายโดยย่อเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนารายวิชานี้หรือการเปลี่ยนแปลงสําคัญๆ ที่เกิดขึ้น) 1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ และหลักการในการพิจารณาอย่างเป็นขั้นตอน 2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ในวิชานี้ได้

Page 3: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

3

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ

1. คําอธิบายรายวิชา

นิยาม องค์ประกอบและการประเมิน แหล่งกําเนิด การประมาณการและผลกระทบ อุปกรณ์ป้องกันและการแก้ปัญหา เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ประกอบการวัด การควบคุมและการเฝ้าสังเกตการณ์คุณภาพระบบไฟฟ้ากําลัง

2. จํานวนชั่วโมงที่ใช้/ภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง 28 คาบ ตามความจําเป็น 32 คาบ 5 คาบต่อสัปดาห ์

3 ระบุวันเวลาที่อาจารย์จะให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

- อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเวลาให้คําปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ - อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)

Page 4: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

4

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

4.1 คุณธรรม จริยธรรม

(1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย วินัย จรรยาบรรณวิชาชีพ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่

ความถ่อมตนและจิตใจเมตตาต่อเพื่อนร่วมงาน ความไม่ละโมบ และการปฏิบัติหน้าที่ที่ดีของประชาชนไทยตามรัฐธรรมนูญ (2) วิธีการสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้

- ให้ทําโครงงานที่ต้องประยุกต์ความรู้ในวิชากับปัญหาจริง โดยให้นักศึกษาทําเป็นกลุ่ม - สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรมสามารถในระหว่างที่ทําโครงงานโดยการพูดคุยกับนักศึกษา เน้นความรับผิดชอบต่องาน วินัย จรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ในกลุ่ม ความถ่อมตนและความมีน้ําใจต่อเพื่อนร่วมงาน และความไม่ละโมบ

(3) วิธีการประเมินผล สังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อ (2)

ข้างต้นว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมาย ก็อาจเปลี่ยนสถานะการณ์หรือปรับโครงการให้เหมาะสมมากขึ้น 4.2 ความรู้ (1) ความรู้ที่จะได้รับ นักศึกษาจะได้รับความรู ้ดังนี้ 1มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาความหมายของคําศัพท์ที่เกี่ยวข้อง บอกวิธีควบคุมการกําเนิดและแพร่กระจายที่มีผลต่อคุณภาพระบบไฟฟ้าได้

2 มีหลักการในการจําแนกองค์ประกอบและเปรียบเทียบคุณภาพระบบไฟฟ้ากับเกณฑ์มาตรฐานได้ 3 มีทักษะในการคํานวณการตรวจสอบคุณภาพระบบไฟฟ้าด้วยเครื่องมือวัดได้ 4 มีเจตคติที่ดีเป็นผู้มีจริยธรรมและจรรยาบรรณ

(2) วิธีการสอน บรรยายโดยใช้ปัญหานําและตามด้วยการแก้ปัญหา อภิปรายโต้ตอบระหว่างอาจารย์และนักศึกษา

การทํางานกลุ่ม การนําเสนอรายงาน และการวิเคราะห์กรณีศึกษา (3) วิธีการประเมิน

- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ - นําเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง - วิเคราะหก์รณีศึกษา

Page 5: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

5

4.3 ทักษะทางปัญญา (1) ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ความสามารถในการคิดและหาเหตุผลอย่างเป็นระบบ

(2) วิธีการสอน มอบหมายให้นักศึกษาแก้ปัญหาที่กําหนดโดยใช้ความรู้ในวิชานี้

และนําเสนอผลการแก้ปัญหาในรูปของการอภิปรายกลุ่ม (3) วิธีการประเมินผลทักษะทางปัญญาของนักศึกษา

ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา 4.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

(1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องการพัฒนา - ทักษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาด้วยกัน - ทักษะความเป็นผู้นําและผู้ตามในการทํางานเป็นทีม - ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกําหนดเวลา - ทักษะการปฏิบัติหน้าที่ที่ดีของนักศึกษาและการปฏิบัติตัวที่ดีต่ออาจารย์

(2) วิธีการสอน - ให้ทําโครงการร่วมกันเป็นกลุ่มโดยเน้นการประยุกต์ความรู้ที่เรียนในวิชากับปัญหาที่กําหนด - เชิญบุคลที่ผลความสําเร็จในธุรกิจที่เกี่ยวข้องมาเล่าประสบการณ์ความสําเร็จและทักษะต่าง ๆ - แทรกประสบการณ์ของอาจารย์ในระหว่างสอนโดยผ่านการเล่าเรื่องต่าง ๆ - พูดคุยกับนักศึกษาถึงความจําเป็นของทักษะต่าง ๆ

(3) วิธีการประเมิน - ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กําหนด - ประเมินรายงานที่นําเสนอและพฤติกรรมการทํางานเป็นทีม - ประเมินพฤติกรรมนอกห้องเรียน เช่น ช่วงรับประทานอาหารร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษาในชั้นเรียน

4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา - ทักษะการคิดคํานวณเชิงตัวเลข - ทักษะการวิเคราะห์ปัญหาและการโยงรูปธรรมของปัญหาไปสู่นามธรรมเชิงคณิตศาสตร์ - ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทํารายงาน และนําเสนอในชั้นเรียน - ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา - ทักษะในการค้นหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตัวเองโดยการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต - ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร - ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม

Page 6: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

6

(2) วิธีการสอน

- เน้นการสอนที่ใช้ปัญหานํา ทฤษฏีตาม และการพัฒนาแนวคิดจากปัญหาเพื่อนําไปสู่การค้นพบ ข้อสรุปหรือทฤษฏีใหม่

- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก Website สื่อการสอน e-Learning และทํารายงาน โดยเน้นการนําตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

- นําเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม - ท้าทายเชิงวิชาการต่อนักศึกษาในระหว่างการสอนโดยการตั้งคําถามที่มาจากปัญหาจริงในอุตสาหกรรม หรือบทความวิชาการ เพื่อให้นักศึกษาฝึกคิดหาวิธีการแก้ปัญหา

(3) วิธีการประเมิน - การจัดทํารายงาน และนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี - การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย

Page 7: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

7

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

5.1 แผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน*ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 1-6 บทนำ บทที่ 1-7 4 บรรยาย พร้อมยกตัวอย่าง 7 สอบความรู้ 4 8-15 งานมอบหมาย/ใบงาน 4 งานมอบหมาย

ใบงานและส่งผลงานในชั้นเรียน

16 สอบงานมอบหมาย 4 * จํานวนชั่วโมงต้องสอดคล้องกับจํานวนหน่วยกิต 5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู ้ผลการเรียนรู้

* วิธีการประเมิน กําหนดการประเมินสัปดาห์ที่ สัดส่วนของการประเมินผล

1 การสอบย่อย 1-7 50 2 การปฏิบัติงานมอบหมาย 8-15 50 * ระบุผลการเรียนรู้หัวข้อย่อยตามที่ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อของรายวิชา (Curriculum Mapping) ของรายละเอียดหลักสูตร (แบบ มคอ.2)

Page 8: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

8

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียน

6.1 ตําราที่กําหนด 1. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. (2548). คู่มือถามตอบ2 ปัญหาเทคนิค ด้านคุณภาพไฟฟ้า

2. Roger C.Dugan , Mark F.McGranaghan , Surya Santoso and H. Wayne Beaty. (2004). Electrical

Power Systems Quality. 2rd.

3. พิศิษฐ์ บุญรอด.(2553). คุณภาพระบบไฟฟ้า.

4. คู่มือการใช้งานเครื่องมือวัดต่างๆ

6.2 แหล่งอ้างอิงที่สําคัญ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

6.3 หนังสือและเอกสารอ้างอิงที่แนะนํา (วารสาร รายงาน และอื่นๆ) 1. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(เทคโนโลยีไฟฟ้า) ปีการศึกษา 2551

เรื่อง การสํารวจสภาพแรงดันไฟฟ้าตกและแรงดันไฟฟ้าเกิน เรื่อง การสํารวจสภาพแรงดันไฟฟ้าสภาวะชั่วครู่ เรื่อง การสํารวจสภาพฮาร์โมนิกส์ เรื่อง การสํารวจสภาพแรงดันไฟฟ้าสภาวะชั่วขณะ เรื่อง การสํารวจสภาพการเปลี่ยนแปลงความถี่กําลังไฟฟ้า เรื่อง การสํารวจสภาพแรงดันไฟฟ้าไม่สมดุล เรื่อง การสํารวจสภาพแรงดันไฟฟ้ากระเพื่อม

6.4 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ 1. แผนกจัดการงานคุณภาพไฟฟ้า ( Power Quality Control

section) กองวิศวกรรมและบํารุงรักษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. (2551). แรงดันไฟฟ้าไม่สมดุลในระะบบ 3

เฟส มีผลกระทบกระเทือนต่อการทํางานของมอเตอร์ 3 เฟส ที่ต่ออยู่กับระบบไฟฟ้า [Online serial]. Available:

http://www.pea.co.th/peac2/pq/FQA5.htm [2551, ธันวาคม 2].

2. แผนกจัดการงานคุณภาพไฟฟ้า กองวิศวกรรมและบํารุงรักษา ฝ่ายบริการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (2551).

คุณภาพไฟฟ้า [Online serial]. Available:

http://www.pea.co.th/peac2/pq/Pqbasic.pdf [2551, ธันวาคม 2].

3. ยุทธพงศ์ ทัพผดุง. ( 2551). สิ่งรบกวนในระบบไฟฟ้าที่มีผลต่อภาระทางไฟฟ้า [Online serial].

Available:

http://www.geocities.com/hellogear/disturbance.htm [2551, เมษายน 5].

Page 9: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

9

4. ศักดิ์ชัย นรสิงห์. (2551). คุณภาพกําลังไฟฟ้า [Online serial]. Available:

http://www.thainovation.com/download/thainovation_com/power_quanlity_sakchai.pdf

[2551,พฤศจิกายน 10].

5. ลักษมณ์ กิจจารักษ์. (2551). เรื่องน่ารู้ต่างๆเกี่ยวกับ คุณภาพไฟฟ้า , ชนิดต่างๆของ UPS

และการเลือกใช้งาน UPS ที่เหมาะสม [Online serial]. Available:

http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm [2551, กรกฎาคม 25].

6. http://www.eit.or.th/ สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

7. http://www.coe.or.th/ ข้อสอบทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร

8. http://www.thaiengineering.com/ THAIENGINEERING

9. http://www.9engineer.com/main/ 9engineer

6.5 เอกสารและข้อมูลการเรียนอื่นๆ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

Page 10: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

10

หมวดที่ 7 การประเมินรายวิชาและกระบวนการปรับปรุง

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้

3. การปรับปรุงการสอน - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอน แต่อาจารย์ที่ทวนสอบต้องมีความรู้ในวิชานี้

- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม

5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 7.4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนทุกปี เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ