Top Banner
กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 1 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper) ชื่อเรื่องนาเสนอ กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ชื่อหน่วยงาน ฝ่ายการคลัง สานักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ชื่อผู้เขียน (ผู้นาเสนอ) 1. นางสาวณัฐวสา สันต์จิตโต ตาแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชี 2. นางสาวอนุธิดา เตียวไพบูลย์ ตาแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชี 3. นางสาวกัลยาณี หลวงบาน ตาแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชี 1. บทสรุปของผู้บริหาร คณะฯ มีการบริหารจัดการคน ระบบ ขบวนการ เพื่อบริหารเงินลงทุนให้มีประสิทธิภาพ เริ่มจากการจัดทา แผนลงทุนแยกกรอบเงิน กรอบเวลา และประมาณการผลตอบแทนตามเงินหมุนเวียนและเงินไม่หมุนเวียน โดยพิจารณาโอกาสและความเสี่ยง ความจาเป็นใช้เงิน ข้อมูล Cash flow Projection มีการบริหารความเสี่ยงการลงทุน การวางแผนกาหนดกลยุทธ์การจัดสรรเงินลงทุนร่วมกับทีมที่ปรึกษาการลงทุนจากภายนอก โดยใช้เครื่องมือทางการเงิน ขั้นสูง เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการลงทุน ประมาณการผลตอบแทนและความเสี่ยงที่ยอมรับได้ตามมาตรฐานสากล ภายใต้กรอบนโยบายการลงทุนของมหาวิทยาลัยมหิดล จัดให้มีการติดตามประเมินผลการลงทุน การกระทบยอด และออกแบบรูปแบบการรายงานเพื่อใช้ในการนาเสนอต่อผู้บริหาร ข้อมูลการวัดผลช่วยในการตัดสินใจลงทุน ให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด ( Optimize Benefit) นอกจากนี้ยังวางระบบและสร้างรูปแบบการทางาน เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การบันทึกรายการและการออกแบบรายงานต่างๆ ด้าน Operation มีการปฏิบัติ ตามเกณฑ์กรอบนโยบายการลงทุนเพื่อการมีธรรมาภิบาล มีกระบวนการสอบยัน ( Check and Balance) ระหว่างรายงาน ผู้เก็บรักษาทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย ( Custodian) กระทบยอดกับรายการบัญชีเงินลงทุน ในระบบ SAP เพื่อความถูกต้อง ครบถ้วนตามเกณฑ์นโยบายการลงทุนตามแผนทั้งรายวันและรายเดือน การรายงานวิเคราะห์ผล การดาเนินการที่มีการเทียบเคียงแผนและผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงเปรียบเทียบ กับเกณฑ์มาตรฐาน ( Benchmark) ที่เหมาะสม มีการบริหารจัดการเงินสด ( Cash Management) สร้างกลไก การจัดการความรู้และการรายงานสื่อสารทีมที่เกี่ยวข้องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการลงทุน การแลกเปลี่ยนเรียนรูมีการแบ่งปันข่าวสารช่วยให้กลุ่มทางานด้านการลงทุนที่มีเป้าหมายร่วมกัน มีความรู้พร้อมรับมือกับรูปแบบผลิตภัณฑ์ ทางการเงิน การลงทุนรูปแบบใหม่ๆ ที่รวมถึงการบันทึกบัญชีให้ถูกต้องตามมาตรฐานทางบัญชีเพื่อให้การรายงาน งบการเงินผ่านการรับรองจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตภายนอก การรายงานผลการดาเนินการอย่างสมาเสมอ เพื่อให้มีการติดตามผลการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายการลงทุนของมหาวิทยาลัยที่คานึงถึง ขอบข่าย Exposure Limit ได้คานึงถึงความเสี่ยงของขนาดการลงทุนที่เหมาะสมและเปิดโอกาสให้คณะฯ สามารถจัดการหาผลประโยชน์ได้ในผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ได้ผลตอบแทนสูงกว่าการฝากเงินธนาคาร และการซื้อพันธบัตร สรุปวิธีปฏิบัติที่เป็นแบบอย่างที่ดีเยี่ยม ได้แก่ 1) ระบบการบริหารเงินลงทุนครบวงจร ตั้งแต่การวางแผน การดาเนินการ การติดตามผลและการปรับปรุงพัฒนา สอดคล้องกับกรอบนโยบายการลงทุนของมหาวิทยาลัยมหิดล ตามกรอบเวลาการจัดหาผลประโยชน์
21

บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

Aug 19, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 1

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)

ชื่อเรื่องน าเสนอ กระบวนการบริหารเงนิลงทุน คณะแพทยศาสตรศ์ิริราชพยาบาล

ชื่อหน่วยงาน ฝ่ายการคลัง ส านักงานคณบด ีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ชื่อผู้เขียน (ผู้น าเสนอ) 1. นางสาวณัฐวสา สันต์จิตโต ต าแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญช ี 2. นางสาวอนุธิดา เตียวไพบูลย ์ ต าแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญช ี 3. นางสาวกัลยาณ ี หลวงบาน ต าแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญช ี

1. บทสรุปของผู้บริหาร คณะฯ มีการบริหารจัดการคน ระบบ ขบวนการ เพื่อบริหารเงินลงทุนให้มีประสิทธิภาพ เริ่มจากการจัดท า แผนลงทุนแยกกรอบเงิน กรอบเวลา และประมาณการผลตอบแทนตามเงินหมุนเวียนและเงินไม่หมุนเวียน โดยพิจารณาโอกาสและความเสี่ยง ความจ าเป็นใช้เงิน ข้อมูล Cash flow Projection มีการบริหารความเสี่ยงการลงทุน การวางแผนก าหนดกลยุทธ์การจัดสรรเงินลงทุนร่วมกับทีมที่ปรึกษาการลงทุนจากภายนอก โดยใช้เครื่องมือทางการเงินขั้นสูง เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการลงทุน ประมาณการผลตอบแทนและความเสี่ยงที่ยอมรับได้ตามมาตรฐานสากล ภายใต้กรอบนโยบายการลงทุนของมหาวิทยาลัยมหิดล จัดให้มีการติดตามประเมินผลการลงทุน การกระทบยอด และออกแบบรูปแบบการรายงานเพื่อใช้ในการน าเสนอต่อผู้บริหาร ข้อมูลการวัดผลช่วยในการตัดสินใจลงทุน ให้ เกิ ด ค วาม คุ้ ม ค่ า สู งสุ ด (Optimize Benefit) น อ ก จ าก นี้ ยั ง ว า งระบ บ แ ล ะส ร้ า งรู ป แ บ บ ก ารท า งาน เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การบันทึกรายการและการออกแบบรายงานต่างๆ ด้าน Operation มีการปฏิบัติ ตามเกณฑ์กรอบนโยบายการลงทุนเพื่ อการมีธรรมาภิบาล มีกระบวนการสอบยัน (Check and Balance) ระหว่างรายงาน ผู้ เก็บรักษาทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย (Custodian) กระทบยอดกับรายการบัญชีเงินลงทุน ในระบบ SAP เพื่ อความถูกต้อง ครบถ้วนตามเกณฑ์นโยบายการลงทุนตามแผนทั้ งรายวันและรายเดือน การรายงานวิเคราะห์ผล การด าเนินการที่มีการเทียบเคียงแผนและผลตอบแทนที่ เกิดขึ้นจริงเปรียบเทียบ กับเกณฑ์มาตรฐาน (Benchmark) ที่ เหมาะสม มีการบริหารจัดการเงินสด (Cash Management) สร้างกลไก การจัดการความรู้และการรายงานสื่อสารทีมที่เกี่ยวข้องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการลงทุน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการแบ่งปันข่าวสารช่วยให้กลุ่มท างานด้านการลงทุนที่มีเป้าหมายร่วมกัน มีความรู้พร้อมรับมือกับรูปแบบผลิตภัณฑ์ทางการเงิน การลงทุนรูปแบบใหม่ๆ ที่รวมถึงการบันทึกบัญชีให้ถูกต้องตามมาตรฐานทางบัญชีเพื่อให้การรายงาน งบการเงินผ่านการรับรองจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตภายนอก การรายงานผลการด าเนินการอย่างสม่ าเสมอ เพื่อให้มีการติดตามผลการด าเนินการอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายการลงทุนของมหาวิทยาลัยที่ค านึงถึงขอบข่าย Exposure Limit ได้ค านึ งถึ งความเสี่ยงของขนาดการลงทุนที่ เหมาะสมและเปิดโอกาสให้คณะฯ สามารถจัดการหาผลประโยชน์ ได้ ในผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ ได้ผลตอบแทนสูงกว่าการฝากเงินธนาคาร และการซื้อพันธบัตร สรุปวิธีปฏิบัติที่เป็นแบบอยา่งที่ดีเยี่ยม ได้แก่

1) ระบบการบริหารเงินลงทุนครบวงจร ตั้งแต่การวางแผน การด าเนินการ การติดตามผลและการปรับปรุงพัฒนา สอดคล้องกับกรอบนโยบายการลงทุนของมหาวิทยาลัยมหิดล ตามกรอบเวลาการจัดหาผลประโยชน์

Page 2: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 2

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

เพื่อทันต่อการน าไปใช้ตามช่วงเวลาในทุกพันธกิจของทั้งแผนปฏิบัติงานระยะสั้นและแผนพัฒนาคณ ะฯ ระยะยาว

2) การปฏิบั ติตามเกณ ฑ์ กรอบนโยบายการลงทุน การออกแบบและด าเนินการตามกระบวนการ เพื่อมีธรรมาภิบาล มีกระบวนการ Check and Balance อีกทั้ งการบันทึกบัญชีและการจัดท ารายงาน ทางการเงิน ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

3) การบ ริห ารความ เสี่ ย งด้ าน การลงทุ น อย่ างค รอบคลุ ม โดยที่ มี ก ารปิ ด จุ ด เสี่ ย ง (Blind Spot) ทดสอบ Back Test โดยใช้เครื่องมือทางการเงินขั้นสูง เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการลงทุน ประมาณการผลตอบแทนและความ เสี่ ย งที่ ย อม รับ ได้ ต ามม าตรฐาน ส ากล ภ าย ใต้ ก รอบ น โยบ าย ช่ วย ใน ก ารวางแผ น การจัดสรรเงินลงทุนร่วมกับทีมที่ปรึกษาการลงทุนจากภายนอกในทุกรอบวงจรการวางแผนการลงทุน 6 เดือนล่วงหน้า และการใช้เครื่องมือตรวจสอบความถูกต้องของการจัดท าค าสั่ งลงทุน (Check list) ในระดับปฏิบัติการ การรายงานวิเคราะห์ผลการด าเนินการที่มีการเทียบเคียงแผนและผลตอบแทน ที่เกิดขึ้นจริงเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน (Benchmark) ที่เหมาะสม

4) ก ารจั ด ก า รค ว าม รู้ แ ล ะก ารราย งาน สื่ อ ส ารที ม ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง ทั้ งภ าย ใน แ ล ะภ ายน อ ก ค ณ ะฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการลงทุน

2. ข้อมูลเกี่ยวกับคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ภาพที่ 1 โครงสร้างองค์กร

Page 3: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 3

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

วิสัยทัศน์ วัฒนธรรม พันธกิจ วิสัยทัศน์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลเป็นสถาบันทางการแพทย์ของแผ่นดิน มุ่งสู่ความเป็นเลิศระดับสากล

วัฒนธรรมองค์กร “SIRIRAJ” ประกอบด้วย S = Seniority รักกันดุจพ่ีน้อง I = Integrity ซื่อสัตย์ ถูกต้อง เชื่อถือได้ R = Responsibility รับผิดชอบ มีประสิทธิภาพ ตรงต่อเวลา I = Innovation คิดสร้างสรรค์ R = Respect ให้เกียรติ เอาใจเขามาใส่ใจเรา A = Altruism ค านึงถึงประโยชน์ของผู้อื่นและส่วนรวมเป็นที่ตั้ง J = Journey to Excellence and Sustainability มุ่งมั่นพัฒนาสู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน

พันธกิจ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมีพันธกิจที่จะจัดการศึกษา เพื่อผลิตบัณฑิตและบุคลากรทางการแพทย์ทุกระดับและแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง การวิจัย สร้างบรรยากาศทางวิชาการ ให้บริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ คุณ ธรรม ทั นสมั ย ได้ ม าตรฐานสากล สอดคล้ อ งกั บความต้ อ งการของประ เทศ และน าม าซึ่ งศ รัท ธา และความนิยมสูงสุดจากประชาชนรวมทั้งช้ีน าสังคมไทยในด้านสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิต

ผลิตภัณฑ์/บริการที่ส าคัญและกลไกในการส่งมอบให้กับลูกค้า คณะฯ สามารถบริหารจัดการสภาพคล่องรองรับการจัดการด้านการเงิน จัดสรรทรัพยากรเพ่ือการบริหารจัดการพันธกิจในทุ กช่ วงเวลาได้อย่ างยั่ งยืน เกิดผลประโยชน์ ในผลิตภัณ ฑ์ ทา งการเงินที่ ได้ รับผลตอบแทน สูงกว่าการฝากเงินธนาคารและการซื้อพันธบัตรภายใต้ข้อจ ากัดนโยบายและความเสี่ยงที่ยอมรับได้ อีกทั้งพร้อมรับ ในการตอบสนองความท้าทายของภาวะการลงทุนที่มีการเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็วด้วยกลไกส่งมอบบริการ ตามบริการหลัก ดังตาราง

ผลิตภัณฑ/์บริการหลักทีส่ าคัญ กลไกส่งมอบบริการลูกค้า

บริหารการลงทุนภายใต้กรอบนโยบาย การลงทุนของมหาวิทยาลัยมหิดล ภายใต้ความเสี่ยงเป็นไปตามแผน

รายงานสรุปสถานะการลงทุน

รายงานการวิเคราะห์เพื่อวางแผนการลงทุนพร้อมเปรียบเทียบแผน-ผลการลงทุน

รายงานผลตอบแทนการลงทนุ

Page 4: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 4

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ผลิตภัณฑ/์บริการหลักทีส่ าคัญ กลไกส่งมอบบริการลูกค้า

ปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน สรุปการซื้อขายลงทุน

รายงาน – รายงานสถานการณ์ การเงินการลงทุน

กระทบยอดข้อมูลและรายงานผล การตรวจสอบความถูกต้องยอดเงินออมทรัพย์ ผู้เก็บรักษาทรพัย์สินในระบบ SAP กับระบบ CUSTODIAN เม็ดเงิน เงินฝากธนาคารและรายการทางบัญช ี

น าเสนอรายงานการลงทุนแกค่ณะกรรมการต่างๆเพื่อการบริหารจัดการ

น าเสนอที่ประชุมต่างๆตามก าหนด

กลุ่มลูกค้าที่ส าคัญ

ประเภทผู้รับบริการ กลุ่มลูกค้า

ระดับบริหาร ผู้บริหาร

ระดับปฏิบัติการ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเงินลงทุน

กลุ่มท างานด้านการลงทุน

หน่วยงานภายนอกคณะฯ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้เก็บรักษาทรพัย์สิน

รางวัล/ประกาศนียบัตรที่ได้รับ 1) ได้รับรางวัลชนะเลิศประจ าปี 2551 การขับเคลื่อนธุรกิจด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ดี เ ด่ น แ ห่ ง ปี (Thailand ICT Excellence Awards 2008 For Siriraj Back Office Project (SI-BACX) )

2) TQM-Best Practices in Thailand จ าก ก ารน า เส น อ บ ท ค วาม เรื่ อ ง “ระบ บ ก ารติ ด ต าม และประเมินผลด้านงบประมาณ อย่างบูรณาการเพื่อความยั่งยืน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล”จากมูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็ม ในประเทศไทย

Page 5: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 5

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

3) โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล ผ่านการรับรองมาตรฐานสากล JCI เป็นแห่งแรกของโรงพยาบาลรัฐและโรงเรียนแพทย์ในประเทศไทย

4) ประกาศนียบัตรรับรองกระบวนการพัฒนาคุณภาพสถานพยาบาล ขั้นก้าวหน้า (Advanced HA) ในพิธีเปิดการประชุม HA National Forum ครั้งที่ 16 ภายใต้หัวข้อ “จินตนาการสร้างสรรค์คุณภาพ (Imagination for Quality)” ซึ่งจัดโดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.)

5) ร า ง วั ล "ก า ร บ ริ ห า ร สู่ ค ว า ม เป็ น เลิ ศ Thailand Quality Class (TQC)" ป ร ะ จ า ปี 2559 จากกระทรวงอุตสาหกรรม รางวัลดังกล่าวให้ความส าคัญกับระบบบริหารจัดการที่เป็นเลิศเพื่อพัฒนา ขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจก้าวไปสู่มาตรฐานสากล

6) ได้รับรางวัล Best Medical Performance Award รางวัลการบริหารและการบริการทางการแพทย์ยอด เยี่ยม มอบให้กับโรงพยาบาลที่มีผลรวมคะแนนการบริหารและการบริการทางการแพทย์สูงสุด กลุ่ม B โดยได้รับจากงาน Allianz Ayudhya Hospital Service Awards 2014

7) ได้ รั บ รางวั ล Allianz Ayudhya Hospital Service Awards 2015 รางวั ล ชน ะ เลิ ศ ป ระ เภ ท Best Medical Performance Award รางวัลการบริหารและการบริการทางการแพทย์ยอดเยี่ยม

8) ได้รับรางวัล ผลงาน R2R ดีเด่น ประจ าปี 2558 ในการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจ าสู่ง าน วิ จั ย Routine to Research (R2 R) ค รั้ งที่ 8 “R2 R ส ร้ า งส ร รค์ สู่ ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง : R2R to Transformation” โดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และภาคีเครือข่าย R2R จัดประกวดผลงาน R2R ดีเด่น กลุ่มตติยภูมิ และกลุ่มนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์

9) ได้ รั บ ป ระก าศนี ยบั ต รก ารรับ รอ งม าตรฐาน เฉพ าะ โรค (Disease Specific Certification) การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม (Total Knee Replacement : TKR) และการผ่าตัดปลูกถ่ายอวัยวะตับ ( Liver Transplantation) ใ น ง า น ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร HA National Forum ค รั้ ง ที่ 1 7 โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.)

10) ได้รับมอบประกาศเกียรติคุณ ส าหรับการน าเสนอบทความ รางวัล Thailand Quality Conference มูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มในประเทศไทย(มสท.) ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ครั้งที่ 17 ประจ าปี 2559 ดังนี้

• ระบบการบริหารต้นทุนเพ่ือการจัดการที่เป็นเลิศ ของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 11) ได้รับมอบประกาศเกียรติคุณ ส าหรับการน าเสนอบทความ รางวัล Thailand Quality Conference

มูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มในประเทศไทย(มสท.) ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติครั้งที่ 18 ประจ าปี 2560 ดังนี้ • การจัดท าโปรแกรม Siriraj AR Reconcile Statement • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบการรับช าระเงินค่ารักษาพยาบาลโรงพยาบาลศิริราช

12) ได้รับมอบประกาศเกียรติคุณ ส าหรับการน าเสนอบทความ รางวัล Thailand Quality Conference

Page 6: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 6

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

มูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มในประเทศไทย(มสท.) ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติครั้งที่ 19 ประจ าปี 2561 ดังนี้ • โครงการเพิ่มประสิทธภิาพระบบรับช าระค่ารักษาพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช • โครงการพัฒนาระบบบริหารการตรวจสอบการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลที่ เป็นเลิศ

คณะแพทยศาสตร์ศริิราชพยาบาล • ระบบการบริหารเงินทุนวิจัยแบบครบวงจร • ระบบการจัดท ารายงาน เพื่อการบริหารจัดการตามสิทธิผู้ป่วย

3. การเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง ของ “ลูกค้าของกระบวนการที่น าเสนอ”

กลุ่มลูกค้า ความคาดหวัง/ ความต้องการที่ส าคัญ วิธีการประเมนิ/ผลลัพธ ์ ความถี ่

ระดับบริหาร

ผู้บริหาร

สามารถใช้ข้อมูลที่กลุ่มการลงทุนน าเสนอมาประกอบการตัดสินใจที่ทันการณ/์ทันการเปลี่ยนแปลงและมั่นใจว่าการลงทุนถูกต้องตามนโยบายการลงทุน ภายใต้ความเสี่ยงที่ยอมรับได ้มีการบันทึกรายการครบถ้วนถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชีในระบบและตรงกับทะเบียนหลักทรัพย์ รายงานต่างๆ มีความถูกต้องทันการณ์

- ได้รับการรายงานวิเคราะห์แผน-ผลการลงทุน รายงานสรุปการซื้อขายลงทุน รายงาน รายงานสถานการณ์การเงินการลงทุน รายงานผล การกระทบยอดการตรวจสอบ ความถูกต้องยอดเงินออมทรัพย์ผู้เก็บรักษาทรัพย์สินในระบบ SAP กับระบบ CUSTODIAN เม็ดเงิน เงินฝากธนาคารและรายการทางบัญชี - ตอบแบบสอบถาม ประเมินความพึงพอใจและแจ้งสิ่งที่ตอ้งการให้ปรับปรุงได้ทุกช่องทางการสื่อสาร

- ตามแผนที่ก าหนด รายวัน/รายไตรมาส/ราย 6 เดือน/รายป ี

ระดับปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเงินลงทุน

กลุ่มท างาน ด้านการลงทุน

สามารถมีข้อมลูที่ถูกต้องตามนโยบาย/เกณฑ์ เพื่อใช้ในการท างานระดับปฏิบัติการ

การสื่อสารภายในกลุ่มท างานด้านการลงทุนและช่องทางการจัดเก็บความรู้/ข้อมูล

- รายวัน/ ตามเหตุการณ ์

Page 7: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 7

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

กลุ่มลูกค้า ความคาดหวัง/ ความต้องการที่ส าคัญ วิธีการประเมนิ/ผลลัพธ ์ ความถี ่

Knowledge Management ระหว่างกลุ่มท างานของคณะฯ ผู้บริหาร ที่ปรกึษา ทีมศูนย์บริหารสินทรัพย์ (AMCMU) สถาบันการเงิน ตัวแทน/ผู้จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ ผู้จัดการกองทุน

หน่วยงานภายนอกคณะฯ

มหาวิทยาลัย มหิดล

รายงานการลงทุนของคณะฯ มีความถูกต้อง น าส่งทันตามก าหนด

ได้รับรายงานแผน-ผล การลงทุนตามก าหนด

- ราย 6 เดือน

ผู้เก็บรักษาทรัพย์สิน

ได้รับข้อมูลแจง้การลงทุนถูกต้อง ทันเวลา

ได้รับเอกสารแจ้งการลงทุนเพื่อจัดท าทะเบียนการรักษาส่งมอบหลักทรพัย์ให้ถูกต้อง

- รายวัน/ ตามเหตุการณ ์

4. กระบวนการและวิธีปฏิบัติในอดีต

ภาพที่ 2 วิธีปฏิบัติในอดีต

การจัดสรรเงนิลงทุน (Asset Allocation) ในอดีตการจัดสรรเงินลงทุนจากเงินคงเหลือที่ยังไม่ได้ใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์การใช้เงิน ไม่ได้แยกการลงทุน ตามระยะเวลาการใช้เงิน ท าให้ลงทุนอย่างระมัดระวัง (Conservative) การจัดท าแผนลงทุน จึงเน้นความเสี่ยงต่ า ไม่ได้มีเครื่องมือทางการเงิน เพื่อน ามาวิเคราะห์หรือตัดสินใจการลงทุนได้อย่างเป็นระบบ

Page 8: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 8

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ภาพที่ 3 การจดัสรรเงินลงทุนในอดีต

การด าเนินการซื้อขายหลักทรัพย ์ ในอดีตการซื้อขายหรือช าระราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ผ่านมหาวิทยาลัยมหิดล ใช้การด าเนินการประมาณ 2-3 เดือน เกิดความสูญเสียเวลาการท างานและโอกาสการลงทุน

ภาพที่ 4 การด าเนินการซื้อขายหลักทรัพยใ์นอดีต

การบันทึกบัญชีเงินลงทุนและตรวจสอบหลักทรัพย ์การบันทึกบัญชีจะด าเนินการต่อเมื่อได้รับเอกสารการรับ -จ่ายเงินจากกองคลัง พร้อมเอกสารประกอบ เช่น ส าเนาเงินฝากธนาคาร หรือส าเนาพันธบัตร เป็นต้น ท าให้การบันทึกบัญชีเสร็จสิ้นล่าช้าภายใน 7 วัน ส่วนการตรวจสอบหลักทรัพย์ดูจากระบบหลักทรัพย์ของกองคลังให้ตรงกับทะเบียนคุมหลักทรัพย์ในระบบ SAP ด้านปัญหาที่เกิดขึ้นเช่น ข้อมูลไม่ตรงกัน ใช้เวลาแก้ไขนานมากกว่า 7 วัน ไม่สามารถตรวจสอบได้เป็นปัจจุบัน

การรายงานขอ้มูลต่างๆ การรายงานข้อมูลเงินลงทุนประจ าเดือนไม่เป็นปัจจุบัน ไม่ทันสถานการณ์การเงิน ผู้บริหารได้ข้อมูลไม่ครบถ้วน ในการตัดสินใจ การประชุมในแต่ละครั้งท าให้ ได้รับข้อเสนอจากผู้บริหารให้ปรับการน าเสนอรายงาน และการด าเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

Page 9: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 9

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

5. กระบวนการและวิธีปฏิบัติที่ได้ปรับปรุงใหม่ การพัฒนากระบวนการบริหารเงินลงทุนได้วางแผนอย่างต่อเนื่องและปรับให้เหมาะสม เพื่อให้สามารถรองรับ

การท างานที่เกิดขึ้นอย่างบูรณาการ

ภาพที่ 5 แสดงการพัฒนากระบวนการบริหารเงินลงทุน

สภาวะการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ การเมือง การลงทุน และเทคโนโลยี ส่งผลกระทบต่อโอกาสการลงทุน ในการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อช่วยในการวางแผนและการตัดสินใจลงทุน การติดตามสภาวะการเปลี่ยนแปลงและการเรียนรู้เป็นทีมเพื่อศึกษาหาความรู้อยู่ตลอดเวลาโดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ทางการเงินใหม่ๆ เพื่อรองรับปรับตัวในการบริหารจัดการให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงได้อย่างทันการณ ์

Page 10: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 10

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ภาพที่ 6 แสดงกระบวนการบริหารเงินลงทุนในปัจจุบัน

1. ประมาณการรายรับและรายจ่าย เพื่ อ ให้สามารถมองภาพของการเข้ าออกของเงิน (Cash Flow) ต้องการน าไปบริหารจัดการ ด าเนินการโดยกลุ่มท างานด้านการลงทุนประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบด้าน การเงิน การลงทุน งบประมาณ บัญชี ซึ่งจัดให้มีการประชุมเริ่มโครงการ สร้างวิธีการสื่อสารให้เกิดความสะดวก เพื่อแจ้งข้อมูลต่างๆ รวมถึงการคิดเชิงระบบในการท างานที่มีการมองภาพสุดท้ายในการบันทึกรายการบัญชีที่ เกิดขึ้นในแต่ละธุรกรรมทางการเงินเพื่อให้ทันต่อเวลา และถูกต้องตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย (Thai Financial Reporting Standard – TFRS)

ภาพที่ 7 แสดงกลุ่มท างานด้านการลงทุน

Page 11: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 11

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

2. ศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ทางการเงินต่างๆ ทีมเงินลงทุนประสานงานกับผู้ เชี่ยวชาญ ด้านการลงทุนได้แก่ สถาบันการเงินที่มีชื่อเสียงและธนาคารพาณิชย์ต่างๆ ซึ่งเป็นพันธมิตรและที่ปรึกษาภายนอก เพื่อรวบรวมข้อมูลที่จ าเป็นและประมาณการผลตอบแทนที่ได้รับในอนาคต โดยจะใช้ข้อมูลทั้งหมดเพื่อน ามาพิจารณาภายใต้กฎระเบียบ ข้อบังคับ รวมถึงนโยบายลงทุนในการประกอบการจัดท า แผนลงทุน การจัดสรรเงินลงทุน น าเสนอให้กับผู้บริหารหรือคณะกรรมการต่างๆที่เกี่ยวข้องในการพิจารณา และตัดสินใจ

ภาพที่ 8 แสดงองค์ประกอบการจัดท าแผนลงทุน

ภาพที่ 9 แสดงขั้นตอนการน าเสนอแผนลงทุน

Page 12: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 12

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

3. ด าเนินการลงทุนหรือซื้อขายในรูปแบบหลักทรัพย์กับสถาบันการเงินต่างๆ โดยจะด าเนินการผ่านระบบ ผู้เก็บรักษาทรัพย์สิน ซึ่งวิธีการดังกล่าวสามารถท าการตรวจสอบหรือกระทบยอดรายการได้ตลอดเวลาบริการผู้รับฝากทรัพย์สิน (Custodian) จัดท าขึ้น โดยจะได้รับรายงานซึ่งสรุปยอดรวมทรัพย์สินที่ได้ฝากไว้กับธนาคารเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งลงนามโดยผู้มีอ านาจของธนาคารยืนยันและรับรองความถูกต้อง ของข้อมูลดังกล่าว ธนาคารจะจัดส่งรายงานสรุปยอดรวมทรัพย์สินให้กับลูกค้าภายในระยะเวลาที่ระบุไว้ ในหนังสือสัญญาการใช้บริการรับฝากทรัพย์สินที่ผู้ ใช้บริการได้ตกลงไว้กับธนาคาร และบริการ งานปฏิบัติการจัดการกองทุน (Fund Accounting Operation Management) โดยได้รับงานปฏิบัติการจัดการกองทุนจะได้รับรายงานแสดงมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ งบการเงิน รวมทั้งรายงานอื่นใดตามที่ส านักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. จะก าหนด และ/หรือ ตามที่ได้ตกลง ซึ่งลงนามโดยผู้มีอ านาจของธนาคารยืนยัน และรับรองความถูกต้องของข้อมูลดังกล่าว ธนาคารจะจัดส่งรายงานต่างๆ ดังกล่าวให้กับลูกค้า ตามระยะเวลาในหนังสือสัญญาการใช้ บริการงานปฏิบัติการจัดการกองทุนที่ผู้ใช้บริการได้ตกลงไว้ กับธนาคาร นอกจากนี้ ข้อมูลในส่วนของ Corporate Action ที่ปรากฏบน Web Site ของธนาคาร ได้ถูกจัดท าขึ้นโดยการน าข้อมูลมาจากแหล่งต่างๆ ที่น่าเช่ือถือได้

4. ตรวจสอบข้อมูลการซื้อขายหลักทรัพย์ กับรายการค าสั่งซื้อขายหลักทรพัย์จากระบบผู้เก็บรักษาทรัพย์สิน (ภายในวันที่มีเกิดธุรกรรมทางการเงิน) โดยค าสั่งซื้อขายหลักทรัพย์จะถูกด าเนินการจัดท าโดยทีมเงินลงทุน และเมื่ออนุมัตเิรียบร้อยแล้วจะถูกด าเนินการช าระเงินผ่านระบบผู้เกบ็รักษาทรัพย์สินหรือทีมการเงิน

ภาพที่ 10 แสดงขั้นตอนการซื้อขายหลักทรพัย์

Page 13: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 13

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

5. บันทึกรายการลงทุนที่ เกิดจากการซื้อขายหลักทรัพย์ ตามที่ได้มีการออกแบบบัญชีไว้ในระบบ SAP โดยบันทึกรายการจะต้องบันทึกรายการในส่วนต่างๆ ให้ครบถ้วน ได้แก่ เงินที่น าไปลงทุน ดอกผล ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและผลประโยชน์ที่ได้รับจริง เพื่อให้สามารถรายงานผลการด าเนินการอย่างถูกต้องและครบถ้วน พร้อมทั้งมีการจัดท าคู่มือการบันทึกรายการต่างๆ เพือ่ใช้เป็นหลักในการปฏิบัติต่อไป

ภาพที่ 11 แสดงตัวอย่างคู่มือการจัดท าบัญชีเงินลงทุน

Page 14: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 14

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

6. ติดตามผล รายงานผลการด าเนินงาน และอื่นๆ เพื่อให้ผู้บริหารทราบอย่างต่อเนื่อง

ตารางที่ 1 แสดงสรุปการติดตามและรายงานต่อผู้บริหาร ความถี่ ช่องทางน าเสนอ กลุ่มท างานด้านการลงทนุ รายวัน ไลน์กลุ่มหรืออเีมล ์ - รายงานสถานการณ์การเงินการลงทุน

- สรุปการซื้อขายลงทุน - รายงานตรวจสอบความถูกต้องของยอดเงิน ออมทรัพย์ผู้เกบ็รักษาทรัพย์สินในระบบ SAP กับระบบ CUSTODIAN KBANK

รายเดือน ที่ประชุมฝ่ายการคลัง - รายงานสรุปข้อมูลเงินลงทนุ ระบบ Tableau Report - รายงานสรุปสถานะลงทุน (Portfolio Status)

- รายงานผลตอบแทนของแต่ละเดือน - รายงานผลตอบแทนต่อป ี

รายไตรมาส ที่ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาการลงทุนในตลาดเงินและตลาดทุน

และที่ประชุมคณะกรรมการเศรษฐกิจ

- รายงานผลและแผนลงทุน

ราย 6 เดือน ที่ประชุมคณะกรรมการประจ าคณะฯ - รายงานผลและแผนลงทุน 6. การวัดและวิเคราะห์คุณภาพของผลการท างาน และประโยชน์ที่ได้รับ

1. อัตราผลตอบแทนเงินลงทุนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (Benchmark)

สามารถรักษาสภาพคล่องให้เหมาะสม โดยไม่มีการไถ่ถอนเงินลงทุนก่อนครบก าหนด

ภาพที่ 12 แสดงอัตราผลตอบแทนเงินลงทนุสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน

Page 15: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 15

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

หมายเหตุ : ข้อมูลผลตอบแทนต่อปี ณ สิ้นปีงบประมาณ เกณฑ์มาตรฐาน 1 คือ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ า 1 ปีที่กองทุนส ารองเลี้ยงชีพพึงได้รับเฉลี่ยของ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย บมจ.ธนาคารไทยพาณิชย ์และ บมจ.ธนาคารกรุงเทพ (วงเงิน 1 ล้านบาท) เกณฑ์มาตรฐาน 2 คือ อัตราดอกเบี้ยออมทรัพย์ของ บมจ.ธนาคารไทยพาณิชย์ ซึ่งเป็นธนาคารหลักในการด าเนินงาน แต่ในปี 58 - 61 เป็นอัตราดอกเบี้ยออมทรัพย์พิเศษ (โดยปี 58 เริ่มด าเนินการบริหารจัดการเงินสด)

2. สรุปผลส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการบริหารเงินลงทุน

สรุปภาพรวมความพึงพอใจมากที่สุด เท่ากับ ร้อยละ 93 โดยมีเพียงกลุ่มผู้บริหารที่เป็นบุคลากรภายนอกฝ่ายคลัง

เท่านั้นที่มีผลภาพรวมความพึงพอใจมาก เท่ากับ ร้อยละ 7

ก ารวั ด ผ ล ได้ ค รอ บ ค ลุ ม โด ย ค านึ ง ถึ งแ น วคิ ด 3 ห ลั ก ก ารห ลั ก ได้ แ ก่ Investment PDCA & CQI Risk Management & Compliance ที่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดี นอกจากนี้ปี 2562 ได้รับข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเห็น จากผู้ใช้ระบบ ดังนี ้

ด้าน Smart Process

“เพิ่มเติมแนวทางการลงทุนประเภทอื่นได ้ถ้าม”ี

“หาข้อดีข้อเสีย ประกอบการตัดสินใจ”

“ลดเอกสารที่เป็นกระดาษ”

ด้าน Smart Policy

“พัฒนากรอบการลงทุนให้ยืดหยุ่น เพื่อรับกับสภาพแวดล้อมการลงทุนที่เปลี่ยนไป”

ตารางที่ 2 แสดงผลส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบการบริหารเงินลงทุนครบวงจร

ล าดับที่ กลุ่มผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจ จ านวน

(คน) สัดส่วน (%)

ภาพรวม ความพึงพอใจ

1 คณะอนุกรรมการพิจารณาการลงทุนในตลาดเงินและตลาดทุน 8 28 มาก ถึง มากที่สุด

1.1 ผู้บริหารฝ่ายการคลัง 6 21 มากที่สุด

1.2 ผู้บริหารที่เป็นบุคลากรภายนอกฝ่ายการคลัง 2 7 มาก

2. ผู้ประเมินภายในองค์กรและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเงินลงทุน 12 41 มากที่สุด 3 ผู้ประเมินภายนอกองค์กร (ผู้เก็บรักษาทรัพย์สิน สถาบันการเงิน ฯลฯ) 9 31 มากที่สุด

รวม 29 100 มาก ถึง มากที่สุด

Page 16: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 16

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ประโยชน์ที่ได้รับ

เกิดกระบวนการท างานที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนอย่างเป็นระบบ มีการจัดท าแผนลงทุนแยกตามระยะเวลา

การใช้เงิน ก าหนดกลยุทธ์และด าเนินการลงทุนตามแผน รวมทั้งติดตามประเมินผลการลงทุนและปรับปรุง

พร้อมให้ตรวจสอบ

ภาพที่ 13 แสดงกระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

Page 17: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 17

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

มีการรายงานแผน-ผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง ทั้งรายเดือน รายไตรมาส และพัฒนารูปแบบรายงาน ให้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ าพ ใน รู ป แ บ บ ที่ ทั น ส มั ย เส ริ ม ก า ร วิ เค ร าะ ห์ ติ ด ต าม ผ ล แ ล ะ ก ารตั ด สิ น ใจ การน าเสนอข้อมูลรายเดือนแก่ผู้บริหารผ่านระบบสารสนเทศ เช่น Tableau Report

ภาพที่ 14 แสดงตัวอย่าง Tableau Report

ราย งาน ตรวจสอบ ความถู กต้ อ งขอ งยอด เงิน ออมท รัพ ย์ ผู้ เก็ บ รั กษ าท รัพ ย์ สิ น ใน ระบ บ SAP กับระบบ CUSTODIAN รายวัน ผ่านช่องทางไลน์กลุ่ม

ภาพที่ 15 แสดงตัวอย่างการรายงานตรวจสอบความถูกต้องยอดเงินออมทรัพย์รายวันผ่านช่องทางไลน์กลุ่ม

Page 18: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 18

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

7. ความท้าท้ายต่อไป การบริหารเงินลงทุนของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลอยู่ภายใต้นโยบายการลงทุนของมหาวิทยาลัยมหิดล

ความท้าทายที่ส าคัญ คือ การผลักดันกรอบการลงทุนใหม่หรือตราสารใหม่ๆ และปรับเปลี่ยนข้อจ ากัดการลงทุน

เพื่อให้ยืดหยุ่นกับสถานการณ์การลงทุนในปัจจุบันและเพื่อเพิ่มโอกาสในการลงทุนอีกทั้งผลประโยชน์ที่ดีที่สุดให้แก่คณะฯ

ภาพที่ 16 แสดงความท้าทายในอนาคต

8. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการแก้ไข

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้มีการปรับเปลี่ยนอย่างต่อเนื่อง

เพื่ อ เป็นไปตามแนวทางผู้บริหารและนโยบายการลงทุนของมหาวิทยาลัยมหิดลและที่ ส าคัญปรับ เปลี่ ยน

ตามสภาพแวดล้อมการลงทุนที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ การเงินการลงทุน และเทคโนโลย ี

ตารางที่ 3 แสดงสรุปปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข

ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข

- การเปลี่ยนแปลงนโยบายการท างานใหม ่ที่ต้องใช้ระบบผู้รับฝากทรัพยส์ิน (Custodian) มาด าเนินการซื้อขายหลักทรัพย์ ช าระราคา ส่งมอบ พร้อมรายงาน

- จัดประชุม ศึกษาดูงานและอบรม เพื่อเตรียมพร้อมในการท างาน ร่วมกับ Custodian

- กรณีเกิดปัญหาได้มีการจัดประชุม โดยทันที เช่น จัดประชุมทางโทรศัพท์กับผู้เกี่ยวข้อง

- การจัดท าแผนการลงทุน - ความเข้าใจความรู้การลงทุน

- กลุ่มการท างาน ร่วมกันจัดประชุม เพื่อวางแนวทางการท างาน ข้อมูลรายรับ-จ่าย แผนงบประมาณประจ าป ี

- ศึกษา ดูงาน และอบรม เรื่อง การจัดสรรเงินลงทุน และเครื่องมอืการลงทุนต่างๆ

Page 19: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 19

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข

- ร่วมกับผู้เช่ียวชาญการลงทุนภายนอก เพื่อแนะแนวทาง/ปรึกษามุมมอง การลงทุน

- การบันทึกบัญชีและรายงานทางการเงิน ตามมาตรฐานบัญชีที่ต้องพัฒนาไปตามแนวทางการลงทุนใหม่ๆ ขาดความเข้าใจในหลักทรัพย์ เกดิปัญหาในการบันทึก ไม่ถูกต้อง

- จัดท าคู่มือการท างาน - มีการทบทวนคู่มือ เพ่ือให้เป็นปัจจุบัน - จัดส่งทีมงานอบรม สัมมนา - ประชุมร่วมกับกลุ่มท างานที่เกี่ยวข้อง

เพื่อเตรียมความพร้อมการท างานในเรื่องใหม่ๆ

- การรายงานข้อมูลเงินลงทุนไม่เป็นปัจจุบัน หรือการน าเสนอในที่ประชุมยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการผู้บริหารได ้

- ปรับเปลี่ยนการรายงานข้อมูล ให้เป็นปัจจุบันโดยใช้กระบวนการที่พัฒนาขึ้นใหม ่

- มีการรายงานสถานการณ์การเงิน การลงทุนรายวัน

- มีการน าเสนอรายงานข้อมูลเงินลงทุนในทุกระดับ ตัง้แต่ ผู้บริหาร ฝ่ายการคลงั ในที่ประชุมฝ่ายการคลัง ผู้บริหารระดับสูงในที่ประชุมเศรษฐกิจและที่ประชุมประจ าคณะฯ

Page 20: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 20

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ภาพที่ 17 แสดงตัวอย่างแนวทางการแก้ไขระดับปฏิบัติการ

Page 21: บทความฉบับเต็ม (TQM Full Paper)ftqm.or.th/images/document/symposium/2019-20/Fullpaper/...12) ได ร บมอบประกาศเก ยรต ค

กระบวนการบริหารเงินลงทุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 21

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

9. ปัจจัยแห่งความส าเร็จ และความยั่งยนื

ปัจจัยหลักที่ท าให้กระบวนการบริหารเงินลงทุนบรรลุประสิทธิผลได้อย่างยั่งยืน ได้แก่ 3 องค์ประกอบที่สัมพันธ์กัน ได้แก่

คน People : การบริหารจัดการคนตั้งแต่การจัดตั้งกลุ่มท างาน การพัฒนาคนให้เห็นคุณค่าความผูกพันองค์กร ที่มุ่งเป้าหมายงานร่วมกัน มีส่วนร่วมในการออกแบบขบวนการท างานเพื่อให้การท างานเป็นทีมบรรลุเป้าหมาย ส่ งเสริม ให้ เกิ ดบรรยากาศการเรียนรู้ ร่ วมกัน เพื่ อการพัฒนางานอย่ างต่อ เนื่ อ ง จัดท าคู่ มื อสอนงาน สร้าง Next Successor การจัดการความรู้ รวบรวม สะสม แบ่งปัน แลกเปลี่ยนทักษะประสบการณ์ทั้งในกลุ่มท างานภายในคณะฯ รวมถึงการแลกเปลี่ยนข่าวสารความรู้ที่ได้จากผู้บริหาร ที่ปรึกษา ทีมศูนย์บริหารสินทรัพย์มหาวิทยาลัยมหิดล (AMCMU) สถาบันการเงิน ตัวแทน/ผู้จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ ผู้จัดการกองทุนอีกด้วย

ขบวนการ Process : การออกแบบและจัดการขบวนการที่น าเอา Voice of Customers ปัญหาของกระบวนการเดิม Pain Point มาร่วมออกแบบที่ค านึงถึง Compliance & Risk Management ก าหนดผู้รับผิดชอบ หน้าที่ แม่นย าเคร่งครัดตามนโยบาย แต่มีความคล่องตัวในการปรับตัวตามกรอบและสถานการณ์ เพื่อให้ทัน การเปลี่ยนแปลงในระดับปฏิบัต ิ

นโยบาย Policy : การด าเนินการตามกรอบนโยบายที่ทุกคณะฯ ภายใต้มหาวิทยาลัยมหิดลต้องยึดมั่นตามผู้บริหารให้นโยบายอันส าคัญเรื่องความถูกต้อง ความเชื่อถือได้พร้อมให้ตรวจสอบของระบบ ข้อมูล สารสนเทศ ยอดเงิน และประสิทธิภาพของบุคลากรที่ด าเนินการตามขบวนการที่ออกแบบ เพิ่มความเชื่อมั่นในขบวนการตรวจทาน ความถูกต้อง การตรวจสอบ การกระทบยอดทั้งระบบภายในและระบบรายงาน การยืนยันยอดจากผู้ดูแลทะเบียนหลักทรัพย์ภายนอก Custodian นอกจากนี้ยังวางนโยบายเสริมการจัดการความรู้เพื่อให้บุคลากร ทีมผู้บริหาร ผู้เกี่ยวข้องได้มีข่าวสารความรู้ที่เท่าทันพร้อมรับกับการบริหารงานและการปฏิบัติการเพื่อให้เกิดความยั่งยืน ท าให้เกิดความต่อเนื่องในการด าเนินการไปสู่ความส าเร็ จที่ ไม่ขึ้นกับบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือกลุ่มงานใด เพียงกลุ่มเดียว

10. เอกสารอ้างอิง (ถ้ามี)

ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่องกรอบนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดหาประโยชน์จากเงินรายได้ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2561