Top Banner
คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค คคค คคคคคคคคคคคคคคคคคค 1. นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน 2. นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนน 3. นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน 4. นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนน นนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน 5. นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน 6. นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน น นนน นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนน นนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนน คคคคคคคคคค 1. นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนน นนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนน นนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนนนนนนนนนนนน 1
41

ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

Dec 28, 2019

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

คำ�ชีแ้จงสำ�หรบันักเรยีนในก�รใชชุ้ดก�รสอน

วธิศึีกษ�ชุดก�รสอน

1. นักเรยีนอ่านคำาชีแ้จงสำาหรบันักเรยีนในการใชชุ้ดการสอน2. นักเรยีนอ่านสาระมาตรฐานการเรยีนรูช้ว่งชัน้ ผลการ

เรยีนรูท้ี่คาดหวงัและ แนวคิดหลัก

3. นักเรยีนศึกษาเน้ือหาตามชุดการสอน4. นักเรยีนทำาแบบฝึกกิจกรรมแต่ละเน้ือหา เมื่อทำาเสรจ็แล้ว

ตรวจคำาตอบด้วยตนเองได้ใน หน้าถัดไป จะทำาใหนั้กเรยีนทราบผลการเรยีนของตนเอง

ทันทีวา่ตอบถกูหรอืตอบผิด5. นักเรยีนทำาแบบทดสอบหลังเรยีน6. นักเรยีนปฏิบติักิจกรรมต่าง ๆ ตามกำาหนดใหค้รบทกุ

กิจกรรม เพื่อใหก้ารเรยีนการสอน บรรลเุป้าหมาย ตามผลการเรยีนรูท้ี่คาดหวงั

ขอ้เสนอแนะ

1. นักเรยีนควรตัง้ใจศึกษาเน้ือหา และทำาแบบฝึกกิจกรรม ด้วยตนเอง จนครบด้วยความซื่อสตัย ์ไมค่วรดเูฉลยก่อน หรอืดขูณะทำาแบบฝึกกิจกรรม การทำาแบบฝึกกิจกรรมจะทำาใหนั้กเรยีนได้เรยีนรูด้้วยตนเอง จนทำาใหเ้กิดความเขา้ใจในเน้ือหามากขึ้น ทำาใหนั้กเรยีนมคีวามรูแ้ละเกิดความมัน่ใจในการนำาไปประยุกต์ใชอ้ยา่งถกูต้องและเหมาะสม

1

Page 2: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

2. นักเรยีนควรอ่านเน้ือหาและทำากิจกรรมไปตามลำาดับโดยไม่เวน้หน้า ไมค่วรเปิดขา้มเน้ือหา เพราะจะทำาใหเ้น้ือหาขาดความสมัพนัธ์ต่อเน่ืองกัน

3. ถ้ามคีำาสัง่ หรอืคำาถามต้องปฏิบติัตามนัน้อยา่งเครง่ครดั4. ตรวจคำาตอบด้วยตนเองจากเฉลยซึ่งอยูด่้านหลังของแบบ

ฝึกกิจกรรม ถ้าตอบถกูใหนั้กเรยีนศึกษาเน้ือหาต่อไป ถ้าตอบผิดใหก้ลับไปศึกษาเน้ือหาเดิมอีกครัง้แล้วแก้คำาตอบท่ีผิดใหถ้กูก่อนศึกษาเน้ือหาต่อไป

5. เมื่อศึกษาชุดการสอนแล้ว มกีารทดสอบหลังเรยีน ให้นักเรยีนทำาขอ้ทดสอบ แล้ว ตรวจคำาตอบด้วยตนเอง

6. นักเรยีนต้องมคีวามซื่อสตัยต่์อตนเอง ไมค่วรเปิดดเูฉลยก่อน ก่อนท่ีนักเรยีนจะใชค้วามสามารถทำาแบบฝึกกิจกรรมและแบบทดสอบหลังเรยีน

ก�รเปลี่ยนแปลงผันกลับได้ (Reversible change)

ส�ระท่ี 3 : ส�รและสมบติัของส�ร

ม�ตรฐ�นก�รเรยีนรู ้ ว 3.2 : เขา้ใจหลักการและธรรมชาติของการเปล่ียนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิรยิาเคม ีมกีระบวนการสบืเสาะหาความรู ้และจติวทิยาศาสตร ์สื่อสารสิง่ท่ีเรยีนรูแ้ละนำาความรูไ้ปใชป้ระโยชน์

ม�ตรฐ�นก�รเรยีนรู ้ ว 8.1 : ใชก้ระบวนการทางวทิยาศาสตรแ์ละจติวทิยาศาสตรใ์นการสบืเสาะหาความรู ้การแก้ปัญหา รูว้า่ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสว่นใหญ่มรูีปแบบที่แน่นอน สามารถอธบิายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอ้มูลและเครื่องมอืท่ีมอียูใ่น

2

Page 3: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

ชว่งเวลานัน้ ๆ เขา้ใจวา่วทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลยี สงัคม และสิง่แวดล้อม มคีวามเกี่ยวขอ้งสมัพนัธก์ัน

ผลก�รเรยีนรูท่ี้ค�ดหวงั

1. สบืค้น อภิปราย สำารวจตรวจสอบ และทดลอง เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงที่ผันกลับได้

2. อธบิายเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงที่ผันกลับได้ จุดประสงค์ก�รเรยีนรู้

1. อธบิายความหมายของการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นในทิศทางเดียว การเปล่ียนแปลง ไปขา้งหน้า การเปล่ียนแปลงยอ้นกลับ และ การเปล่ียนแปลงผันกลับได้ได้

2. บอกวธิทีดสอบปฏิกิรยิาที่เกิดขึ้นทิศทางเดียวและปฏิกิรยิาผันกลับได้ได้

3. จำาแนกและสรา้งเกณฑ์เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงท่ีผันกลับได้

แนวคิดหลัก

การเปล่ียนแปลงผันกลับได้ คือเรื่องการละลายของสารในสารละลายอ่ิมตัวและ

3

Page 4: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

ระบบ

ระบบปิด ระบบโดด

การเกิดปฏิกิรยิาเคม ีโดยบางปฏิกิรยิาผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดขึ้นสามารถทำาปฏิกิรยิากันยอ้นกลับมาเป็นสารตัง้ต้นได้อีก เรยีกวา่ปฏิกิรยิาท่ีผันกลับได้ เมื่อสารตัง้ต้นทำาปฏิกิรยิากันเป็นผลิตภัณฑ์เรยีกวา่ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้าสว่นปฏิกิรยิาที่ผลิตภัณฑ์ทำาปฏิกิรยิากันกลับมาเป็นสารตัง้ต้นเรยีกวา่ปฏิกิรยิายอ้นกลับ ผังมโนทัศน์

1.ระบบเปิดระบบปิด

ก�รเปล่ียนแปลงผันกลับได้

ก�รเปล่ียนสถ�นะ ก�รละล�ยเป็น

ส�รละล�ย

4

ระบบ

ก�รเกิด

ระบบเปิด - ระบบปิด

Page 5: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

ระบบ (system) หมายถึง ขอบเขตของสิง่ต่างๆ ที่เราสนใจและกำาลังศึกษาทดลองอยู ่และสิง่ต่างๆ ท่ีอยูน่อกระบบเรยีกวา่ สิง่แวดล้อม สิง่แวดล้อมน้ีอาจมผีลหรอืไมม่ผีลต่อระบบ ตัวอยา่งเชน่ การศึกษาการละลายของตะกอน BaSO4 ในนำ้า

BaSO4 (s) Ba2+ (aq) + SO42- (aq)

Ba2+ , SO42- ตะกอน BaSO4 และนำ้าเป็นสว่นของระบบ

สว่นอากาศที่อยูร่อบๆ จดัเป็นสิง่แวดล้อม ในกรณีนี้อากาศไมม่ผีลต่อระบบ

ระบบแบง่ออกได้เป็น 3 ประเภทด้วยกันคือ

1. ระบบเปิด (opened system) หมายถึง ระบบที่ม ีการถ่ายเทมวลสารและพลังงานกับสิง่แวดล้อม นัน่คือ มวลของสารไมค่งที่ เชน่ การต้มนำ้าในกา นำ้าจะเปลี่ยนเป็นไอนำ้าฟุง้กระจายออกจากระบบจงึจดัเป็นระบบเปิด

2. ระบบปิด (closed system) หมายถึง ระบบที่มกีารถ่ายเทพลังงานกับสิง่แวดล้อม แต่ไมม่กีารถ่ายเทมวลของสารระหวา่งระบบกับสิง่แวดล้อม เชน่ การระเหยของนำ้าในภาชนะปิดที่กล่าวแล้วขา้งต้น หรอื การละลายของตะกอน BaSO4 ทัง้สองกระบวนการไมม่กีารถ่ายเทมวลใหก้ับสิง่แวดล้อมแต่อยา่งใด

3. ระบบโดดเด่ียว (isolated system) หมายถึง ระบบที่ไมม่กีารถ่ายเทมวลและพลังงานกับสิง่แวดล้อม ตัวอยา่งเชน่ นำ้ารอ้นท่ีเก็บไวใ้นกระติกนำ้ารอ้น

ตัวอย�่งก�รเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึน้ในระบบเปิด

1. การเผากรดโบรกิ (H3BO3) จะสลายตัวใหไ้ดโบรอนไตรออกไซด์ ( B2O3 )และ

5

Page 6: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

ไอนำ้า (H2O )H3BO3 (s) B2O3 (s) + H2O (g)

ในระบบนี้ ไอนำ้าที่เกิดจากการเผาไหมจ้ะระเหยออกไปจากระบบได้ มวลของสารมกีารเปล่ียนแปลง คือลดลง ระบบน้ีจดัเป็นระบบเปิด

2. เมื่อนำานำ้าปูนใสตัง้ทิ้งไวใ้นภาชนะเปิด จะพบวา่มฝ้ีาขาวเกิดขึ้น ทัง้นี้ เพราะแก๊ส CO2 จากอากาศเขา้มาทำาปฏิกิรยิากับนำ้าปูนใสทำาใหเ้ก ิดการเปลี่ยนแปลงของระบบและมวลของสารเพ ิม่ข ึ้น

Ca(OH)2 ( aq ) + CO2( g ) CaCO3 ( s ) + H2O( l ) ระบบน้ีจงึเป็นระบบเปิด 3. การหลอมเหลวแนพทาลีนในถ้วยกระเบื้องเคลือบ แนพทาลีนระเหยกลายเป็นไอฟุง้กระจายออกไป จากระบบได้ มวลของระบบเปล่ียนไป จงึจดัเป็นระบบเปิด

ตัวอย�่งก�รเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึน้ในระบบปิด

1. การนำาเอาสารละลายซลิเวอรไ์นเตรต (AgNO3) ทำาปฏิกิรยิากับสารละลายกรดไฮโดรคลอรคิ ( HCl ) ได้ตะกอน ซลิเวอรค์ลอไรด์ (AgCl) และ สารละลายกรดไนตรกิ(HNO3 )

AgNO3 ( aq ) + HCl ( aq ) AgCl (s) + HNO3( aq )

มวลของสารในระบบนี้คงที่ไมม่กีารเปลี่ยนแปลง ระบบนี้จงึจดัวา่เป็นระบบปิด

2. เกล็ดไอโอดีน I2 (s) เมื่อใสใ่นภาชนะปิดจะเกิดการระเหดิกลายเป็นไอ

I2 (s) I2 (g)มวลของ I2 ยงัคงที่ เพยีงแต่มกีารเปล่ียนสถานะ ดังนัน้ จงึถือ

ได้วา่ระบบน้ีเป็นระบบปิด

6

Page 7: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

ดังรูป

รูปท่ี 1 การระเหดิของไอโอดีนในภาชนะปิด ที่มา : สถาบนัสง่เสรมิการสอนวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธกิารหน้า 49

3. การละลายของนำ้าตาลทรายในนำ้า นำ้าตาลที่เป็นของแขง็จะละลายเป็นสารละลาย แต่มวลของนำ้าตาลและนำ้าคงที่ มแีต่การเปล่ียนแปลงสถานะของระบบ ซึ่งจะดดูความรอ้นในขณะท่ีละลาย ทำาใหอุ้ณหภมูลิดลง จงึจดัเป็นระบบปิด

C6H12O6 (s) C6H12O6 (aq)

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบสามารถสรุปได้เป็นประเภทการเปล่ียนแปลง ดังน้ี

1. ก�รเปลี่ยนแปลงสถ�นะ เชน่ การกลายเป็นไอของนำ้าในภาชนะปิด นำ้าเปล่ียนสถานะจากของเหลวเป็นไอ H2O (l) H2O (g) หรอืการระเหดิของไอโอดีนในภาชนะปิด ซ ึ่งเปลี่ยนสถานะไอโอดีนจากของแขง็เป็นไอ I2 (s) I2 (g) ดังนัน้ ในระบบอาจมี

7

ก�รเปล่ียนแปลงท่ีเกิดในระบบ

H2O

Page 8: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

การเปลี่ยนสถานะจากของแขง็เป็นของเหลว หรอืจากของเหลวเป็นไอ หรอืจากไอเป็นของแขง็ อยา่งใดอยา่งหน่ึง

รูปที่ 2 เปรยีบเทียบการระเหยของของเหลวในภาชนะเปิดและปิดที่มา : สถาบนัสง่เสรมิการสอนวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลยกีระทรวงศึกษาธกิารหน้า 49

2. ก�รเกิดส�รละล�ย เชน่ การละลายของ O2 ในนำ้า การละลายของเกลือซึ่งเป็นของแขง็ในนำ้า หรอืการละลายของของเหลวในนำ้า เชน่ การละลายของแอลกอฮอล์ในนำ้า สารละลายที่ได้นี้อาจเกิดการผันกลับได้ เชน่การละลายของเกลือ NaCl ในนำ้า ได้สารละลาย แต่เมื่อใหค้วามรอ้น จะเกิดการตกผลึกของเกลือ NaCl กลับมา

NaCl (s) + H2O (l) Na+ (aq) + Cl- (aq)

8

ก�ร

ก�ร

Page 9: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

รูปท่ี 3 สารละลายอ่ิมตัวของโซเดียมคลอไรด์ในนำ้า ที่มา : สถาบนัสง่เสรมิการสอนวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลยกีระทรวงศึกษาธกิารหน้า 45

3. ก�รเกิดปฏิกิรยิ�เคม ีการเปลี่ยนแปลงในระบบ อาจเกิดปฏิกิรยิาเคมไีด้ เชน่ สารละลาย

คอปเปอร (์II) ซลัเฟตและโซเดียมคลอไรด์ในภาชนะปิดเมื่อเพิม่อุณหภมูสิจีะเปลี่ยนเป็นสเีขยีว และเมื่อลดอุณหภมูสิจีะเปลี่ยนเป็นสนีำ้าเงินแสดงวา่มกีารเปล่ียนแปลงไปขา้งหน้าและยอ้นกลับได้

Cu(H2O)4 2+ (aq) + 4Cl -(aq) CuCl4

2-(aq) + H2O(l)

การเปลี่ยนแปลงในระบบนี้อาจเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ หรอืผันกลับไมไ่ด้ ขึ้นอยูก่ับชนิดของการเปลี่ยนแปลง หรอืปฏิกิรยิานัน้ๆ และขึ้นอยูก่ับภาวะของการเปล่ียนแปลง

9

เมื่อเพิม่

เมื่อลด

แบบฝึกกิจกรรมท่ี

1.1

Page 10: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

เรื่อง ระบบเปิดระบบปิด

คำ�ชีแ้จง ใหนั้กเรยีนทำาเครื่องหมาย ลงในตารางต่อไปน้ี ขอ้ใดจดัเป็นระบบปิดและ ขอ้ใดจดัเป็นระบบเปิด

การเปล่ียนแปลงสารหรอืปฏิกิรยิาเคมีของสาร

ระบบปิด ระบบเปิด

1. การหงุขา้ว2. การละลายของ KI ในนำ้าที่บรรจุในบกีเกอร์3. การเผา CaCO3 ในภาชนะเปิด4. ปฏิกิรยิาสะเทินระหวา่งกรด HCl กับ NaOH5. การเผา Pb(NO3)2

6. ปฏิกิรยิาระหวา่ง CaCO3 กับกรดเกลือเจอืจาง7. ใสช่ิน้โลหะทองแดงลงในสารละลายกรด HNO3 เจอืจาง8. ละลายกรด HCN ในนำ้า9. การหลอมแนพทาลีนในชามกระเบื้องเคลือบ10. ตัง้บกีเกอรใ์สน่ำ้าปูนใสไวบ้นโต๊ะจนกระทัง่มฝ้ีาสขีาว ลอยอยูบ่นผิวนำ้าปูนใส

10

ดเูฉลยหน้�ต่อไปนะครบัอย�กรูจ้งัเลย

Page 11: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

เรื่อง ระบบเปิดระบบปิด

การเปล่ียนแปลงสารหรอืปฏิกิรยิาเคมีของสาร

ระบบปิด ระบบเปิด

1. การหงุขา้ว2. การละลายของ KI ในนำ้าที่บรรจุในบกีเกอร์3. การเผา CaCO3 ในภาชนะเปิด4. ปฏิกิรยิาสะเทินระหวา่งกรด HCl กับ NaOH5. การเผา Pb(NO3)2

6. ปฏิกิรยิาระหวา่ง CaCO3 กับกรดเกลือเจอืจาง7. ใสช่ิน้โลหะทองแดงลงในสารละลายกรด HNO3 เจอืจาง8. ละลายกรด HCN ในนำ้า9. การหลอมแนพทาลีนในชามกระเบื้องเคลือบ10. ตัง้บกีเกอรใ์สน่ำ้าปูนใสไวบ้นโต๊ะจน

11

เฉลยแบบฝึกกิจกรรมท่ี 1.1

Page 12: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

กระทัง่มฝ้ีาสขีาว ลอยอยูบ่นผิวนำ้าปูนใส

กิจกรรมท่ี 1.2 ปฏิกิรยิ�ระหว�่งส�รละล�ย CuSO4

กับ ส�รละล�ย HCl

จุดประสงค์

อธบิายความหมายของการเปล่ียนแปลงที่ผันกลับได้

ส�รเคม ี (ต่อ 1 กลุ่ม )

1. นำ้ากลัน่ จำานวน 2 cm3 2. สารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ ( HCl ) 6 mol/dm3

จำานวน 1 cm3

3. สารละลายคอปเปอร(์II)ซลัเฟตอ่ิมตัว ( CuSO4) จำานวน 1 cm3

อุปกรณ์ (ต่อ 1 กลุ่ม )

12

ตอบถกูไหมครบัถ้ายงัไมถ่กูขอ้ไหน ยอ้นกลับไปทบทวนใหม่นะครบั

Page 13: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

1. หลอดทดลองขนาดเล็ก จำานวน 2 หลอด 2. หลอดหยด จำานวน 3 อัน

วธิกี�รทดลอง

1. ใสส่ารละลาย CuSO4 ลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก 2 หลอด ๆ ละ 5 หยด 2. เติมนำ้ากลัน่ 15 หยดลงในหลอดท่ี 1 ตัง้ทิ้งไวเ้พื่อเปรยีบเทียบสี 3. หยดสารละลาย HCl 6 mol/dm3 ลงในหลอดท่ี 2 ทีละหยดพรอ้มทัง้เขยา่จนสารละลาย เปล่ียนส ี บนัทึกผลลงในแบบบนัทึกผลการทดลองกิจกรรมที่ 1.2 4. หยดนำ้ากลัน่ลงในสารละลายขอ้ 3 ทีละหยดพรอ้มกับเขยา่จนสารละลายเปล่ียนส ี บนัทึกผลลงในแบบบนัทึกผลการทดลองกิจกรรมที่ 1.2 5. ทำาการทดลองซำ้ากับสารละลายในหลอดเดิมอีกครัง้ตามขอ้

3-4 สงัเกตการเปล่ียนแปลง

แบบบนัทึกผลก�รทดลอง

13

Page 14: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

กิจกรรมท่ี 1.2 เรื่อง ปฏิกิรยิ�ระหว�่งส�รละล�ย CuSO4 กับ ส�รละล�ย HCl

ผลก�รทดลอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สรุปผลกิจกรรมท่ี 1.2……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

14

คว�มรูเ้พิม่เติม[ Cu(H2O)4]2+ (aq)เป็นไอออนท่ีเกิดขึ้นจรงิในสารละลาย โดยทัว่ไปจะเขยีนในรูปอยา่งง่ายคือCu 2+(aq) สว่นวงเล็บใหญ่ ( [ ] ) ใชแ้สดงวา่สารในวงเล็บเป็นไอออนเชงิซอ้น

Page 15: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

แนวคำ�ตอบผลก�รทดลองกิจกรรมท่ี 1.2

เรื่อง ปฏิกิรยิ�ระหว�่งส�รละล�ย CuSO4 กับ ส�รละล�ย HCl

เมื่อ CuSO4 ละลายนำ้า จะได้เตตระอาควาคอปเปอร(์II)ไอออน [ Cu(H2O)4]2+ (aq) จงึทำาใหส้ารละลายมสีีฟา้ และเมื่อหยด HCl ลงในสารละลาย [ Cu(H2O)4]2+ ซึ่งมสีีฟา้จะได้ เตตระคลอโรคิวเปรต(II) ไอออน [ CuCl4] 2- ซึ่งมสีีเหลือง แต่ท่ีสงัเกตได้จากการทดลองเป็นสารละลายสเีขยีวแกมเหลืองเน่ืองจากเป็นสผีสมระหวา่งสฟีา้ของ[ Cu(H2O)4]2+ กับสีเหลืองของ [ CuCl4] 2- เมื่อเติมนำ้าลงในสารละลาย [ CuCl4] 2-

15

Page 16: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

(ก) (ข) (ค)

รูปท่ี 4 ก. สารละลายที่ม ี[ Cu(H2O)4]2+ ข. สารละลายที่ได้จากการเติม Cl- ลงใน [ Cu(H2O)4]2+ ค. สารละลายที่ได้จากการเติม H2O ลงใน [ CuCl4] 2- ที่มา : สถาบนัสง่เสรมิการสอนวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธกิารหน้า 47

เรื่อง ปฏิกิรยิ�ระหว�่งส�รละล�ย CuSO4 กับ ส�รละล�ย HCl

เมื่อ CuSO4 ละลายนำ้า จะได้เตตระอาควาคอปเปอร(์II)ไอออน [ Cu(H2O)4]2+ (aq) จงึทำาใหส้ารละลายมสีฟีา้เขยีนสมการได้ดังน้ี CuSO4 (s) + 4H2O(l) [ Cu(H2O)4]2+ (aq) + SO4

2- (aq) การหยด HCl ลงในสารละลาย [ Cu(H2O)4]2+ ซึ่งมีสฟีา้จะได้เตตระคลอโรคิวเปรต(II) ไอออน [ CuCl4] 2- ซึ่งมสีเีหลือง แต่ที่สงัเกตได้จากการทดลองเป็นสารละลายสเีขยีวแกม

16

แนวคำ�ตอบก�รสรุปกิจกรรมท่ี 1.2

Page 17: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

[ Cu(H2O)4]2+ (aq) + 4Cl-(aq) [ CuCl4] 2- (aq) + 4H2O(l) สฟีา้ ไมม่สี ี

[ Cu(H2O)4]2+ + 4Cl-(aq) [ CuCl4] 2- (aq) + 4H2O(l) สฟีา้ ไมม่สี ี สเีหลือง

เหลืองเน่ืองจากเป็นสผีสมระหวา่งสฟีา้ของ[ Cu(H2O)4]2+ กับสีเหลืองของ [ CuCl4] 2- เมื่อเติมนำ้าลงในสารละลาย [ CuCl4] 2- ทำาใหไ้ด้สารละลายสฟีา้ของ [ Cu(H2O)4]2+ กลับคืนมา สมการแสดงการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นเขยีนได้ดังน้ี ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้า

ปฏิกิรยิายอ้นกลับ

เมื่อสารตัง้ต้นทำาปฏิกิรยิากันเกิดเป็นผลิตภัณฑ์เรยีกวา่ ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้า และในทาง ตรงกันขา้มผลิตภัณฑ์ทำาปฏิกิรยิากันเปล่ียนกลับเป็นสารตัง้ต้นเรยีกวา่ ปฏิกิรยิายอ้นกลับ ปฏิกิรยิาที่มทัีง้ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้าและปฏิกิรยิายอ้นกลับเรยีกวา่ ปฏิกิรยิาผันกลับได้

แบบฝึกท้�ยกิจกรรมท่ี 1.2

17

[ CuCl4] 2- (aq) + 4H2O(l) [ Cu(H2O)4]2+ + 4Cl-(aq) สเีหลือง ไมม่สีี

Page 18: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

เรื่อง ปฏิกิรยิ�ระหว�่งส�รละล�ย CuSO4 กับ ส�รละล�ย HCl

คำ�ชีแ้จง จงตอบคำาถามต่อไปน้ีใหถ้กูต้อง ( ขอ้ละ 1 คะแนน )

1. ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้าเขยีนสมการแสดงได้อยา่งไร......................................................................................................................................................2. ปฏิกิรยิายอ้นกลับเขยีนสมการแสดงได้อยา่งไร......................................................................................................................................................3. การเปล่ียนแปลงของสารละลาย CuSO4 เมื่อเติมสารละลายกรด HCl และนำ้าเป็นการ เปล่ียนแปลงที่ผันกลับได้หรอืไม่ เพราะเหตใุด เขยีนสมการแสดงได้อยา่งไร………………………………………………………………………………………………4. เมื่อปฏิกิรยิาผันกลับดำาเนินไประยะเวลาหน่ึงท่ีสารตัง้ต้นและผลิตภัณฑ์ยงัคงทำาปฏิกิรยิา ต่อไปอีกหรอืไม่ เพราะเหตใุด................................................................................................................................................

18

Page 19: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

[ Cu(H2O)4]2+ (aq) + 4Cl-(aq) [ CuCl4] 2- (aq) + 4H2O(l) สฟีา้ ไมม่สี ี สี

เฉลยแบบฝึกท้�ยกิจกรรมท่ี 1.2

เรื่อง ปฏิกิรยิ�ระหว�่งส�รละล�ย CuSO4 กับ ส�รละล�ย HCl

1. ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้าเขยีนสมการแสดงได้ดังน้ี

2. ปฏิกิรยิายอ้นกลับเขยีนสมการแสดงได้ดังน้ี

3. การเปล่ียนแปลงของสารละลาย CuSO4 เมื่อเติมสารละลายกรด HCl และนำ้าเป็น การเปล่ียนแปลงที่ผันกลับได้ เพราะ เมื่อ CuSO4 ละลายนำ้า จะได้ เตตระอาควาคอปเปอร(์II)ไอออน [ Cu(H2O)4]2+ (aq) จงึทำาใหส้ารละลายมสีฟีา้เขยีนสมการ ได้ ดังน้ี

CuSO4 (s) + 4H2O(l) [ Cu(H2O)4]2+ (aq) + SO4

2- (aq)

การหยด HCl ลงในสารละลาย [ Cu(H2O)4]2+ ซึ่งมีสฟีา้จะได้ เตตระคลอโรคิวเปรต(II)

19

[ CuCl4] 2- (aq) + 4H2O(l) [ Cu(H2O)4]

2+ + 4Cl-(aq)สเีหลือง ไมม่สีี

Page 20: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

ปฏิกิรยิ�ผันกลับได้ (Reversible reaction)

[ Cu(H2O)4]2+ + 4Cl-(aq) [ CuCl4] 2- (aq) + 4H2O(l) สฟีา้ ไมม่สี ี สี

ไอออน [ CuCl4] 2- - ซึ่งมสีเีหลือง แต่ที่สงัเกตได้จากการทดลองเป็นสารละลายสเีขยีวแกม เหลืองเน่ืองจากเป็นสผีสมระหวา่งสฟีา้ของ[ Cu(H2O)4]2+ กับสเีหลืองของ [ CuCl4] 2- เมื่อ เติมนำ้าลงในสารละลาย [ CuCl4] 2- ทำาใหไ้ด้สารละลายสฟีา้ของ [ Cu(H2O)4]2+ กลับคืนมา เขยีนสมการแสดงปฏิกิรยิาผันกลับได้ดังน้ี

4. เมื่อปฏิกิรยิาผันกลับดำาเนินไประยะเวลาหน่ึงท่ีสารตัง้ต้นและผลิตภัณฑ์ยงัคงทำาปฏิกิรยิา ไปขา้งหน้าและยอ้นกลับเกิดขึ้นตลอดเวลา

2.1 ก�รเปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับได้ (Reversible change)การเปลี่ยนแปลงบางอยา่งเกิดขึ้นแล้ว สามารถยอ้นกลับสู่

สภาวะเดิมได้ ดังตัวอยา่งการที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นไอ และไอก็ควบแน่นกลับมาเป็นของเหลวอยา่งเดิม การที่น ำ้ากลายเป็นไอนำ้าเมื่อได้รบัความรอ้นและไอนำ้ากลัน่ตัวกลับมาเป็นนำ้าเมื่ออุณหภมูลิดลง นี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ ซึ่งเราอาจจะเขยีนแสดงการเปล่ียนแปลงได้ดังน้ี

H2O (l) H2O (g) (การเปลี่ยนแปลงไปขา้งหน้า)

20

Page 21: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

H2O (g) H2O (l) (การเปล ี่ยนแปลงยอ้นกลับ)

ซึ่งสามารถเขยีนลกูศรไปกลับ ( ) แสดงการเปลี่ยนแปลงได้ดังน้ี

H2O (g) H2O (l) นอกจากการเปล่ียนแปลงผันกลับของนำ้าที่กล่าวมาแล้วนี้ ยงัมี

ระบบอื่นๆ อีกหลายระบบที่มกีารเปลี่ยนแปลงผันกลับได้ เชน่ การที่เกลือแกง (NaCl) ซึ่งเป็นของแขง็ละลายในนำ้าเกิดการแตกตัวเป็นโซเดียมไอออน (Na+) และคลอไรด์ไอออน (Cl-) และการตกผลึกของโซเดียมไอออนกับคลอไรด์ไอออนกลับมาเป็นโซเดียมคลอไรด์ ดังนี้

NaCl (s) Na+ (aq) + Cl- (aq) (การแตกตัว)

Na+ (aq) + Cl- (aq) NaCl (s) (การตกผลึก)การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงผันกลับของของแขง็

ไปเป็นของเหลวและของเหลวเปลี่ยนกลับมาเป็นของแขง็ เขยีนแสดงได้ดังนี้

NaCl (s) Na+ (aq) + Cl- (aq)

2.2 ปฏิกิรยิ�ผันกลับได้

21

H2O

H2O

Page 22: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

ในปฏิกิรยิาเคมหีนึ่ง ๆ นัน้ เมื่อพจิารณาดวูา่ปฏิกิรยิาจะเกิดไปได้สิน้สดุหรอืไมน่ัน้ ใหถ้ือวา่ถ้าปฏิกิรยิาเกิดขึ้นอยา่งต่อเนื่องแล้ว ปฏิกิรยิาจะเกิดสมบูรณ์ได้สารผลิตภัณฑ์ แต่ในบางปฏิกิรยิา เมื่อเกิดสารผลิตภัณฑ์แล้ว สารผลิตภัณฑ์มกีารเปล่ียนแปลงกลับมาเป็นสารตัง้ต้นได้ ปฏิกิรยิาน้ีเรยีกวา่ ปฏิกิรยิ�ท่ีผันกลับได้

ปฏิกิรยิาที่สารตัง้ต้นเปลี่ยนไปเป็นสารผลิตภัณฑ์เราเรยีกวา่ ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้า (Forward reaction) และปฏิกิรยิาที่สารผลิตภัณฑ์เปลี่ยนมาเป็นสารตัง้ต้นเรยีกวา่ ปฏิก ิรยิายอ้นกลับ (Reverse reaction)

ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้าและปฏิกิรยิายอ้นกลับนี้เขยีนแทนด้วยลกูศรไปและกลับ ( ) ซึ่งแสดงวา่ เป็นปฏิกิรยิาที่ผันกลับได้ เชน่

1. ปฏ ิก ิร ยิา N2 (g) + 3H2 (g) 2NH3 (g) เป็นปฏิกิรยิาที่ผันกลับได้

ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้าคือ N2 (g) + 3H2 (g) 2NH3 (g)

กล่าวคือ N2 และ H2 รวมตัวกันได้ NH3 และปฏิกิรยิายอ้นกลับคือ ปฏิกิรยิาที่ NH3 แยกสลายกลับไปเป็น N2 และ H2 ดังนี้คือ 2NH3 (g) N2 (g) + 3H2 (g)

2. ปฏิกิรยิาของเหล็กกับนำ้า และปฏิกิรยิายอ้นกลับของเหล็ก

ออกไซด์กับไฮโดรเจน3Fe (s) + 4H2O (g) Fe3O4 (s) + 4H2

(g) (ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้า)Fe3 O4 (s) + 4H2 (g) 3Fe (s) + 4H2O (g)

(ปฏิกิรยิายอ้นกลับ)เขยีนสมการรวมได้ดังน้ี

3Fe (s) + 4H2O (g) Fe3O4 (s) + 4H2

(g)

22

Page 23: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

สารตัง้ต้น คือ เหล็ก (Fe) และไอนำ้า (H2O) จะไมห่มดไปจาก

ระบบไมว่า่ปฏิก ิรยิาจะด ำาเน ินไปนานเพยีงใดก ็ตาม เพราะสารผลิตภัณฑ์คือ เหล็กออกไซด์ (Fe3O4) และ H2 (g) จะเกิดปฏิกิรยิาได้กลับมาเป็นสารตัง้ต้น คือ เหล็กและนำ้า ได้เชน่กัน 3. ปฏิกิรยิาที่ผันกลับของไดไนโตรเจนเตตระออกไซด ์กับไนโตรเจนไดออกไซด์ เมื่ออุณหภมูขิองระบบเปล่ียนไป

N2O4 (l) 2NO2 (g) (0 0C) (80 0C)

N2O4 ซึ่งเป็นของเหลวที่อุณหภมู ิ 0 0C เมื่อได้รบัความรอ้นถึง 80 0C จะเปลี่ยนไปเป็นแก๊สสนีำ้าตาลแดงของแก๊ส NO2 และแก๊ส NO2 เมื่อทำาใหเ้ยน็ลง ก็เปล่ียนกลับมาเป็นของเหลวคือ N2O4

23

Page 24: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

เรื่อง ก�รเปล่ียนแปลงท่ีผันกลับได้

คำ�ชีแ้จง ใหนั้กเรยีนทำาเครื่องหมาย หน้าขอ้ที่มกีารเปล่ียนแปลงแบบผันกลับได้ และเครื่องหมาย หน้าขอ้ที่มกีารเปล่ียนแปลงแบบผันกลับไมไ่ด้

………. 1. การเผาผลึกของคอปเปอร ์(II) ซลัเฟตในหลอดที่ปิดสนิท………. 2. ปรอทในเทอรม์อมเิตอร์เมื่ออุณหภมูคิงที่………. 3. ถ้วยแก้วใสน่ำ้าแขง็ตัง้ทิ้งไวใ้นหอ้ง………. 4. การเผาโพแทสเซยีมเปอรแ์มงกาเนตในถ ้วยกระเบื้อง………. 5. กระติกใสน่ำ้าเดือดลงไปแล้วปิดฝาแน่น………. 6. นำ้าอัดลมในขวดท่ียงัไมไ่ด้เปิดฝา………. 7. การน่ึงขา้วเหนียว

24

แบบฝึกกิจกรรมท่ี 1.3

Page 25: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

………. 8. ขวดใสน่ำ้าเชื่อมขน้ ๆ ปิดฝาสนิทและมผีลึกนำ้าตาลนอนก้นขวด………. 9. สารละลายต่าง ๆ ที่อยูใ่นขวดปิดสนิท………. 10. การต้มนำ้าในกาจนเดือด

เรื่อง ก�รเปล่ียนแปลงท่ีผันกลับได้

คำ�ชีแ้จง ใหนั้กเรยีนทำาเครื่องหมาย หน้าขอ้ที่มกีารเปล่ียนแปลงแบบผันกลับได้ และเครื่องหมาย หน้าขอ้ที่มกีารเปล่ียนแปลงแบบผันกลับไมไ่ด้

………. 1. การเผาผลึกของคอปเปอร ์(II) ซลัเฟตในหลอดที่ปิดสนิท………. 2. ปรอทในเทอรม์อมเิตอร์เมื่ออุณหภมูคิงที่………. 3. ถ้วยแก้วใสน่ำ้าแขง็ตัง้ทิ้งไวใ้นหอ้ง………. 4. การเผาโพแทสเซยีมเปอรแ์มงกาเนตในถ ้วยกระเบื้อง………. 5. กระติกใสน่ำ้าเดือดลงไปแล้วปิดฝาแน่น

25

เฉลยแบบฝึกกิจกรรมท่ี 1.3

Page 26: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

………. 6. นำ้าอัดลมในขวดท่ียงัไมไ่ด้เปิดฝา………. 7. การน่ึงขา้วเหนียว………. 8. ขวดใสน่ำ้าเชื่อมขน้ ๆ ปิดฝาสนิทและมผีลึกนำ้าตาลนอนก้นขวด………. 9. สารละลายต่าง ๆ ที่อยูใ่นขวดปิดสนิท………. 10. การต้มนำ้าในกาจนเดือด

แบบทดสอบหลังเรยีน

เรื่อง ก�รเปล่ียนแปลงผันกลับได้ เวล� 10 น�ที--------------------------------------------------------------

---------------------------------------------------------

คำ�ชีแ้จง ใหนั้กเรยีนทำาเครื่องหมาย กากบาท ( X ) ลงในกระดาษคำาตอบที่กำาหนดให ้โดยเลือกขอ้ ท่ีถกูต้องท่ีสดุเพยีงขอ้เดียว

จงใชข้อ้มูลต่อไปนี้ตอบคำ�ถ�มขอ้ 1- 2( 1 ) CaCO3 (s) CaO (s) +

CO2(g) ( 2 ) 2HI(g) H2 (g) + I2(g)

26

Page 27: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

( 3 ) N2O4(g) 2NO2 (g) ( 4 ) H2O(l) H+ (aq) + OH-

(aq) 1. ปฏิกิรยิาในขอ้ใดเกิดปฏิกิรยิาผันกลับได้ในภาชนะปิด ก. ( 1 ) เท่านัน้ ข. ( 4 ) เท่านัน้ ค. ( 2 ) และ ( 3 ) ง. ทัง้ ( 1 ), ( 2 ) , ( 3 ) และ( 4 ) 2. ปฏิกิรยิาในขอ้ใดเกิดปฏิกิรยิาผันกลับได้ในภาชนะเปิด ก. ( 4 ) เท่านัน้ ข. ( 1 ) และ ( 4 ) ค. ( 1 ), ( 2 ) และ ( 3 ) ง. ทัง้ ( 1 ), ( 2 ) , ( 3 ) และ( 4 ) 3. ระบบต่อไปน้ี ในขอ้ใดสามารถเกิดการเปล่ียนแปลงแบบผันกลับได้ ก. การน่ึงขา้วเหนียว ข. นำ้าอัดลมท่ียงัไมไ่ด้เปิด ค. การต้มนำ้าในกาใหเ้ดือด ง. ถ้วยแก้วใสน่ำ้าแขง็ตัง้ทิ้งไวใ้นหอ้ง

4. การเปล่ียนแปลงขอ้ใดเป็นการเปล่ียนแปลงในระบบปิด ก. สารละลาย HCl ทำาปฏิกิรยิากับ CaCO3

ข. ผสมสารละลาย HCl ลงในบกีเกอรท์ี่มสีารละลาย NaOH อยู่ ค. สารละลาย HCl ทำาปฏิกิรยิากับโลหะสงักะส ี( ( Zn ) ในบกีเกอร์ ง. ถกูทกุขอ้5. ขอ้ใดถกูต้องเมื่อทำาการทดลองในภาชนะไมปิ่ดฝา

27

Page 28: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

ก. ปฏิกิรยิาระหวา่งสารละลาย HCl กับ CaCO3 จดัเป็นระบบเปิดเสมอ ข. การระเหดิของไอโอดีนในระบบปิดและระบบเปิดใหผ้ลเหมอืนกัน ค. ปฏิกิรยิาระหวา่งสารละลาย HCl กับสารละลาย NaOH จดัเป็นระบบเปิดเสมอ ง. ปฏิกิรยิาระหวา่งสารละลาย KI กับสารละลาย Pb(NO3)2 จดัเป็นระบบเปิดเสมอ 6. การเปล่ียนแปลงใดต่อไปน้ี เป็นการเปล่ียนแปลงผันกลับได้ ก. การเผาถ่าน ข. การต้มขา้ว ค. ไอโอดีนในภาชนะปิด ง. การหลอมเหลวของนำ้าแขง็ 7. การเปล่ียนแปลงต่อไปน้ี ขอ้ใดจดัเป็นระบบปิด ก. เผาหนิปูน ข. ตัง้บกีเกอรท์ี่มนีำ้าปูนใสไวใ้นอากาศเกิดฝ้าขาว ค. การใสผ่งแมกนีเซยีมลงไปในสารละลายกรดเกลือ ง. ผสมสารละลายเลด (II ) ไนเตรตกับสารละลายโพแทสเซยีมไอโอไดด์8. สารละลาย A ซึ่งทำาปฏิกิรยิากับสารละลาย B ในระบบปิดได้สาร C และ D เป็นของแขง็ ถ้าต้องการตรวจสอบวา่การเปล่ียนแปลงน้ีเป็นปฏิกิรยิาผันกลับได้หรอืไม ่ควรเลือกขอ้ใด ก. ตรวจสอบหา A และ C ข. ตรวจสอบหา A , B และ C ค. ตรวจสอบวา่ มวลของ A และ D คงท่ี

28

Page 29: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

ง. ตรวจสอบวา่เป็นปฏิกิรยิาคายหรอืดดูความรอ้น

9. ปฏิกิรยิาต่อไปน้ีขอ้ใดเป็น ปฏิกิรยิาผันกลับได้ในภาชนะเปิด ก. ปฏิกิรยิาระหวา่ง Mg กับ สารละลาย HCl ข. CaCO3 (s) CaO (s) + CO2(g) ค. 2Cu2+(aq) + [ Fe(CN)6] 4- (aq) Cu2[ Fe(CN)6(s) ง. [ Cu(H2O)4]2+(aq) + 4Cl-(aq) [ CuCl4] 2- (aq) + 4H2O(l) 10. ขอ้ความใดต่อไปน้ีถกูต้อง

1)ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้า หมายถึง ปฏิกิรยิาที่สารตัง้ต้นเปล่ียนไปเป็นสารผลิตภัณฑ์

2)ปฏิกิรยิายอ้นกลับ หมายถึง ปฏิกิรยิาท่ีสารผลิตภัณฑ์เปล่ียนแปลงเป็นสารตัง้ต้น

3)ปฏิกิรยิาที่ผันกลับได้ หมายถึง การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นแล้วสามารถเปล่ียนกลับมาเป็นสารตัง้ต้นได้อีก

ก. 3 ข. 1 และ 2ค. 2 และ 3ง. ทัง้ 1 , 2 และ 3

29

Page 30: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

เฉลยแบบทดสอบ ก่อน - หลังเรยีน

เรื่อง ก�รเปล่ียนแปลงผันกลับได้

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยีน เฉลยแบบทดสอบหลังเรยีน

30

1. ข2. ก3. ง4. ค5. ข6. ก7. ง8. ง9. ง10. ข

1. ง2. ก3. ข4. ข5. ก6. ค7. ง8. ข9. ง10. ง

Page 31: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

บรรณ�นุกรม

ชยัวฒัน์ เจนวาณิชย์. หลักเคม ี1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร,์ 2530.เทพจำานงค์ แสงสนุทร. เคม ีม.5 เล่ม 4 ว 034. กรุงเทพฯ: ภมูบิณัฑิต, 2538.นิพนธ ์ ตังคณานุรกัษ์ และคณิต ตังคณานุรกัษ์. คู่มอืเคมพีื้นฐ�นและเพิม่เติมเล่ม 3 ม.5. กรุงเทพฯ:

แมค็, 2548. FOCUS ON CHEMISTRY เคมบีรรย�ย. กรุงเทพฯ: แมค็, 2544.วนัิย วทิยาลัย. เคม ี037 เล่ม 3. กรุงเทพฯ: ฟสิกิสเ์ซน็เตอร,์ 2542.สง่เสรมิการสอนวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลยี,สถาบนั.คู่มอืครูส�ระก�รเรยีนรูพ้ื้นฐ�นและ

เพิม่เติม เคม ีเล่ม 3. กรุงเทพฯ: โรงพมิพค์รุุสภาลาดพรา้ว,2547.

หนังสอืเรยีนส�ระก�รเรยีนรูพ้ื้นฐ�นและเพิม่เติม เคม ีเล่ม 3. กรุงเทพฯ: โรงพมิพค์รุุสภาลาดพรา้ว,2547.

สำาราญ พฤกษ์สนุทร.เคม ีม.5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ: พ.ศ.พฒันา จำากัด,2542.สทุัศน์ ไตรสถิตวร และสมศักดิ์ วรมงคลชยั. เคม ีม.5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ: ไฮเอ็ดพบัลิชชิง่ จำากัด,

31

Page 32: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

2537.สธุน เสถียรยานนท์. เคม ีม.5 เล่ม 4. กรุงเทพฯ: ประสานมติร, 2538.เสกสรร ศิรวิฒันวบูิลย์. เคม ี เล่ม 3.กรุงเทพฯ: SCIENCE CENTER, 2538.อัจจนา วงศ์ชยัสวุฒัน์. เคม ี 6.กรุงเทพฯ: ประสานมติร, 2538.

ภ�คผนวก

32

Page 33: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

ซดีี วชิา ว 40225 เคมี

เรื่อง การเปล่ียนแปลงผันกลับได้

สื่อซดีีเพื่อการศึกษา เรื่อง การเปล่ียนแปลงผันกลับได้จดัทำาโดยนางพรพมิล ฮวดหนิ ศษ.บ การสอนวทิยาศาสตร ์( เคมี )

33

Page 34: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

คำาศัพท์

1 ระบบ (system )หมายถึง สิง่ที่เราต้องการศึกษาหรอืสิง่ท่ีมผีลต่อสิง่ท่ีเรากำาลังศึกษาอยู่

2 สิง่แวดล้อม ( surrounding )หมายถึง สิง่ที่อยูน่อกเหนือจากสิง่ที่เราต้องการศึกษา

3 ระบบปิด( closed system )หมายถึงระบบท่ีแลกเปล่ียนเฉพาะพลังงานกับสิง่แวดล้อม

4 ระบบเปิด(opened system )หมายถึงระบบท่ีแลกเปล่ียนทัง้มวลและพลังงานกับสิง่แวดล้อม

5 ระบบโดดเด่ียวหรอืระบบแยกตัว( isolate system )หมายถึงระบบท่ีไมม่กีารแลกเปล่ียนทัง้มวลและพลังงานกับสิง่แวดล้อม

6 การระเหย ( evaporation )หมายถึงการเปล่ียนสถานะจากของเหลวกลายเป็นไอ

7 การระเหดิ ( sublimation )หมายถึงการเปล่ียนสถานะจากของแขง็กลายเป็นไอ

8 การเปล่ียนแปลงที่ผันกลับได้ ( reversible change )หมายถึงการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นแล้วสามารถ

34

Page 35: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

เปล่ียนกลับมาเป็นสารเดิมได้อีกหรอืการที่ส�รต้ังต้นเปล่ียนแปลงไปเป็นผลิตภัณฑ์และในขณะเดียวกันสารผลิตภัณฑ์ก็สามารถเปล่ียนกลับมาเป็นส�รต้ังต้นได้อีก

9 การเปล่ียนแปลงไปขา้งหน้า ( forward change ) หมายถึงการเปล่ียนแปลงส�รต้ังต้นเปล่ียนแปลงไปเป็นผลิตภัณฑ์

10

การเปล่ียนแปลงยอ้นกลับ ( backward change ) หมายถึงการเปล่ียนแปลงส�รผลิตภัณฑ์เปล่ียนแปลงไปเป็นส�รต้ังต้น

11

ปฏิกิรยิาผันกลับได้ ( reversible reaction ) หมายถึงปฏิกิรยิ�ท่ีเกิดขึ้นแล้วสามารถเปล่ียนกลับมาเป็นสารเดิมได้อีกหรอืการท่ีส�รต้ังต้นเปล่ียนแปลงไปเป็นผลิตภัณฑ์และในขณะเดียวกันสารผลิตภัณฑ์ก็สามารถเปล่ียนกลับมาเป็นส�รต้ังต้นได้อีก

12

ปฏิกิรยิาไปขา้งหน้า ( forward reaction ) หมายถึง ปฏิกิรยิาส�รต้ังต้นเปล่ียนแปลงไปเป็นผลิตภัณฑ์

13

ปฏิกิรยิายอ้นกลับ ( backward reaction) หมายถึง ปฏิกิรยิาส�รผลิตภัณฑ์เปล่ียนแปลงไปเป็นส�รต้ังต้น

แหล่งสบืค้นขอ้มูลทางอินเทอรเ์น็ต

1. http://web host.ru.ac.th/wu chem.2. http://www.chem.davidson.edu/chemistry Applets/equilibria/index.html3. http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem18/7.2html-9k

35

Page 36: ชุดการสอนที่ 2 - WordPress.com · Web viewเทพจำนงค แสงส นทร. เคม ม.5 เล ม 4 ว034. กร งเทพฯ: ภ

4. http://www.ptwit.ac.th/SCIENCE/daata/chem/equilibium pdf5. http://www. woranari.ac.th/woranari/scihouse_web/equilibrium.htm

36