Top Banner
พจนานุกรมตัวชี้วัด KPI ตามวัตถุประสงคของ แผนที่ยุทธศาสตรเทศบาลนครลําปาง
36

ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง...

Jan 28, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

พจนานุกรมตัวช้ีวัด KPI ตามวัตถุประสงคของ แผนที่ยทุธศาสตรเทศบาลนครลําปาง

Page 2: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี P 1.1 ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนยุทธศาสตรของเทศบาลนครลําปาง ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนยุทธศาสตรของเทศบาลนครลําปาง

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 20

คําอธิบาย : • พิจารณาจากระดับความสําเร็จของการบรรลุเปาหมายแตละตัวช้ีวัดหลัก (Key Performance Indicator: KPI) ตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของเทศบาลนครลําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร (Strategy Map) และตัวช้ีวัดหลัก (KPI) ของเทศบาลนครลําปางที่สอดคลองกับแผนปฏิบัติราชการของเทศบาลนครลําปาง

• สวนราชการของเทศบาลตองรวมรับผิดชอบผลงานใหบรรลุตามแผนปฏิบัติราชการและเปาหมายที่กําหนดไวในพจนานุกรมตัวช้ีวัดของเทศบาลฯ

สูตรการคํานวณ :

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนักระดับความสําเร็จของรอยละของเปาหมายแตละตัวช้ีวัดที่บรรลุผลสําเร็จตามแผนยุทธศาสตรฯ เทากับ

หรือ

โดยที่ W หมายถึง น้ําหนักความสําคัญที่ใหกับตัวช้ีวัดที่กําหนดขึ้นจากแผนยุทธศาสตรของเทศบาลนครลําปางและผลรวมของ

น้ําหนักของทุก KPISM) Σ Wi = ( 1โดย จะตองกําหนดน้ําหนักรอยละของตัวช้ีวัดแตละลําดับ (i) ไวในคํารับรองการปฏิบติัราชการ

SM หมายถึง คะแนนที่ไดจากการเทียบกับผลสําเร็จของรอยละของเปาหมายของตัวช้ีวัดที่บรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไวของแผนยุทธศาสตรของเทศบาลนครลําปาง

i หมายถึง ลําดับที่ของตัวช้ีวัดที่กําหนดขึ้นตามแผนยุทธศาสตรของเทศบาลฯา ;1 ,2,… ,i

เกณฑการใหคะแนนเทียบกับรอยละของ ผลสําเร็จตามยุทธศาสตรของเทศบาลนครลําปาง

ตัวช้ีวัดหลัก (i)

น้ําหนัก (Wi) 1 2 3 4 5

คะแนนที่ได (SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนัก

(Wi x SMi) KPISM 1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)

KPISM 2 W2 60 70 80 90 100 SM2 (W2 x SM2)

. . 60 70 80 90 100 . .

. . 60 70 80 90 100 . .

KPISM i Wi 60 70 80 90 100 SMi (Wi x SMi)

Σ Wi = 1.0 Σ (Wi x SMi)

∑ (Wi x SMi) ∑ Wi

(W1 x SM1) + (W2 x SM2) +…+ (Wi x SMi) W1 + W2 +…+ Wi

Page 3: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

เกณฑการใหคะแนน : ชวงเกณฑการใหคะแนน +/- 1 ตอ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

1 Σ (Wi x SMi) = 1

2 Σ (Wi x SMi) = 2

3 Σ (Wi x SMi) = 3

4 Σ (Wi x SMi) = 4

5 Σ (Wi x SMi) = 5

เหตุผล : เพื่อใหสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา มีการบริหารงานแบบบูรณาการ โดยสวนราชการใหความรวมมือ ชวยเหลือ สนับสนุนการดําเนินการ เพื่อใหบรรลุเปาหมายตาม แผนยุทธศาสตรเทศบาลฯ

แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

- กําหนดให กองวิชาการและแผนงาน เปนผูรับผิดชอบในการจัดเก็บขอมูล โดยขอความรวมมือ สวนราชการสํานัก/กองที่รับผิดชอบแตละตัวช้ีวัด

- ความถี่ในการจัดเก็บขอมูล ปละครั้ง

เคร่ืองมือการประเมิน:

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทน-P1.1-1 ตารางหาคา P1.1 ระดับความสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนักฯ เอกสาร 2. ทน-P1.1-2 ตารางสรุปผลการปฏิบัติราชการระดับเทศบาล เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับความสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนยุทธศาสตรของเทศบาลฯ รอยละ 65 70 75 80 85

ขอมูลพื้นฐาน : ไมมี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผูอํานวยการกองวิชาการและแผนงาน เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนาฝายบริการฯ เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานวิจัยและประเมินผล เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล :

นางวิไล วงศพรม นวช.การคลัง 7ว เบอรติดตอ : 054-237237

ตัวชี้วัดท่ี P 1.1 ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนยุทธศาสตร ของเทศบาลนครลําปาง (ตอ)

Page 4: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี P 1.2 รอยละของความสําเร็จตามเปาหมายผลผลิตของเทศบาล ชื่อตัวชี้วัด : รอยละของความสําเร็จตามเปาหมายผลผลิตของเทศบาล

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 10

คําอธิบาย : - ผลผลิต คือ ตัวรายการกิจกรรม/โครงการ/แผนงาน ที่บรรจุในแผนงบประมาณรายจายประจําป - ความสําเร็จตามเปาหมาย หมายถึง การที่ผลผลิตของแตละสวนราชการระดับสํานัก/กอง หรือเทียบเทา ที่ดําเนินการเสร็จเรียบรอย บรรลุเปาหมาย หรือ ตัวช้ีวัดผลผลิต (Performance Indicator: PI) ที่กําหนดไว ตามเอกสารงบประมาณรายจาย

- เทศบาล หมายถึง เทศบาลนครลําปางสวนราชการ ซึ่งประกอบดวย สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา ที่ตองรวมกันรับผิดชอบตอความสําเร็จตามเปาหมาย คือ

1. สํานักปลัดเทศบาล 5. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม 2. กองวิชาการและแผนงาน 6. สํานักการศึกษา 3. กองคลัง 7. กองสวัสดิการสังคม 4. สํานักการชาง 8. หนวยงานตรวจสอบภายใน วัดผลสําเร็จจากรอยละของผลผลิต (Output) เชิงปริมาณของงานหรือโครงการที่สวนราชการทําไดในปงบประมาณ พ.ศ. 25xx เทียบกับเปาหมายผลผลิตของตัวช้ีวัดเชิงปริมาณสําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 25xx ที่กําหนดไวตาม “เอกสารงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2550”

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนักระดับรอยละของความสําเร็จตามเปาหมายผลผลิตของสวนราชการ เทากับ

เกณฑการใหคะแนนเทียบกับรอยละของผลสําเร็จตามเปาหมายผลผลติฯ ความสําเร็จจากรอยละของผลผลติฯ

น้ําหนัก (Wi) 1 2 3 4 5

ผลการดําเนินงาน

(SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (Wi x SMi)

สวนราชการSM 1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)

สวนราชการSM 2 W2 60 70 80 90 100 SM2 (W2 x SM2)

. . 60 70 80 90 100 . .

. . 60 70 80 90 100 . .

สวนราชการSM i Wi 60 70 80 90 100 SMi (Wi x SMi)

Σ Wi = 1.0 Σ (Wi x SMi)

สูตรการคํานวณ :

โดยที่ W หมายถึง น้ําหนักความสําคัญที่ใหกับผลตัวช้ีวัดหลักที่ P1.2. (รอยละของความสําเร็จตามเปาหมายผลผลิตของสวนราชการ) ของ

แตละสวนราชการ ระดับสํานัก / กอง และผลรวมของน้ําหนักของทุก สวนราชการSM) Σ Wi = (1 โดยที่สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา และคณะกรรมการตรวจประเมินตัวช้ีวัดหนวยงานของเทศบาลนครลําปาง จะตกลงรวมกับสวนราชการเพื่อกําหนดน้ําหนักรอยละของลําดับ (i) ไวในคํารับรองการปฏิบติัราชการ

SM หมายถึง คะแนนที่ไดจากผลตัวช้ีวัดหลักที่ P1.2. (รอยละของความสําเร็จตามเปาหมายผลผลิตของสวนราชการ) ของแตละสวนราชการ ระดับสํานัก / กอง

i หมายถึง ลําดับที่ของสวนราชการระดับสํานัก / กอง หรือเทียบเทา ;1 ,2,… ,i

(W1 x SM1) + (W2 x SM2) + ... + (Wi x SMi)

W1+ W2 ++... Wi

∑ (Wi x SMi)

∑ Wi หรือ

Page 5: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี P 1.2 รอยละของความสําเร็จตามเปาหมายผลผลิตของสวนราชการ (ตอ)

เกณฑการใหคะแนน : ชวงเกณฑการใหคะแนน +/- 1 ตอ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

1 Σ (Wi x SMi) = 1

2 Σ (Wi x SMi) = 2

3 Σ (Wi x SMi) = 3

4 Σ (Wi x SMi) = 4

5 Σ (Wi x SMi) = 5

เง่ือนไข : กรณีสวนราชการเปลี่ยนแปลงเปาหมายผลผลิตที่กําหนดไวตามเอกสารงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ .ศ .2 550

ตองไดรับความเห็นชอบจากสํานักงบประมาณกอน หากสํานักงบประมาณไมเห็นชอบ จะตองใชเปาหมายผลผลิตตามเดิม เหตุผล :

เพื่อใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของสวนราชการ และยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2550 และเปนการผลักดันใหสวนราชการปฏิบัติราชการเพื่อใหบรรลุผลตามยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณไดอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

-แผนงาน / โครงการที่สอดคลองกับเอกสารรวมงบประมาณรายจายของ สํานัก / กอง ในเทศบาลนครลําปาง - ความถี่ในการจัดเก็บขอมูล 6 เดือน / ครั้ง

เคร่ืองมือการประเมิน:

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทน-P1.2-2 แบบสรุปผลรอยละของความสําเร็จตามเปาหมายผลผลิตของสวนราชการ เอกสาร 2. ทน-P1.2-3 ตารางสรุปผลรอยละของความสําเร็จตามเปาหมายผลผลิตฯ เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 2551 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 รอยละของความสําเร็จตามเปาหมายผลผลิตของสวนราชการ รอยละ 65 70 75 80 85 ขอมูลพื้นฐาน : ไมมี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผูอํานวยการกองวิชาการและแผนงาน เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานวิเคราะหฯ เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานงบประมาณ เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล :

นักวิชาการคลัง ในงานงบประมาณ กองวิชาการและแผนงาน เบอรติดตอ : 054-237237

Page 6: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี P 1.3ระดับความสาํเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนยุทธศาสตร ของสวนราชการระดับสํานัก/กองหรือเทียบเทา ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนยุทธศาสตรของเทศบาลฯ

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 10

คําอธิบาย : • พิจารณาจากระดับความสําเร็จของการบรรลุเปาหมายแตละตัวช้ีวัด ตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของเทศบาลนครลําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร (Strategy Map) และตัวช้ีวัดหลัก (Key Performance Indicator: KPI) ของระดับสํานัก /กอง ที่สอดคลองกับแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการ

• เทศบาลฯ หมายถึง เทศบาลนครลําปาง ซึ่งประกอบดวย สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา ที่ตองรวมกันรับผิดชอบตอระดับความสําเร็จฯ คือ

1. สํานักปลัดเทศบาล 5. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม 2. กองวิชาการและแผนงาน 6. สํานักการศึกษา 3. กองคลัง 7. กองสวัสดิการสังคม 4. สํานักการชาง 8. หนวยงานตรวจสอบภายใน

• จํานวนตัวช้ีวัดที่ทําความตกลงควรมีความเหมาะสม ครอบคลุมแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการสํานัก กอง หรือเทียบเทา

สูตรการคํานวณ :

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนักระดับความสําเร็จของรอยละของเปาหมายแตละตัวช้ีวัดที่บรรลุผลสําเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของเทศบาลนครลําปาง เทากับ

โดยที่ W หมายถึง น้ําหนักความสําคัญที่ใหกับผลตัวช้ีวัดหลักที่ P1.1. (ระดับความสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการ

บรรลุเปาหมายตามแผนยุทธศาสตรของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา ) ของแตละสวนราชการ

ระดับสํานัก / กอง และผลรวมของน้ําหนักของทุก สวนราชการSM) Σ Wi = (1 โดยที่สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา และ คณะกรรมการตรวจประเมินตัวช้ีวัดหนวยงานของเทศบาลนครลําปาง จะตกลงรวมกับสวนราชการเพื่อกําหนดน้ําหนักรอยละของลําดับ (i) ไวในคํารับรองการปฏิบัติราชการ

SM หมายถึง คะแนนที่ไดจากผลตัวช้ีวัดหลักที่ P1.1. (ระดับควาสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนยุทธศาสตรของสวนราชการฯ) ของแตละสวนราชการ ระดับสํานัก / กอง

i หมายถึง ลําดับที่ของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา ;1 ,2,… ,i

เกณฑการใหคะแนนเทียบกับรอยละของ ผลสําเร็จตามยุทธศาสตรของเทศบาลฯ ระดับความสําเร็จฯ (i) น้ําหนัก (Wi)

1 2 3 4 5

ผลการดําเนินงาน

(SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (Wi x SMi)

สวนราชการSM 1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)

สวนราชการSM 2 W2 60 70 80 90 100 SM2 (W2 x SM2)

. . 60 70 80 90 100 . .

. . 60 70 80 90 100 . .

สวนราชการSM i Wi 60 70 80 90 100 SMi (Wi x SMi)

Σ Wi = 1.0 Σ (Wi x SMi)

∑ (Wi x SMi)

∑ Wi หรือ (W1 x SM1) + (W2 x SM2) + ... + (Wi x SMi)

W1+ W2 ++... Wi

Page 7: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

เกณฑการใหคะแนน : ชวงเกณฑการใหคะแนน +/- 1 ตอ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

1 Σ (Wi x SMi) = 1

2 Σ (Wi x SMi) = 2

3 Σ (Wi x SMi) = 3

4 Σ (Wi x SMi) = 4

5 Σ (Wi x SMi) = 5

เหตุผล : เพื่อใหสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา มีการบริหารงานแบบบูรณาการภายในสวนราชการ โดยหนวยงานภายใน

สวนราชการใหความร วมมือ ชวยเหลือ สนับสนุนการดํ าเนินการในระดับสวนราชการ เพื่ อใหบรรลุ เป าหมายตาม แผนยุทธศาสตรสวนราชการ

แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

- กําหนดใหกองวิชาการและแผนงานเปนผูรับผิดชอบในการจัดเก็บขอมูล โดยขอความรวมมือ จาก สํานัก / กอง ตาง ๆ ของเทศบาลนครลําปาง

- ความถี่ในการจัดเก็บขอมูล ปละครั้ง

เคร่ืองมือการประเมิน:

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทน-P1.1-3 แบบสรุปผลระดับความสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตาม

แผนยุทธศาสตรของเทศบาลฯ เอกสาร

2. ทน-P1.1-4 ตารางสรุปผลการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ 2551 เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 2551 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับควาสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนยุทธศาสตรของเทศบาลฯ รอยละ 65 70 75 80 85

ขอมูลพื้นฐาน : ไมมี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผูอํานวยการกองวิชาการและแผนงาน เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนาฝายบริการฯ เบอรติดตอ : 054-237237

นางวิไล วงศพรม นวช. การคลัง 7ว เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล :

หัวหนางานวิจัยและประเมินผล เบอรติดตอ : 054-237237

ตัวชี้วัดท่ี P 1.3 ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนยุทธศาสตร ของสวนราชการระดับสํานัก/กองหรือเทียบเทา (ตอ)

Page 8: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี Q1.1 รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ ชื่อตัวชี้วัด : รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 10

คําอธิบาย : - ความพึงพอใจ หมายถึง ความพอใจ ความชื่นชม ของประชาชนที่มีตอสวนราชการในสังกัดเทศบาลนครลําปาง ในการใหบริการประชาชนดวยความสะดวกรวดเร็ว ทั่วถึงและเปนธรรม

- ผูรับบริการ หมายถึง ประชาชนในเขตเทศบาล บุคคล นิติบุคคล ที่มาติดตอขอรับบริการ หรือ ไดรับผลกระทบตอการใหบริการ - เทศบาล หมายถึง เทศบาลนครลําปางสวนราชการ ซึ่งประกอบดวย สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา ที่ตองรวมกันรับผิดชอบตอความพึงพอใจของผูรับบริการคือ

1. สํานักปลัดเทศบาล 5. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม 2. กองวิชาการและแผนงาน 6. สํานักการศึกษา 3. กองคลัง 7. กองสวัสดิการสังคม 4. สํานักการชาง

เกณฑการใหคะแนนเทียบกับรอยละ

ความพึงพอใจของผูรับบริการ รอยละความพึงพอใจฯ

(i) น้ําหนัก (Wi)

1 2 3 4 5

คะแนนที่ได (SMi) คะแนนเฉลี่ยถวงน้าํหนกั

(Wi x SMi)

สวนราชการSM 1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)

สวนราชการSM 2 W2 60 70 80 90 100 SM2 (W2 x SM2)

. . 60 70 80 90 100 . .

. . 60 70 80 90 100 . .

สวนราชการSM i Wi 60 70 80 90 100 SMi (Wi x SMi)

Σi=1-8 Wi = 1.0 Σi=1-8 (Wi x SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนักระดับรอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ เทากับ

หรือ

สูตรการคํานวณ :

โดยที่ W หมายถึง น้ําหนักความสําคัญที่ใหกับผลตัวช้ีวัดหลักรอยละความพึงพอใจของผูรับบริการของแตละสวนราชการ ระดับ

สํานัก / กอง และ ผลรวมของน้ําหนักของทุก สวนราชการSM ) Σ Wi = (1 โดยที่สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา และคณะกรรมการตรวจประเมินตัวช้ีวัดหนวยงานของเทศบาลนครลําปาง จะตกลงรวมกับสวนราชการเพื่อกําหนดน้ําหนักรอยละของลําดับ (i) ไวในคํารับรองการปฏิบัติราชการ

SM หมายถึง คะแนนที่ไดจากผลตัวช้ีวัดหลักรอยละความพึงพอใจของผูรับบริการของแตละสวนราชการ ระดับสํานัก / กอง i หมายถึง ลําดับที่ของสวนราชการระดับสํานัก / กอง หรือเทียบเทา ;1 ,2,… ,i ที่ใชตัวช้ีวัดหลักนี้

∑ (Wi x SMi) ∑ Wi

(W1 x SM1) + (W2 x SM2) +…+ (Wi x SMi) W1 + W2 +…+ Wi

Page 9: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี Q1.1 รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ (ตอ)

เกณฑการใหคะแนน : ชวงเกณฑการใหคะแนน +/- 1 ตอ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

1 Σ (Wi x SMi) = 1

2 Σ (Wi x SMi) = 2

3 Σ (Wi x SMi) = 3

4 Σ (Wi x SMi) = 4

5 Σ (Wi x SMi) = 5 แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

- สํานัก/กอง ของเทศบาลนครลําปาง รับผิดชอบการแจกแบบสอบถามและประมวลผล และรายงานผลผูกํากับดูแลตัวชี้วัด - ในงบประมาณ 2551 สํานักปลัดเทศบาลตั้งงบประมาณจัดจางหนวยงานอิสระสํารวจความพึงพอใจ เพื่อเปนขอมูลเชิง

เปรียบเทียบกับการสํารวจโดยสํานัก/กอง - ความถี่ในการจัดเก็บขอมูลปละ 1 ครั้ง

เคร่ืองมือการประเมิน:

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทน-Q1.1-1 แบบสรุปผลรอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ เอกสาร 2. ทน-Q1.1-2 ตารางสรุปผลรอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ เอกสาร 3 ทน Q1.1-3 แบบสรุปการคํานวณความพึงพอใจผูตอบแบบสอบถาม เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ รอยละ 65 70 75 80 85

ขอมูลพื้นฐาน : ไมมี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: หัวหนาสํานักปลัดเทศบาล เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานทะเบียนราษฎร สํานักปลัดเทศบาล เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานสารบรรณ สํานักปลัดเทศบาล เบอรติดตอ : 054-237237 นางยุพิน เคหะลูน เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล :

นายกมล นิ่มยี่สุน เบอรติดตอ : 054-237237

Page 10: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี Q.1.2 รอยละของขอรองเรียนท่ีไดรับการแกไข ชื่อตัวชี้วัด : รอยละของขอรองเรียนที่ไดรับการแกไข

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 5

คําอธิบาย : - ขอรองเรียน หมายถึง คํารองทุกข คํารองเรียน ในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่เทศบาลนครลําปาง ที่ผานชองทาง การรองเรียนอยางถูกตอง

- ชองทางการรองเรียน คือ > เขียนขอรองเรียนตอเจาหนาที่รับเรื่องราวรองทุกข > แจงทางโทรศัพทโดยเจาหนาที่ไดรับแจงเปนรายลักษณอักษรและรับไวเปนเอกสารทางราชการ > รับแจงทาง INTERNET ซึ่งเจาหนาที่CALL CENTER รับผิดชอบรับแจง เปนและจัดทําปนบันทึก ตามแบบคํารองที่กําหนดขึ้น

จัดสงลายลักษณ อักษรมายังหนวยงานรับเรื่องราวรองทุกข - ขอรองเรียนที่ไดรับการแกไข หมายถึง ขอรองเรียนที่ไดรับการแกไขจนเสร็จ ตามมาตรฐานของการปฏิบัติ ทั้งนี้รวมถึงขอรองเรียนที่ไมสามรถแกไขไดจนเสร็จสมบูรณ แตนําไปบรรจุเปนงบประมาณหรือกําหนดแผนงานไวในแผนพัฒนาสามป เทศบาลนครลําปาง ก็จะถือไดวาไดรับการแกไขแลวเชนกัน

สูตรการคํานวณ :

จํานวนขอรองเรียนที่เทศบาลดําเนินการแลวเสร็จ X 100 จํานวนขอรองเรียนที่ไดรับ

แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

- รวบรวมขอมูลจากคํารองของแตละสวนราชการจากศุนย CALL CENTER และเอกสารคํารองเรียนรองทุกขของทุกสวนราชการ มาเก็บรวบรวม ณ ศูนยรับเรื่องราวรองทุกข สํานักปลัดเทศบาล

- ความถี่ในการรายงานขอมูลของทุกสวนราชการ 1 ครั้ง / เดือน (งานธุรการ ทุกสวนราชการ รับผิดชอบรายงาน) - ศูนยรับเรื่องราวรองทุกข สํานักปลัดเทศบาล รวบรวมขอมูลการรองเรียนทั้งหมดและผลการดําเนินการรายงานทุก 3 เดือน - แบบรายงานให ศูนยรับเรื่องราวรองทุกข สํานักปลัดเทศบาล เปนผูออกแบบใหเปนมาตรฐานและยึดถือปฏิบัติทั้งองคกร

เคร่ืองมือการประเมิน:

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1 ทน.Q1.2-1 แบบสรุปการแกปญหาขอรองเรียน เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 รอยละของขอรองเรียนที่ไดรับการแกไข รอยละ 65 70 75 80 85 ขอมูลพื้นฐาน :

ผลการดําเนินงานในอดีต ปงบประมาณ พ.ศ. ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หนวยวัด

2548 2549 2550 รอยละของขอรองเรียนที่ไดรับการแกไข รอยละ - - 65.16

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: หัวหนาสํานักปลัดเทศบาล เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานธุรการ สํานักปลัดเทศบาลฯ เบอรติดตอ : 054-237237

นายบุญทัน ชัยเนตร เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล :

ส.ต.ต. หญิงฐิติรัตน คุณชมภู เบอรติดตอ : 054-237237

Page 11: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี Q.2.1. ระดับความสําเร็จในการเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการ ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จในการเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการ

หนวยวัด : ระดับ

น้ําหนัก : รอยละ 5

คําอธิบาย : ความสําเร็จของการดําเนินการเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการ โดย เทศบาลนครลําปางตองดําเนินการใหเปนไปตาม พ .ร .บ .ขอมูลขาวสารของราชการ พ .ศ .2540 และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ .ศ .2547 เกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคา และสรุปผลการจัดซื้อจัดจางของสวนราชการ และการกําหนดมาตรการ ใหบริการขอมูลขาวสารตาง ๆ แกประชาชนดวยความรวดเร็ว ซึ่งพิจารณาจากความกาวหนาของการดําเนินงานตามเปาหมาย ที่กําหนดไวในแตละระดับ

สูตรการคํานวณ :

กําหนดเปนระดับขั้นของความสําเร็จ )Milestone (แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 5 ระดับ พิจารณาจากความกาวหนาของขั้นตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี้

ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone) ระดับคะแนน

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5

1 2 3 4 5

โดยที่

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

1 ดําเนินการตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ .2540 ดังนี้ จัดสถานที่ /จัดต้ังศูนยขอมูลขาวสารของสวนราชการ สําหรับใหบริการขอมูล

ขาวสารตามมาตรา 9 เพื่อใหประชาชนสามารถเขาตรวจสอบ ขอมูลขาวสารไดโดยสะดวก

มีเจาหนาที่รับผิดชอบประจําศูนยขอมูลขาวสารหรือปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับการใหบริการขอมูลขาวสารของสวนราชการเปนการเฉพาะ

มีปายบอกถึงที่ต้ังของสถานที่หรือศูนยขอมูลขาวสารที่สวนราชการจัดไวสําหรับการใหบริการขอมูลขาวสาร ที่เขาใจไดงายและมองเห็นไดชัดเจน

2 จัดระบบขอมูลขาวสารตาม พ .ร .บ .ขอมูลขาวสารของราชการ พ .ศ .2540 มาตรา 9 ดังนี้

มีขอมูลขาวสารตามมาตรา 9 ครบถวน และเปนปจจุบัน จัดทําดัชนีขอมูลขาวสารไวใหบริการ ณ ศูนยขอมูลขาวสารอยางชัดเจนและ

สามารถสืบคนไดสะดวก รวดเร็ว

Page 12: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี Q.2.1. ระดับความสําเร็จในการเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการ

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

3 บริหารจัดการเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลขาวสารอยางเปนระบบ โดยดําเนินการ ดังนี้

มอบหมายใหผูบริหารระดับหัวหนาสวนราชการรับผิดชอบในการปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ .ขอมูลขาวสารของราชการเปนการเฉพาะ

ผูบริหารของสวนราชการใหความสําคัญและควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติ ตามกฎหมายขอมูลขาวสารของราชการอยางเครงครัด เชน มีการประชุมเพื่อซักซอมความเขาใจในการปฏิบัติตามกฎหมาย เปนตน

จัดเก็บสถิติและสรุปผลการมาใชบริการ ณ ศูนยขอมูลขาวสารของสวนราชการ รายงานใหผูบริหารของสวนราชการทราบอยางสม่ําเสมอ รายเดือนหรือ รายไตรมาส

มีการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ .ศ .2547 ในการใหบริการขอมูลขาวสารแกประชาชนดวยความรวดเร็ว โดยมีเรื่องที่สามารถตอบสนองหรือใหบริการขอมูลขาวสารไดภายในกําหนดรอยละ 100

4 เผยแพรความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิทธิการรับรูขอมูลขาวสารใหบุคลากรใน สวนราชการและประชาชนทราบ ดังนี้

จัดอบรม ใหความรู และกิจกรรมเพื่อสงเสริมการพัฒนาความรูความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมายขอมูลขาวสารและการปฏิบัติหนาที่ในการใหบริการขอมูลขาวสารตามบทบัญญัติของกฎหมายใหแกบุคลากรในสวนราชการอยางทั่วถึงและสม่ําเสมอไมนอยกวา 3 ชั่วโมง

ประชาสัมพันธเผยแพรเกี่ยวกับผลการปฏิบัติตามกฎหมายขอมูลขาวสารของราชการโดยเฉพาะการจัดต้ังศูนยขอมูลตามมาตรา 9 ใหประชาชนรับทราบผานชองทางตาง ๆ อยางนอย 5 ชองทางโดย 1 ใน 5 ชองทาง จะตองเปน การเผยแพร ประชาสัมพันธ ผานระบบอิเล็กทรอนิกส

รับฟงความคิดเห็นของประชาชนที่เกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลขาวสารผานทางชองทางตาง ๆ และมีการนําความคิดเห็นของประชาชนมาพิจารณาประกอบการบริหารจัดการดานการเปดเผยหรือใหบริการขอมูลขาวสาร

5 เผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการประกวดราคา ประกาศสอบราคาที่หัวหนา สวนราชการลงนามแลวบนเว็บไซตของสวนราชการ

จัดทําสรุปผลการจัดซื้อจัดจางเปนรายเดือน และเผยแพรบนเว็บไซตของ สวนราชการทุกเดือน

Page 13: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี Q.2.1. ระดับความสําเร็จในการเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการ แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

- งานธุรการ สํานักปลัดเทศบาล จัดทําแผนการดําเนินการจัดต้ังศูนยขอมูลขาวสารของสวนราชการ มีเจาหนาที่รับผิดชอบ ประจําศูนยขอมูลขาวสาร และกําหนดแนวทางการรองขอขอมูลขาวสารของประชาชน

- และจัดเก็บขอมูลขาวสารตามมาตรา 9 ของพรบ.ขอมูลขาวสารฯ ใหครบถวน และเปนปจจุบัน - ความถี่ในการประเมิน 6 เดือนตอ 1 คร้ัง

เคร่ืองมือการประเมิน:

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1 ทน.Q2.1-1 แนวทางการประเมินระดับความสําเร็จในการเปดเผยขอมูลขาวสาร

ของราชการและสรุปรายงานแสดงเอกสาร เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับความสําเร็จในการเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการ

ระดับ - - 1 2 3

ขอมูลพื้นฐาน : ไมมี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผอ.สํานักการศึกษา เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล : หัวหนางานการเจาหนาที่ สํานักการศึกษา เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล : หัวหนาหนวยงานศึกษานิเทศก เบอรติดตอ : 054-237237

Page 14: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี I1.1 จํานวนหนวยงานทีปฏิบตัติามมาตรฐานการบริการสาธารณะของกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น ชื่อตัวชี้วัด : จํานวนหนวยงานทีปฏิบัติตามมาตรฐานการบริการสาธารณะของกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น

หนวยวัด : จํานวนหนวยงาน

น้ําหนัก : รอยละ 5

คําอธิบาย : • หนวยงาน หมายถึง หนวยงานในเทศบาลนครลําปาง ประกอบดวย 1) สํานักปลัดเทศบาล 2) กองวิชาการและแผนงาน 3) กองคลัง 4) สํานักการชาง 5) กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม 6) สํานักการศึกษา 7) กองสวัสดิการสังคม • ปฏิบัติตามมาตรฐานการบริการสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมและ/หรือภารกิจ ที่พนักงานฯในหนวยงานของเทศบาลไดรับมอบหมายหรือมีคําสั่งใหรับผิดชอบโดยกําหนดใหปฏิบัติงานตามมาตรฐานการบริการสาธารณะ ของกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น ดังนี้

1) สํานักปลัดเทศบาล รับผิดชอบ มาตรฐานดานการปองกัน และบรรเทาสาธารณภัย 2) กองวิชาการและแผนงาน รับผิดชอบ มาตรฐานดานหอกระจายขาว 3) สํานักการชาง รับผิดชอบ จํานวน 3 มาตรฐาน 3.1 มาตรฐานดานถนน ทางเดิน ทางเทา 3.2 มาตรฐานดานไฟฟาสาธารณะและระบบน้ําสะอาด 3.3 มาตรฐานดาน ทางระบายน้ํา 4) กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม รับผิดชอบ จํานวน 2 มาตรฐาน 4.1 มาตรฐานดานสาธารณสุขมูลฐาน 4.2 มาตรฐานดานจัดการสิ่งแวดลอม ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลและการบําบัดนาสีย 5) สํานักการศึกษา รับผิดชอบ 5.1 มาตรฐานดานการสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและจารีตประเพณีทองถิ่น 5.2 มาตรฐานดานสงเสริมกีฬา 5.3 มาตรฐานดาน เด็กเล็กและเยาวชน 6) กองสวัสดิการสังคม รับผิดชอบ 6.1 มาตรฐานดานการสงเสริมอาชีพ 6.2 มาตรฐานดานการสงเคราะหผูสูงอายุ 6.3 มาตรฐานดานจัดการที่อยูอาศัยผูมีรายไดนอย

• มาตรฐานการบริการสาธารณะ หมายถึง คูมือมาตรฐานการบริการตามภารกิจ ช่ึงกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นไดจัดทําเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัตงานของเจาหนาที่ของอปท .โดยคูมือมาตรฐานฯจะกําหนดการไหลของงาน แนวทางการทํางาน มาตรฐานดานเทคนิค ระเบียบกฏหมายที่อางอิง ในแตละขั้นตอนการทํางานอยางชัดเจน

• แบบประเมินมาตรฐานการบริการสาธารณะ หมายถึง แบบประเมินช่ึงกําหนดโดยกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ใชสําหรับเปนแนวทางในการประเมินมาตรฐานการบริการขั้นต่ําของเทศบาล ซึ่งแบบประเมินฯจะกําหนดหัวขอประเมิน เกณฑการประเมิน คะแนน เปาหมายมาตรฐานขั้นต่ํา โดยเปาหมายจะพิจารณาในเชิงผลลัพท หรือผลการบริการ โดยไมพิจารณาปจจัยนําเขา

• เกณฑ หมายถึง 1. ขอตกลงที่ระบุผลสําเร็จของการดําเนินการไวในแบบประเมินมาตรฐานการบริการสาธารณะในแตละดาน ทั้งนี้หนวยงาน

ที่สามารถปฎิบัตตามหัวขอประเมินไดทุกขอ และไดคะแนนสูงสุด ถือวาผานเกณฑมาตรฐาน นั้นๆ 2.. สําหรับหนวยงานที่รับผิดชอบตั้งแต 2-3 มาตรฐาน ใหถือวาผานเกณฑเมื่อหนวยงานนั้นสามารถปฎิบัตตามหัวขอ

ประเมินไดทุกขอและไดคะแนนสูงสุด ต้ังแต 2 มาตรฐาน

Page 15: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี I1.1 จํานวนหนวยงานทีปฏิบตัติามมาตรฐานการบริการสาธารณะของกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น สูตรการคํานวณ : แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บขอมูล : เคร่ืองมือการ ประเมิน

จํานวนหนวยงานที่มีผลการปฏิบัติงานผานเกณฑการประเมินมาตรฐานฯ X 100 จํานวนหนวยงานทั้งหมดที่รับผิดชอบปฏิบัติตามมาตรฐานการบริการฯ 1.คูมือมาตรฐานการบริการสาธารณะในแตละดาน ใหจัดเก็บไว ณ หนวยงาน งานวิจัยฯ กองวิชาการและแผนงาน และเก็บไว ณ หนวยงานตนเรื่องที่รับผิดชอบ 2.แบบประเมินฯ และผลการประเมินมาตรฐานการบริการสาธารณะ ใหจัดเก็บ งานวิจัยฯ กองวิชาการฯ และเก็บไว ณ หนวยงาน สาธารณสุขและสิ่งแวดลอม 3. การประเมินมาตรฐานการบริการสาธารณะ ในแตละป หรือการปรับปรุงแกไขแบบประเมินฯ หรอืการกําหนดใหหนวยงานมีการประเมินฯมาตรฐานการบริการสาธารณะ เพิ่มจากเดิม เนื่องจากกรมสงเสริมฯ ไดจัดสงแบบประเมินฯมาให ใหเปนหนาที่ของ งานวิจัยและประเมินผล กองวิชาการและแผนงาน ที่จะขอแกไขเพิ่มเติม พจนานุกรมตัวช้ีวัดนี้ รวมถึงการซักซอมความเขาใจใหหนวยงานตางๆ ไดรับรูและเขาใจ 4 ความถี่ในการประเมินปละ 1 ครั้ง

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทน I1.1-1 แบบสรุปหนวยงานที่มีผลการปฏิบัติงานไดตามเกณฑการแบบประเมินมาตรฐาน

การบริการสาธารณะ ของกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น

เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 รอยละของหนวยงานที่มีผลปฏิบัติงานของพนักงานฯไดตามคูมือการปฏิบัติงานมาตรฐานของแตละงาน ไมนอยกวารอยละ 80

รอยละ 1 2 3 4 5

ขอมูลพื้นฐาน : ไมมี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล : หัวหนางานวางแผนฯ กองสาธารณสุขฯ เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล : หัวหนางานฝกอบรมฯ กองสาธารณสุขฯ เบอรติดตอ : 054-237237

Page 16: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี I 2.1 รอยละความพึงพอใจในการรวมกิจกรรมกับเทศบาลของเครือขายพนัธมิตร ชื่อตัวชี้วัด รอยละความพึงพอใจในการรวมกิจกรรมกับเทศบาลของเครือขายพันธมิตร

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 2

คําอธิบาย : - เครือขายพันธมิตร หมายถึง องคกรที่มีกิจกรรมแกไขปญหารวมกันกับเทศบาลนครลําปาง ซึ่งแบงไดเปน 3 ประเภท คือ 1. หนวยงานภาครัฐ ทั้งสวนราชการสังกัดสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถิ่น เชน จังหวัด อบจ. เทศบาล อบต. เปนตน 2. องคกรเอกชน เชน หอการคา สมาคม มูลนิธิ และ

3. กลุมประชาชนตางๆ เชน ชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ที่รวมดําเนินกิจกรรมกับเทศบาลนครลําปาง - กิจกรรม หมายถึง งาน โครงการ ที่เทศบาลนครลําปางเปนผูดําเนินการรวมกับเครือขายพันธมิตร ซึ่งแบงเปน 2 ประเภทคือ 1. ได

จัดสรรงบประมาณดังระบุใวในเอกสารงบประมาณรายจายประจําปของเทศบาลนครลําปาง และ/หรือ 2. มีสวนรวมในการดําเนินการ

- ความพึงพอใจ หมายถึง การที่เครือขายพันธมิตรแสดงความคิดเห็นวามีความพึงพอใจในการในการรวมกิจกรรมกับเทศบาล สูตรการ

คํานวณ : รอยละความพึงพอใจ = จํานวนผูตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจ X 100 จํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด

กําหนดระดับความพึงพอใจ ตองมีคะแนนเฉลี่ย เทากับ 3.5 เกณฑการใหคะแนนเทียบกับรอยละความพึงพอใจในการรวม

กิจกรรมกับเทศบาลของเครือขายพันธมิตร ตัวชี้วัด (i) น้ําหนัก (Wi)

1 2 3 4 5

คะแนนที่ได (SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้าํหนัก (Wi x SMi)

PISM 1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)

PISM 2 W2 60 70 80 90 100 SM2 (W2 x SM2)

PISM 3 W3 60 70 80 90 100 SM3 (W3 x SM3)

Σi=1-3Wi = 1.0 Σi=1-3 (Wi x SMi)

หมายเหตุ ขณะนี้หัน้ําหนักสวนราชการเทากัน

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนักรอยละความพึงพอใจในการรวมกิจกรรมกับเทศบาลของเครือขายพันธมิตร

Σi=1-3 ( Wi x SMi ( หรือ ) W1 x SM1) + (W2 x SM2) + (W 3 x SM 3( Σi=1-3 Wi W1+ W2 + W3

W หมายถึง น้ําหนักความสําคัญที่ใหกับผลตัวช้ีวัด รอยละความพึงพอใจในการรวมกิจกรรมกับเทศบาลของเครือขายพันธมิตร

ของแตละสวนราชการ ระดับสํานัก / กอง และผลรวมของน้ําหนักของทุก สวนราชการSM) Σ Wi = (1 โดยที่สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา และคณะกรรมการตรวจประเมินตัวช้ีวัดหนวยงานของเทศบาลนครลําปาง จะตกลงรวมกับสวนราชการเพื่อกําหนดน้ําหนักรอยละของลําดับ (i) ไวในคํารับรองการปฏิบัติราชการ

SM หมายถึง คะแนนที่ไดจากผลตัวช้ีวัดรอยละความพึงพอใจในการรวมกิจกรรมกับเทศบาลของเครือขายพันธมิตร ของแตละสวนราชการ ระดับสํานัก / กอง

i หมายถึง ลําดับที่ของสวนราชการระดับสํานัก / กอง หรือเทียบเทา ;1 ,2,… ,i

Page 17: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ 1. ตนปงบประมาณให กองสวัสดิการฯคัดกรองขอมูลของกิจกรรมเครือขายจากแผนงานประจําปหรืองบประมาณประจําป จาก กอง วิชาการและแผนงาน และกอง/สํานักตางๆ ที่จะมีกิจกรรมรวมกับเครือขาย 2. สอบถามทุกสวนราชการวาจะมีกิจกรรมเครือขายใดบางชึ่งไมมีระบุในงบประมาณรายจาย แตในอนาคตเทศบาลจะมี กิจกรรมเ ครือขายรวม 3. ตนปงบประมาณใหจัดทําฐานขอมูลกิจกรรมทุกเครือขายของทุกสวนราชการตามขอ1 และขอ2 ไว 4. สวนราชการจัดทําแผนการทํางานรวมกับเครือขายพรอมระบุวันเวลาที่จะดําเนินงาน และใหผูรับผิดชอบโครงกาi นํา แบบสอบถามความพึงพอใจ ในการแกปญหารวมกันของเครือขายพันธมิตร (ทน I2.1-1) กรอกทุกครั้ง 5 ผูรับผิดชอบโครงการ นําแบบสอบถามความพึงพอใจ ในการแกปญหารวมกันของเครือขายพันธมิตร (ทน I2.1-1) ที่เครอืขายกรอกเสร็จ สงใหผูกํากับดูแลตัวชี้วัด (ผูอํานวยการกองสวัสดิการฯ ) 6. ผูกํากับตัวช้ีวัดและผูจัดเก็บขอมูล ติดตามและสรุปขอมูลประเมินความพึงพอใจ ของเครือขาย 7. ความถี่ในการเก็บขอมูลปละ 1 ครั้ง

เคร่ืองมือการ ประเมิน

ตัวชี้วัดท่ี I 2.1 รอยละความพึงพอใจในการรวมกิจกรรมกับเทศบาลของเครือขายพนัธมิตร

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทนI2.1-1 แบบสอบถามความพึงพอใจของเครือขายพันธมิตร เอกสาร 2 ทนI2.1-2 แบบสรุปความพึงพอใจในของเครือขายพันธมิตร เอกสาร

3 ทนQ1.1-3 แบบสรุปการคํานวณความพึงพอใจผูตอบแบบสอบถาม เอกสาร

ตัวชี้วัด หนวยวัด เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51

รอยละความพึงพอใจในการรวมกิจกรรมกับเทศบาลของเครือขายพันธมิตร

รอยละ 60 65 70 75 80

ขอมูลพื้นฐาน : ไมม ี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผูอํานวยการกองสวัสดิการฯ เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนาฝายสังคมสงเคราะห เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานสังคมสงเคราะห เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล :

หัวหนางานพัฒนาชุมชน เบอรติดตอ : 054-237237

Page 18: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี I 2.2 รอยละของกิจกรรมรวมท่ีบรรลุและสําเร็จตามเปาหมาย ชื่อตัวชี้วัด : รอยละของกิจกรรมรวมท่ีบรรลุและสําเร็จตามเปาหมาย

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 2

คําอธิบาย : - เครือขายพันธมิตร หมายถึง องคกรที่มีกิจกรรมรวมกันกับเทศบาลนครลําปาง ซึ่งแบงไดเปน 3 ประเภท คือ 1. หนวยงานภาครัฐ ทั้งสวนราชการสังกัดสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถิ่น เชน จังหวัด อบจ. เทศบาล อบต. เปนตน 2. องคกรเอกชน เชน หอการคา สมาคม มูลนิธิ และ

3. กลุมประชาชนตางๆ เชน ชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ที่รวมดําเนินกิจกรรมกับเทศบาลนครลําปาง - กิจกรรมรวมหมายถึง งาน หรือโครงการ ที่เทศบาลนครลําปางเปนผูดําเนินการรวมกับเครือขายพันธมิตร ซึ่งแบงเปน 2 ประเภท

คือ 1. ไดจัดสรรงบประมาณดังระบุใวในเอกสารงบประมาณรายจายประจําปของเทศบาลนครลําปาง และ/หรือ 2. มีสวนรวมในการดําเนินการ

- สําเร็จตามเปาหมาย หมายถึง กิจกรรมที่บรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายหรือตัวช้ีวัด(PI)ที่ระบุไวในโครงการ ที่รวมกันดําเนินงาน

รอยละของภารกิจที่สามารถรวมแกไขปญหาได = จํานวนกิจกรรมรวม ท่ีบรรลุและสําเร็จตามเปาหมาย X 100

จํานวนกิจกรรมรวมทั้งหมด

สูตรการคํานวณ :

เคร่ืองมือการประเมิน

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทนI2.2-1 แบบรายงานกิจกรรมรวมท่ีบรรลุและสําเร็จตามเปาหมาย เอกสาร

2 ทนI2.2-2 แบบสรุปกิจกรรมรวมท่ีบรรลุและสําเร็จตามเปาหมาย เอกสาร

แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บขอมูล :

1.ตนปงบประมาณใหกองสวัสดิการฯคัดกรองขอมูลของกิจกรรมเครือขายจากแผนงานประจําปหรืองบประมาณประจําป จากกองวิชาการและแผนงาน และกอง/สํานักตางๆ ที่จะมีกิจกรรมรวมกับเครือขาย 2 . สอบถามทุกสวนราชการวาจะมีกิจกรรมเครือขายใดบางชึ่งไมมีระบุในงบประมาณรายจาย แตในอนาคตเทศบาลจะมี กิจกรรมเครือขายรวม

3. ตนปงบประมาณใหจัดทําฐานขอมูลกิจกรรมทุกเครือขายของทุกสวนราชการตามขอ1 และขอ2 ไว และผูกํากับแจงทุกสวนราชการพรอมทําขอตกลงรวมที่จะประเมินการดําเนินงาน

4 . สวนราชการจัดทําแผนการทํางานรวมกับเครือขายพรอมระบุวันเวลาที่จะดําเนินงาน ตัวช้ีวัดความสําเร็จ และใหมีการ ประเมินผลความสําเร็จทุกครั้ง และใหรายงานผูกํากับดูแลตัวชี้วัดทุกครั้งเมื่อประเมินผลแลวเสร็จ

5. ผูกํากับติดตามและผูจัดเก็บขอมูลติดตามและสรุปขอมูลการประเมินผลความสําเร็จกิจกรรมรวม 6. ความถี่ในการเก็บขอมูลรายไตรมาศ ทุก 6 เดือน

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5

รอยละของกิจกรรมรวมท่ีบรรลุและสําเร็จตามเปาหมาย

รอยละ 60 65 70 75 80

ขอมูลพื้นฐาน : ไมม ี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผูอํานวยการกองสวัสดิการฯ เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนาฝายสังคมสงเคราะห เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานพัฒนาชุมชน เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล :

หัวหนางานสังคมสงเคราะห เบอรติดตอ : 054-237237

Page 19: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี I3.1 ระดับความสาํเร็จในการประเมินผลการปฎิบัติราชการตามตัวชี้วดัของแบบประเมินอปท.ท่ีมี การบริหารจัดการ ท่ีดี ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จในการประเมินผลการปฎิบัติราชการตามตัวชี้วัดของแบบประเมินอปท.ท่ีมี การบริหารจัดการที่ดี

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 7

คําอธิบาย : - การบริหารจัดการที่ดี หมายถึง การบริหารราชการขององศกรการปกครองสวนทองถิ่นตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกาวาดวย หลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ซึ่งกระทรวงมหาดไทยไดกําหนดวิธีการปฏิบัติ แบบประเมินฯ และ วิธีการประเมิน และหลักเกณฑการประเมิน องศํกรที่มีการบริหารราชการที่ดี รวมทั้งหลักเกณฑการใหรางวัลแกอปท. - แบบประเมินอปท.ที่มีการบริหารจัดการที่ดี หมายถึง แบบประเมินการบริหารจัดการที่ ดี ซึ่งกําหนดโดยกระทรวงมหาดไทย ประกอบดวยหัวขอการประเมินดังนี้

1. การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน 2. การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจ 3. การบริหารราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจ 4. การลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ 5. การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการประชาชน

6. การพัฒนาความรูและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ในแบบประเมินจะ กําหนดวิธีการประเมิน เกณฑการประเมิน เกณฑการใหคะแนน ระดับความสําเร็จ ตามตัวช้ีวัด - ความสําเร็จตในการประเมินผลการปฎิบัติราชการตามตัวชี้วัดของแบบประเมินอปท.ที่มีการบริหารจัดการที่ดี หมายถึง ระดับความสําเร็จในการปฏิบัตราชการของเทศบาลนครลําปางตามหัวขอประเมินฯในแบบประเมินโดย กําหนดเปนระดับขั้นของความสําเร็จ )Milestone (แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 5 ระดับ พิจารณาจาก ความกาวหนาของขั้นตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี้

ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone) ระดับคะแนน

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5

1 2 3 4 5

Page 20: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี I3.1 ระดับความสาํเร็จในการประเมินผลการปฎิบัติราชการตามตัวชี้วดัของแบบประเมินอปท.ท่ีมี การบริหารจัดการ ท่ีดี (ตอ)

สูตรคํานวณ

เคร่ืองมือตัวชี้วัด

วัดผลสําเร็จของสวนราชการในเทศบาลนคร ในการปฏิบัตราชการตามหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี โดยรับผิดชอบในการผลักดันใหเทศบาลเปนองศกรที่มีคุณภาพภายใตหลักธรรมาธิบาล ตามแนวทาง และวิธิการประเมินตามแบบ ประเมินอปท.ที่มีการบริหารจัดการที่ดี

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

1 ระดับความสําเร็จในการประเมินการปฏิบัติราชการตามตัวช้ีวัดในแบบประเมินอปท.ที่มีการบริหารจัดการที่ดี โดยไดคะแนนการประเมินเต็มในหัวขอการประเมินฯ ไมเกิน 89 คะแนน

2 ระดับความสําเร็จในการประเมินการปฏิบัติราชการตามตัวช้ีวัดในแบบประเมินอปท.ที่มีการบริหารจัดการที่ดี โดยไดคะแนนการประเมินในหัวขอการประเมินฯ ต้ังแต

90-93 คะแนน 3 ระดับความสําเร็จในการประเมินการปฏิบัติราชการตามตัวช้ีวัดในแบบประเมินอปท.ที่มีการบริหาร

จัดการที่ดี โดยไดคะแนนการประเมินในหัวขอการประเมิน ต้ังแต 94-96 คะแนน

4 ระดับความสําเร็จในการประเมินการปฏิบัติราชการตามตัวช้ีวัดในแบบประเมินอปท.ที่มีการบริหารจัดการที่ดี โดยไดคะแนนการประเมินในหัวขอการประเมินฯ รวม ต้ังแต 97 -99 คะแนน

5 ระดับความสําเร็จในการประเมินการปฏิบัติราชการตามตัวช้ีวัดในแบบประเมินอปท.ที่มีการบริหารจัดการที่ดี โดยไดคะแนนการประเมินเต็มในหัวขอการประเมินฯครบทุกหัวขอการประเมินฯ (100 คะแนน)

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทนI3.1-1 แบบสรุปผลสําเร็จในการการปฎิบัติราชการตามตัวชี้วัดของแบบประเมินอปท.ท่ีมี การ

บริหารจัดการที่ดี

เอกสาร

แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บขอมูล :

-กองวิชาการฯ ขอความรวมมือจากสํานัก กอง หรือเทียบเทา ให รวบรวมเอกสาร หลักฐานตามตัวชี้วัด - ความถี่ในการจดัเก็บขอมูล : สํานักฯ / กอง หรือเทียบเทา รวบรวมแบบประเมินตามตัวช้ีวัดตามกําหนดเวลาที่กรมสงเสริมฯกําหนด โดยแบบการประเมินการบริหารจัดการบานเมืองที่ดี ใหเปนไปตามทีก่ระทรวงมหาดไทย ในแตละป

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5

รอยละความสําเร็จในการประเมินผลการปฎิบัติราชการตามตัวชี้วัดของการบริหารจัดการบานเมืองที่ดี (ธรรมาภิบาล)

รอยละ 1 1 2 3 4

ขอมูลพื้นฐาน : ไมม ี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผูอํานวยการกองวิชาการและแผนงาน เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล : หัวหนาฝายบริการฯ เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานวิจัยและประเมินผล เบอรติดตอ : 054-237237

Page 21: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี I 4.1 รอยละของหนวยงานที่ปรับโอน หรือ ปรับโอนและเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจาย ไมเกินรอยละ 30 ของงบประมาณรายจายรวมของหนวยงาน

ชื่อตัวชี้วัด : รอยละของหนวยงานที่ปรับโอน หรือปรับโอนและเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจาย ไมเกินรอยละ 30 ของงบประมาณรายจายรวมของหนวยงาน

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 2

คําอธิบาย : - งบประมาณ หมายถึง งบประมาณรายจายประจําปหรืองบประมาณรายจายเพิ่มเติมของทุกหนวยงาน - การปรับโอน หมายถึง การลด หรือ เพิ่ม เงินงบประมาณรายจายจากหมวดคาใชจายหนึ่งไปอีกหมวดคาใชจายหนึ่ง ที่ทํา

ใหลักษณะ ปริมาณ คุณภาพเปลี่ยน หรือโอนไปตั้งจายเปนรายการใหม - การปรับโอนและเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจาย หมายถึง การลด หรือ เพิ่ม เงินงบประมาณรายจายและการแกไข เปลี่ยนแปลงคําช้ีแจงงบประมาณรายจาย ที่ทําใหลักษณะ ปริมาณ คุณภาพเปลี่ยน ยกเวนแตในกรณีที่มีเหตุจําเปนเรงดวน จะไมนํามาคิดคํานวณวาเปนการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเหตุจําเปนเรงดวน ประกอบดวย

1) อุบัติภัย น้ําทวม เหตุการณภัยธรรมชาติที่คาดไมถึง 2) คําสั่งของหนวยงานระดับจังหวัด หรือ รัฐบาล ที่สั่งการใหดําเนินการ 3) เรื่องที่ประชาชนรองขอ หากไมดําเนินการจะเกิดความเสียหายแกชีวิตและทรัพยสิน

- หนวยงาน หมายถึง หนวยงานในเทศบาลนครลําปาง ประกอบดวย 1) สํานักปลัดเทศบาล 2) กองวิชาการและแผนงาน 3) กองคลัง 4) สํานักการชาง 5) กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม 6) สํานักการศึกษา 7) กองสวัสดิการสังคม 8) หนวยงานตรวจสอบภายใน - รอยละของจํานวนเงินที่ปรับโอน = จํานวนเงินที่ปรับโอน หรือปรับโอนและเปลี่ยนแปลง X 100 จํานวนเงินงบประมาณรายจายรวมทั้งหมดของหนวยงาน

สูตรการคํานวณ: จํานวนหนวยงานที่ปรับโอนฯ ไมเกินรอยละ 30 ของงบประมาณรายจายรวม X 100 จํานวนหนวยงานทั้งหมด

เคร่ืองมือการ : ประเมิ น แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บขอมูล :

กําหนดใหหนวยงานที่มีการโอน หรือปรับโอนและเปลี่ยนแปลงงบประมาณ จัดสงขอมูลใหงานการเงินและบัญชี กองคลัง

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทน I4.1-1 สรุปการปรับโอนหรือปรับโอนและเปลี่ยนแปลงงบประมาณราจายประจําป เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 รอยละของหนวยงานที่ปรับโอน หรือปรับโอนและเปลี่ ยนแปลงงบประมาณรายจาย ไมเกินรอยละ 30 ของงบประมาณรายจายรวมของหนวยงาน

รอยละ 60 63 65 68 70

ขอมูลพื้นฐาน : ไมม ี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผอ.กองคลัง เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานการเงินและบัญชี เบอรติดตอ : 054-237237 ผูจัดเก็บขอมูล : หัวหนางานสถิติการคลัง เบอรติดตอ : 054-237237

Page 22: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี I4.2.ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการ เบิก จายเงินงบประมาณไดตามเกณฑ ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการเบิกจายเงินงบประมาณไดตามเกณฑ หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 2

คําอธิบาย :

- งบประมาณรายจาย หมายถึง เทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปของเทศบาลนครลําปาง แตไมรวม งบประมาณรายจายเพิ่มเติม หรือ เงินที่จายขาดจากเงินสะสม

- ป หมายถึง ปงบประมาณ ซึ่งมีระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปหนึ่ง ถึงวันที่ 30 กันยายน ของปถัดไป และใหใชป พ.ศ.ที่ถัดไปนั้นเปนช่ือสําหรับปงบประมาณนั้น - หนวยงานหมายถึง หนวยงานในเทศบาลนครลําปาง ประกอบดวย 1) สํานักปลัดเทศบาล 2) กองวิชาการและแผนงาน 3) กองคลัง 4) สํานักการชาง 5) กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม 6) สํานักการศึกษา 7) กองสวัสดิการสังคม 8) หนวยงานตรวจสอบภายใน - การเบิกจายเงินงบประมาณหมายถึง การที่หนวยงานดําเนินกิจกรรมตามภารกิจซึ่งระบุคาใชจายประเภทตางๆในการดําเนินภารกิจไวในเทศบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําป โดยไดดําเนินการเบิกจายเพื่อกิจการนั้นๆ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการรับ และเบิกจายเงินฯจนสําเร็จ - ไดตามเกณฑ หมายถึง การเรงรัดการใชจายเงินงบประมาณสําเร็จ โดยผลรวมการเบิกจายเงินของหนวยงานเทศบาลบรรลุตามเปาหมายการเบิกจายงบประมาณ ดังนี้คือ - ไตรมาศแรก ไมนอยกวา รอยละ 22.50 - ไตรมาศสอง ไมนอยกวา รอยละ 46 - ไตรมาศสาม ไมนอยกวา รอยละ 70 - ไตรมาศสี่ ไมนอยกวา รอยละ 94 - การเบิกจายในภาพรวม ไมนอย รอยละ95 กําหนดเปนระดับขั้นของความสําเร็จ )Milestone (แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 5 ระดับ พิจารณาจาก ความกาวหนาของขั้นตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับ ดังนี้

ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone) ระดับคะแนน

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5

1 2 3 4 5

Page 23: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

สูตรคํานวณ

โดยที่

วัดผลสําเร็จของสวนราชการ จากการเบิกจายเงินงบประมาณรายจาย ประจําป พ.ศ. 25xx เทียบกับเปาหมายของตัวช้ีวัดการเบิกจายงบประมาณ ซึ่ง กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ไดกําหนดเกณฑการเบิกจายงบประมาณไว ทั้งนี้เพื่อกระตุนใหองศกรปกครองสวนทองถิ่นไดเรงรัดการใชจายใหทันในปงบประมาณ

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนักระดับรอยละของความสําเร็จการเบิกจายเงินงบประมาณรายจาย ไดตามเกณฑ เทากับ

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

1 เรงรัดการใชจายเงินงบประมาณสําเร็จ โดยผลรวมการเบิกจายเงินของหนวยงานเทศบาลบรรลุตามเปาหมายการเบิกจายงบประมาณ ได 1 ไตรมาศ

2 เรงรัดการใชจายเงินงบประมาณสําเร็จ โดยผลรวมการเบิกจายเงินของหนวยงานเทศบาลบรรลุตามเปาหมายการเบิกจายงบประมาณ ได 2 ไตรมาศ

3 เรงรัดการใชจายเงินงบประมาณสําเร็จ โดยผลรวมการเบิกจายเงินของหนวยงานเทศบาลบรรลุตามเปาหมายการเบิกจายงบประมาณ ได 3 ไตรมาศ

4 เรงรัดการใชจายเงินงบประมาณสําเร็จ โดยผลรวมการเบิกจายเงินของหนวยงานเทศบาลบรรลุตามเปาหมายการเบิกจายงบประมาณ ได 4 ไตรมาศ

5 เรงรัดการใชจายเงินงบประมาณสําเร็จ โดยผลรวมการเบิกจายเงินของหนวยงานเทศบาลบรรลุตามเปาหมายการเบิกจายงบประมาณ ได 4 ไตรมาศ รวมทั้งเบิกจายภาพรวม

เกณฑการใหคะแนนเทียบกับระดับของผลสําเร็จการเบิกจายเงินงบประมาณ

ความสําเร็จในการเบิกจายเงินงบประมาณฯ

น้ําหนัก (Wi)

1 2 3 4 5

ผลการดําเนินงาน

(SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (Wi x SMi)

สวนราชการSM 1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)

สวนราชการSM 2 W2 60 70 80 90 100 SM2 (W2 x SM2)

. . 60 70 80 90 100 . .

. . 60 70 80 90 100 . .

สวนราชการSM i Wi 60 70 80 90 100 SMi (Wi x SMi)

Σ Wi = 1.0 Σ (Wi x SMi)

(W1 x SM1) + (W2 x SM2) + ... + (Wi x SMi)

W1+ W2 ++... Wi

∑ (Wi x SMi)

∑ Wi หรือ

Page 24: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี I4.2. ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการ เบิก จายเงินงบประมาณไดตามเกณฑ

เกณฑการใหคะแนน : ชวงเกณฑการใหคะแนน +/- 1 ตอ 1 คะแนน โดยกาํหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

1 Σ (Wi x SMi) = 1

2 Σ (Wi x SMi) = 2

3 Σ (Wi x SMi) = 3

4 Σ (Wi x SMi) = 4

5 Σ (Wi x SMi) = 5

แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บขอมูล : งานการเงินและบัญชี กองคลัง รวบรวมขอมลูจากเอกสารงบประมาณรายจาย ประจาํปงบประมาณ หรือ เอกสาร ที่เกี่ยวของตางๆและรวบรวมการเบิกจายเงินงบประมาณ ของหนวยงาน ทุกรายไตรมาศ

เครื่องมือการ :ประเมิน

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวช้ีวัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับความสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการเบิกจายงบประมาณไดตามเกณฑ

รอยละ 1 1 2 3 4

ขอมูลพื้นฐาน : ไมม ี

ผูกํากับดูแลตัวช้ีวัด: ผอ.กองคลัง เบอรติดตอ : 054-237237

ผูจัดเก็บขอมูล : หัวหนางานผลประโยชน หัวหนางานการเงนิและบัญชี หวหนางานสถิตกิารคลัง

เบอรติดตอ : 054-237237 เบอรติดตอ : 054-237237

โดยที่ W หมายถึง น้ําหนักความสําคญัที่ใหกับผลตัวชีว้ัดหลักที ่I4.2 (รอยละของความสําเร็จในการเบิกจายเงินงบประมาณไดตามเกณฑ)

ของแตละสวนราชการ ระดบัสํานัก / กอง และผลรวมของน้ําหนักของทกุ สวนราชการSM) Σ Wi = (1 โดยที่สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา และคณะกรรมการตรวจประเมินตัวชีว้ัดหนวยงานของเทศบาลนครลาํปาง จะตกลงรวมกบัสวนราชการเพือ่กําหนดน้ําหนักรอยละของลาํดบั (i) ไวในคํารบัรองการปฏิบัตริาชการ

SM หมายถึง คะแนนที่ไดจากผลตัวชี้วดัหลักที ่I4.2. (รอยละของความสําเร็จในการเบิกจายเงินงบประมาณไดตามเกณฑ) ของแต ละสวนราชการ ระดับสํานัก / กอง

i หมายถึง ลําดบัที่ของสวนราชการระดับสํานกั / กอง หรือเทียบเทา ;1 ,2,… ,i

ลําดบั รหัส ชื่อ ประเภท 1. ทน -I 4.2-1 แบบสรุปผลรอยละผลสําเร็จในการเบิก จายเงินงบประมาณฯของสํานกั/กอง เอกสาร 2 ทน -I 4.2-2 ตารางสรุปผลสําเร็จรอยละการเบิก จายเงินงบประมาณไดตามเกณฑ เอกสาร

Page 25: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี F1.1 รอยละของบุคลากรท่ีเก่ียวของที่เขาถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนครลําปาง ชื่อตัวชี้วัด : รอยละของบุคลากรที่เก่ียวของที่เขาถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนครลําปาง

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 2.5

คําอธิบาย : 1. สารสนเทศ หมายถึง ขาวสารที่ไดจากการนําขอมูลดิบมาคํานวณทางสถิติหรือประมวลผลอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งขาวสารที่ไดออกมานั้นจะอยูในรูปที่สามารถนําไปใชงานไดทันที

2. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการตาง ๆ และระบบงานที่ชวยใหไดสารสนเทศที่ตองการโดยจะรวมถึง 2.1. เครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องใชสํานักงาน อุปกรณโทรคมนาคมตาง ๆ รวมทั้ง

ซอฟตแวรทั้งระบบสําเร็จรูปและพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะดาน 2.2 กระบวนการในการนําเครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ ขางตนมาใชงาน รวบรวมขอมูล จัดเก็บประมวลผล และแสดง

ผลลัพธเปนสารสนเทศในรูปตาง ๆ ที่สามารถนําไปใชประโยชนตอไป 3. บุคลากรผูเกี่ยวของ หมายถึง บุคลากรที่เขาถึงและไดใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบดวย

3.1 บุคลากรระดับผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (USER) ประกอบดวย เจาหนาที่ผูรับผิดชอบหรือไดรับมอบหมายใหดําเนินงานบนระบบงานสารสนเทศโดยตรง ประกอบดวย ผูอํานวยการสํานัก/กอง ผูอํานวยการสวน/หัวหนาฝาย หัวหนางาน และเจาหนาที่ที่ไดรับมอบหมายโดยเปนคําสั่งของสํานัก/กอง

3.2 บุคลากรดานบริหารและจัดการ (Executive & Management) ประกอบดวย ผูบริหารระดับสูง เชน นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษา เลขานุการนายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล และรองปลัดเทศบาล

3.3 บุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Staff) เปนบุคลากรเชิงเทคนิคของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทําหนาที่บริหารจัดการโครงการสารสนเทศ การดูแลรักษาระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย และอุปกรณสารสนเทศตอพวง การรักษาความปลอดภัยบนระบบเครือขาย การดูแลรักษาฐานขอมูล

4. เขาถึง (Accessible) หมายถึง บุคลากรผูเกี่ยวของที่ไดใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยสามารถไดใชตามความตองการทุกเวลา และโอกาส บนฐานขอมูลของระบบงานตาง ๆ ที่อยูในขั้นความปลอดภัยที่จะสามารถเขาถึงได

สูตรการคํานวณ: รอยละการเขาถีง ฯ = จํานวนผูตอบแบบสอบถามที่เขาถึงฯ X 100 จํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด

กําหนดระดับการเขาถึง ตองมีคะแนนเฉลี่ย เทากับ 3.5

หมายเหตุ ในที่นี้ใหน้ําหนักเทากันทุกสวนราชการ

Page 26: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี F1.1 รอยละของบุคลากรที่เก่ียวของที่เขาถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนครลําปาง

เกณฑการใหคะแนนเทียบกับรอยละของบุคลากรท่ีเกี่ยวของท่ีเขาถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนครลาํปาง ตัวชี้วัด (i) น้ําหนัก (Wi)

1 2 3 4 5

คะแนนที่ได (SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้าํหนัก (Wi x SMi)

PISM 1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)

PISM 2 W2 60 70 80 90 100 SM2 (W2 x SM2)

PISM 3 W3 60 70 80 90 100 SM3 (W3 x SM3)

Σi=1-3Wi = 1.0 Σi=1-3 (Wi x SMi)

สูตรการคํานวณ :

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนักรอยละของบุคลากรที่เกี่ยวของที่เขาถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนครลําปาง

Σi=1-3 ( Wi x SMi ( หรือ ) W1 x SM1) + (W2 x SM2) + (W 3 x SM 3( Σi=1-3 Wi W1+ W2 + W3

โดยท่ี

W หมายถึง น้ําหนักความสําคัญที่ใหกับตัวช้ีวัดรอยละของบุคลากรท่ีเกี่ยวของท่ีเขาถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนคร

ลําปาง ของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา และผลรวมของน้ําหนักของทุก KPISM) Σ Wi = ( 1โดยที่สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา จะตองกําหนดน้ําหนักรอยละของตัวช้ีวัดแตละลําดับ (i) ไวในคํารับรองการปฏิบัติราชการ

SM หมายถึง คะแนนที่ไดจากการเทียบกับผลสําเร็จของ รอยละของบุคลากรท่ีเกี่ยวของท่ีเขาถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนครลําปาง ของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา

i หมายถึง ลําดับที่ของตัวช้ีวัดที่กําหนดขึ้นของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา ;1 ,2,… ,i แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

เคร่ืองมือการประเมิน:

เกณฑการประเมิน โดยใชแบบประเมินหรือแบบสอบถามบุคลากรที่เกี่ยวของ และใชเกณฑสัดสวนการใชเครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย และระบบงานบนฐานขอมูลสารสนเทศของ แตละงานมาเปนตัวเกณฑในการจัดระดับการเขาถึง

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทน F1.1.-1 แบบสอบถามการเขาถึง/ ความพึงพอใจการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทศบาลนครลําปาง เอกสาร

2 ทน Q1.1-3 แบบสรุปการคํานวณความพึงพอใจผูตอบแบบสอบถาม เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 รอยละของบุคลากรที่เกี่ยวของที่เขาถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของทน.ลป. รอยละ 65 70 75 80 85

ขอมูลพื้นฐาน : ไมม ี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผูอํานวยการกองวิชาการ และแผนงาน เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานจัดการและพัฒนาระบบสารสนเทศ เบอรติดตอ : 054-237237 ผูจัดเก็บขอมูล : เจาหนาที่ระบบงานคอมฯ เบอรติดตอ : 054-237237

Page 27: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดที. F1.2 รอยละความพึงพอใจของผูใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนครลําปาง ชื่อตัวชี้วัด : รอยละความพึงพอใจของผูใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนครลําปาง

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 2.5

คําอธิบาย : 1. สารสนเทศ หมายถึง ขาวสารที่ไดจากการนําขอมูลดิบมาคํานวณทางสถิติหรือประมวลผลอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งขาวสารที่ไดออกมานั้นจะอยูในรูปที่สามารถนําไปใชงานไดทันที

2. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการตาง ๆ และระบบงานที่ชวยใหไดสารสนเทศที่ตองการโดยจะรวมถึง 2.1. เครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องใชสํานักงาน อุปกรณโทรคมนาคมตาง ๆ รวมทั้ง

ซอฟตแวรทั้งระบบสําเร็จรูปและพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะดาน 2.2. กระบวนการในการนําเครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ ขางตนมาใชงาน รวบรวมขอมูล จัดเก็บประมวลผล และแสดง

ผลลัพธเปนสารสนเทศในรูปตาง ๆ ที่สามารถนําไปใชประโยชนตอไป 3. บุคลากรผูเกี่ยวของ หมายถึง บุคลากรที่เขาถึงและไดใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบดวย

3.1 บุคลากรระดับผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (USER) ประกอบดวย เจาหนาที่ผูรับผิดชอบหรือไดรับมอบหมายใหดําเนินงานบนระบบงานสารสนเทศโดยตรง ประกอบดวย ผูอํานวยการสํานัก ผูอํานวยการกอง หัวหนาสํานัก-ปลัดเทศบาล ผูอํานวยการสวน รองผูอํานวยการสํานักการศึกษา ผูอํานวยการสถานศึกษา รองผูอํานวยการสถานศึกษา หัวหนาฝาย หัวหนางาน หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน ผูจัดการสถานธนานุบาล ครู และเจาหนาที่ที่ไดรับมอบหมายโดยเปนคําสั่งของเทศบาลฯ

3.2 บุคลากรดานบริหารและจัดการ (Executive & Management) ประกอบดวย ผูบริหารระดับสูง เชน นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษา เลขานุการนายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล และรองปลัดเทศบาล

3.3 บุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Staff) เปนบุคลากรเชิงเทคนิคของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทําหนาที่บริหารจัดการโครงการสารสนเทศ การดูแลรักษาระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย และอุปกรณสารสนเทศตอพวง การรักษาความปลอดภัยบนระบบเครือขาย การดูแลรักษาฐานขอมูล

4. ผูใชงาน หมายถึง บุคลากรผูเกี่ยวของที่ไดใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยสามารถไดใชตามความตองการทุกโอกาสและเวลาบนฐานขอมูลของระบบงานตาง ๆ ที่อยูในขั้นความปลอดภัยที่จะสามารถเขาถึงได

5. ความพึงพอใจ หมายถึง ความพอใจของผูใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยวัดผลโดยการใชแบบสอบถาม

สูตรการคํานวณ: รอยละความพึงพอใจ = จํานวนผูตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจ X 100 จํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด

กําหนดระดับความพึงพอใจ ตองมีคะแนนเฉลี่ย เทากับ 3.5 หมายเหตุ ในที่นี้ใหน้ําหนักเทากันทุกสวนราชการ

Page 28: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี F1. .2 รอยละความพึงพอใจของผูใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนครลําปาง

เกณฑการใหคะแนนเทียบกับรอยละความพึงพอใจของผูใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนครลาํปาง ตัวชี้วัด (i) น้ําหนัก (Wi)

1 2 3 4 5

คะแนนที่ได (SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้าํหนัก (Wi x SMi)

PISM 1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)

PISM 2 W2 60 70 80 90 100 SM2 (W2 x SM2)

PISM 3 W3 60 70 80 90 100 SM3 (W3 x SM3)

Σi=1-3Wi = 1.0 Σi=1-3 (Wi x SMi)

สูตรการคํานวณ :

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนักรอยละความพึงพอใจของผูใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลนครลําปาง

Σi=1-3 ( Wi x SMi ( หรือ ) W1 x SM1) + (W2 x SM2) + (W 3 x SM 3( Σi=1-3 Wi W1+ W2 + W3

โดยท่ี

W หมายถึง น้ําหนักความสําคัญที่ใหกับตัวช้ีวัด ของรอยละความพึงพอใจของผูใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ

เทศบาลนครลําปางสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา และผลรวมของน้ําหนักของทุก KPISM) Σ Wi = ( 1โดยที่สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา จะตองกําหนดน้ําหนักรอยละของตัวช้ีวัดแตละ

ลําดับ (i) ไวในคํารับรองการปฏิบติัราชการ SM หมายถึง คะแนนที่ไดจากการเทียบกับผลสําเร็จของ รอยละความพึงพอใจของผูใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ

เทศบาลนครลําปาง ของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา i หมายถึง ลําดับที่ของตัวช้ีวัดที่กําหนดขึ้นของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา ;1 ,2,… ,i

แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

เคร่ืองมือการประเมิน:

จัดเก็บขอมูลดวยแบบสอบถาม โดยขอความรวมมือ จากสํานัก/ กอง หรือเทียบเทา ที่ใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ - จัดเก็บขอมูล ปละ 1 ครั้ง: สํานักฯ / กอง หรือเทียบเทา รวบรวมแบบประเมินตามแบบฟอรมที่กาํหนด สงใหกองวิชาการและแผนงานหลังสิ้นปงบประมาณ (ภายในเดือนตุลาคม)

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทน F1.1.-1 แบบสอบถามการเขาถึง/ ความพึงพอใจการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทนลป เอกสาร 2 ทน Q1.1-3 แบบสรุปการคํานวณความพึงพอใจผูตอบแบบสอบถาม เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 รอยละความพึงพอใจของผูใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของทน.ลป. รอยละ 65 70 75 80 85

ขอมูลพื้นฐาน : ไมม ี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผูอํานวยการกองวิชาการ และแผนงาน เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานจัดการและพัฒนาระบบสารสนเทศ เบอรติดตอ : 054-237237 ผูจัดเก็บขอมูล : เจาหนาที่ระบบงานคอมฯ เบอรติดตอ : 054-237237

Page 29: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี F 2.1 รอยละของบุคลากรรวมกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะอยางนอย 2 กิจกรรม/ป ชื่อตัวชี้วัด : รอยละของบุคลากรรวมกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะอยางนอย 2 กิจกรรม/ป

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 4

คําอธิบาย : บุคลากร หมายถึง ผูบริหาร พนักงานเทศบาล พนักงานครูเทศบาล สังกัดเทศบาลนครลําปาง - สมรรถนะ หมายถึง พฤติกรรม และทักษะ/ความสามารถที่พึงประสงคของพนักงานในสังกัดสวนราชการเทศบาลนครลําปางที่

กําหนดไวในตัวแบบสมรรถนะ (Competency model) รวมทั้งหลักสูตรความรูเทคโนโลยี่สมัยใหม มาตรฐานการทํางาน ที่เกี่ยวของกับตําแหนงงาน และกฏหมาย ระเบียบที่เกี่ยวของกับการทํางาน

- กิจกรรมพัฒนาสมรรถนะ หมายถึง การฝกอบรม การดูงาน การสัมมนา ทุกเรื่อง ในปงบประมาณนั้นๆ เพื่อเพิ่มสมรรถนะตามตัวแบบสมรรถนะ

- ป หมายถึง ปงบประมาณ

จํานวนบุคลากรในสังกัดของแตละสวนราชการที่รวมกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะอยางนอย 2 กิจกรรมตอป x 100

จํานวนบุคลากรในสังกัดของแตละสวนราชการทั้งหมด

เกณฑการใหคะแนนเทียบกับรอยละของบุคลากรรวมกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะอยางนอย 2 กิจกรรม/ป ตัวชี้วัด (i) น้ําหนัก (Wi)

1 2 3 4 5

คะแนนที่ได (SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้าํหนัก (Wi x SMi)

PISM 1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)

PISM 2 W2 60 70 80 90 100 SM2 (W2 x SM2)

. . 60 70 80 90 100 . .

. . 60 70 80 90 100 . .

PISM i Wi 60 70 80 90 100 SMi (Wi x SMi)

Σi=1-8 Wi = 1.0 Σi=1-8 (Wi x SMi)

สูตรการคํานวณ :

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนักระดับรอยละของบุคลากรรวมกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะอยางนอย 2 กิจกรรม/ป เทากับ

หรือ

โดยที่ W หมายถึง น้ําหนักความสําคัญที่ใหกับตัวช้ีวัดรอยละของบุคลากรรวมกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะอยางนอย 2 กิจกรรม/

ปของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา และผลรวมของน้ําหนักของทุก KPISM) Σ Wi = ( 1โดยที่สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา จะตองกําหนดน้ําหนักรอยละของตวัช้ีวัดแตละลําดับ (i) ไวในคํารับรองการปฏบิัติราชการ

SM หมายถึง คะแนนที่ไดจากการเทียบกับผลสําเร็จของรอยละของบุคลากรรวมกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะอยางนอย 2 กิจกรรม/ปของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา

i หมายถึง ลําดับที่ของตัวช้ีวัดที่กําหนดขึ้นของสวนราชการระดับสาํนัก กอง หรือเทียบเทา ;1 ,2,… ,i

∑ (Wi x SMi) ∑ Wi

(W1 x SM1) + (W2 x SM2) +…+ (Wi x SMi) W1 + W2 +…+ Wi

Page 30: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี F 2.1 รอยละของบุคลากรรวมกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะอยางนอย 2 กิจกรรม/ป เกณฑการใหคะแนน :

ชวงเกณฑการใหคะแนน +/- 1 ตอ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

1 Σ (Wi x SMi) = 1

2 Σ (Wi x SMi) = 2

3 Σ (Wi x SMi) = 3

4 Σ (Wi x SMi) = 4

5 Σ (Wi x SMi) = 5

หมายเหตุ ในที่นี้ใหน้ําหนักเทากันทุกสวนราชการ แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

1.กําหนดใหงานการเจาหนาที่ สํานักปลัดเทศบาล จัดทําแผนพัฒนาสมรรถนะพนักงานเทศบาล ประจําป 2.หากมีงบประมาณ สามารถกําหนดกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะพนักงานเทศบาลของหนวยงานตนเองได 3.หนวยราชการที่จัดกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะพนักงานเทศบาลของหนวยงานตนเอง ใหรายงานขอมูล ใหงานกจ. 4.หากหนวยราชการจัดสงบุคลากรเขารับการพัฒนาสมรรถนะจากหนวยงานภายนอก ตองเปนหลักสูตรพัฒนาตามสมรรถนะของหนวยงานตนเอง และใหรายงานขอมูล ใหงานกจ.จัดเก็บขอมูล

เคร่ืองมือการประเมิน:

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทนF2.1-1 แบบสรุปขอมูลการพัฒนาบุคลากร ประจําป เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ

5 รอยละของบุคลากรรวมกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะอยางนอย 2 กิจกรรม/ป รอยละ 55 60 65 70 75

ขอมูลพื้นฐาน :

ไมมี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: หัวหนาสํานักปลัดเทศบาล เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานการเจาหนาที่ เบอรติดตอ : 054-237237 ผูจัดเก็บขอมูล : นางสาวนันทนีย มนะสิการ เบอรติดตอ : 054-237237

Page 31: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี F 2.2 รอยละของบุคลากรที่ผานเกณฑการประเมินผลงาน ชื่อตัวชี้วัด : รอยละของบุคลากรที่ผานเกณฑการประเมินผลงาน

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก รอยละ 6

คําอธิบาย : - บุคลากร หมายถึง ผูบริหาร พนักงานเทศบาล พนักงานครูเทศบาล สังกัดเทศบาลนครลําปาง - เกณฑการประเมินผลงาน หมายถึง ผลการประเมินที่คํานวณตาไดตามที่ระบุไวใน “แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาล (รหัสเอกสาร: ทน-F1.2-2)” โดยจะตองมีผลรวมคะแนนประเมินไมนอยกวา รอยละ 90 ทั้งสองครั้ง คือ

ครั้งที่ 1 ต้ังแตวันที่ 1 ตุลาคม - 31 มีนาคม ครั้งที่ 2 ต้ังแตวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน

สูตรการคํานวณ : จํานวนบุคลากรที่ผานเกณฑการประเมินผลงาน X 100 จํานวนบุคลากรเทศบาลฯทั้งหมด

แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

- กําหนดใหงานการเจาหนาที่ ฝายอํานวยการ สํานักปลัดเทศบาล เปนผูจัดเก็บขอมูลของพนักงานเทศบาล โดยขอความรวมมือจากทุกสวนราชการจัดสงขอมูลให และงานการเจาหนาที่ ฝายการเจาหนาที่ สวนบริหารการศึกษา สํานักการศึกษา เปนผูจัดเก็บขอมูลของพนักงานครูเทศบาล

- การประเมิน จะใชแบบประเมิน และมีความถี่การประเมินปละ 2 ครั้ง ตามรอบการประเมิน ดังนี้ ครั้งที่ 1 ต้ังแตวันที่ 1 กันยายน - 31 มีนาคม ครั้งที่ 2 ต้ังแตวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน

เคร่ืองมือการประเมิน:

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทน-F2.2-1 รายงานสรุปผลการประเมินผลงานบุคลากรเทศบาลนครลําปาง เอกสาร 2. ทน-F2.2-2 แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาล เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 รอยละของบุคลากรที่ผานเกณฑการประเมินผลงาน รอยละ 55 60 65 70 75

ขอมูลพื้นฐาน :

ไมมี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: หัวหนาสํานักปลัดเทศบาล เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานการเจาหนาที่ เบอรติดตอ : 054-237237 ผูจัดเก็บขอมูล : นางสาวนันทนีย มนะสิการ เบอรติดตอ : 054-237237

Page 32: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี F 3.1 รอยละของจํานวนหนวยงานที่ไดรับการปรับปรงุสภาพแวดลอมในการทํางาน ชื่อตัวชี้วัด : รอยละของจํานวนหนวยงานที่ไดรับการปรับปรงุสภาพแวดลอมในการทํางาน หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 2 คําอธิบาย : - หนวยงาน หมายถึง หนวยงานระดับสํานัก/กอง/หรือเทียบเทา ตามโครงสรางการแบงสวนราชการของเทศบาลนครลําปาง -

สภาพแวดลอมในการทํางาน หมายถึง ลักษณะทางภายนอกของสถานที่ทํางาน ซึ่งประกอบดวยสวนสําคัญ คือ อากาศดี แสง เสียง อุณหภูมิ อุปกรณการทํางาน ที่เอื้อใหเกิดการปรัปปรุงสภาพแวดลอม - การปรับปรุงสภาพแวดลอม หมายถึง การทําใหสภาพแวดลอมในการทํางานของหนวยงานโดยภาพรวมใหดีขึ้น และเหมาะแกการทํางาน เชน การตกแตงปรับปรุงสถานที่ทํางาน หรือ การทํากิจกรรม 5 ส. เปนตน - หนวยงานที่ปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน หมายถึง หนวยงานที่ผานเกณฑการประเมินกิจกรรมการปรับปรุงสภาพแวดลอม ไมตํ่ากวารอยละ 80

สูตรการคํานวณ :

1. สูตรคํานวณเกณฑการประเมิน = คะแนนรวมที่ไดรับการประเมินทุกรายการ X 100 จํานวนรายการประเมิน )27 (x ระดับการประเมินสูงสุด )4 (

2 สูตรคํานวณเกณฑ หนวยงาน = จํานวนหนวยงานที่มีการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน x 100

จํานวนหนวยงานทั้งหมด

เกณฑการใหคะแนนเทียบกับรอยละของจํานวนหนวยงานที่ไดรับการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน ตัวชี้วัด (i) น้ําหนัก (Wi)

1 2 3 4 5

คะแนนท่ีได (SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้าํหนัก (Wi x SMi)

PISM 1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)

PISM 2 W2 60 70 80 90 100 SM2 (W2 x SM2)

. . 60 70 80 90 100 . .

. . 60 70 80 90 100 . .

PISM i Wi 60 70 80 90 100 SMi (Wi x SMi)

Σi=1-8 Wi = 1.0 Σi=1-8 (Wi x SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนักรอยละของจํานวนหนวยงานที่ไดรับการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน

Σi=1-3 ( Wi x SMi ( หรือ ) W1 x SM1) + (W2 x SM2) + (W 3 x SM 3( Σi=1-3 Wi W1+ W2 + W3

Page 33: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี F 3.1 รอยละของจํานวนหนวยงานที่ไดรับการปรับปรงุสภาพแวดลอมในการทํางาน แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

ตัวชี้วัดท่ี F 3.1 รอยละของจํานวนหนวยงานที่ไดรับการปรับปรงุสภาพแวดลอมในการทํางาน โดยที่

W หมายถึง น้ําหนักความสําคัญที่ใหกับตัวช้ีวัดรอยละของจํานวนหนวยงานท่ีไดรับการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการ

ทํางานของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา และผลรวมของน้ําหนักของทุก KPISM) Σ Wi = ( 1โดยที่สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา จะตองกําหนดน้ําหนักรอยละของตัวช้ีวัดแตละลําดับ (i) ไวในคํารับรองการปฏิบัติราชการ

SM หมายถึง คะแนนที่ไดจากการเทียบกับผลสําเร็จของรอยละของจํานวนหนวยงานที่ไดรับการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางานของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา

i หมายถึง ลําดับที่ของตัวช้ีวัดที่กําหนดขึ้นของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา ;1 ,2,… ,i เกณฑการใหคะแนน :

ชวงเกณฑการใหคะแนน +/- 1 ตอ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

1 Σ (Wi x SMi) = 1

2 Σ (Wi x SMi) = 2

3 Σ (Wi x SMi) = 3

4 Σ (Wi x SMi) = 4

5 Σ (Wi x SMi) = 5

หมายเหตุ ในที่นี้ใหน้ําหนักเทากันทุกสวนราชการ 1. ในการประเมินการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน ในเบื้องตนนี้ใหใชกิจกรรม 5ส 2. กําหนดให คณะกรรมการที่ไดแตงตั้งตามคําสั่งเทศบาลที่ 449 / 2550 ลงวันที่ 27 เม.ย. 2550 เปนผูรับผิดชอบในการประเมินการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน(กิจกรรม5ส) 3. คณะกรรมการที่ไดแตงตั้งตามคําสั่งเทศบาลที่ 449 / 2550 ลงวันที่ 27 เม.ย. 2550 เปนผูกําหนด เกณฑการประเมิน

4. ความถี่ในการจัดเก็บขอมลู รวบรวมขอมูล ปละ 4 ครั้ง(รายไตรมาศ)

Page 34: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี F 3.1 รอยละของจํานวนหนวยงานที่ไดรับการปรับปรงุสภาพแวดลอมในการทํางาน

เคร่ืองมือการประเมิน:

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทนF3.1-1 แบบตรวจประเมินสภาพแวดลอมการทํางานเทศบาลนครลําปาง เอกสาร 2. ทนF3.1-2 แบบสรุปการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางานของหนวยงาน เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ

5

รอยละของจํานวนหนวยงานที่ไดรับการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน

รอยละ 75 80 85 90 95

ขอมูลพื้นฐาน : ไมมี

ผูกํากับดูแตัวชี้วัด: ผอ.สํานักการชาง เบอรติดตอ : 054-237237

นายทวีศักดิ์ หาญธนพงศ เบอรติดตอ : 054-237237 ผูจัดเก็บขอมูล : นางนฤมล สุขขํา เบอรติดตอ : 054-237237

Page 35: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี F 3.2 รอยละความพึงพอใจตอสภาพการทํางานของบุคลากร ชื่อตัวชี้วัด : รอยละความพึงพอใจตอสภาพการทํางานของบุคลากร

หนวยวัด : รอยละ

น้ําหนัก : รอยละ 3

คําอธิบาย : - สภาพการทํางาน หมายถึง บรรยากาศการทํางานที่สงผลกระทบตอความรูสึก อารมณที่ดีตอกันและกัน - ความพึงพอใจ หมายถึง ความพอใจ ความชื่นชม ของบุคลากรที่มีตอการสภาพการทํางาน ดานบริหารจัดการบรรยากาศในการทํางาน ความสะอาด ความปลอดภัย

- บุคลากร หมายถึง ผูบริหาร ผูชวยผูบริหาร พนักงานเทศบาล พนักงานจาง และ ลูกจาง ที่ปฎิบัติงานบนสํานักงานเทศบาลนครลําปาง รอยละความพึงพอใจ = จํานวนผูตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจ X 100 จํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด กําหนดระดับความพึงพอใจ ตองมีคะแนนเฉลี่ย เทากับ 3.5

เกณฑการใหคะแนนเทียบกับรอยละของความพึงพอใจตอสภาพการทํางานของบุคลากร ตัวชี้วัด (i) น้ําหนัก (Wi)

1 2 3 4 5

คะแนนที่ได (SMi)

คะแนนเฉลี่ยถวงน้าํหนัก (Wi x SMi)

PISM 1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)

PISM 2 W2 60 70 80 90 100 SM2 (W2 x SM2)

. . 60 70 80 90 100 . .

. . 60 70 80 90 100 . .

PISM i Wi 60 70 80 90 100 SMi (Wi x SMi)

Σi=1-8 Wi = 1.0 Σi=1-8 (Wi x SMi)

สูตรการคํานวณ :

คะแนนเฉลี่ยถวงน้ําหนักระดับรอยของความพึงพอใจตอสภาพการทาํงานของบุคลากรของสวนราชการ เทากับ

Σi=1-8 ( Wi x SMi ( หรือ )W1 x SM1) + (W2 x SM2) + ... + (W 8 x SM8(

Σi=1-8 Wi W1+ W2 ++... W8

โดยที่ W หมายถึง น้ําหนักความสําคัญที่ใหกับตัวช้ีวัดรอยละความพึงพอใจตอสภาพการทํางานของบุคลากรของสวนราชการ

ระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา และผลรวมของน้ําหนักของทุก KPISM) Σ Wi = ( 1โดยที่สวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา จะตองกําหนดน้ําหนักรอยละของตัวช้ีวัดแตละลําดับ (i) ไวในคํารับรองการปฏิบัติราชการ

SM หมายถึง คะแนนที่ไดจากการเทียบกับผลสําเร็จของรอยละความพึงพอใจตอสภาพการทํางานของบุคลากรของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา

i หมายถึง ลําดับที่ของตัวช้ีวัดที่กําหนดขึ้นของสวนราชการระดับสํานัก กอง หรือเทียบเทา ;1 ,2,… ,i

Page 36: ตัวชี้วัดที่ 1 KPI Template · ปฏิบัติราชการของเทศบาลนครล ําปาง ตามแผนที่ยุทธศาสตร

ตัวชี้วัดท่ี F 3.2 รอยละความพึงพอใจตอสภาพการทํางานของบุคลากร เกณฑการใหคะแนน :

ชวงเกณฑการใหคะแนน +/- 1 ตอ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน

1 Σ (Wi x SMi) = 1

2 Σ (Wi x SMi) = 2

3 Σ (Wi x SMi) = 3

4 Σ (Wi x SMi) = 4

5 Σ (Wi x SMi) = 5

หมายเหตุ ในขณะนี้ใหน้ําหนักสวนราชการเทากันหมด แหลงขอมูล/วิธีจัดเก็บ:

1. กําหนดให สํานัก/กองทุกแหงของเทศบาลนครลําปาง เปนผูรับผิดชอบแจกและรวบรวมแบบสอบถามความพึงพอใจ 2. ผูกํากับติดตามการแจกและการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ และวิเคราะหขอมูล 3. ความถี่ในการจัดเก็บขอมูล รวบรวมขอมูลตามแบบสอบถามความพึงพอใจที่กําหนด สงให หนวยงานที่รับผิดชอบในการจัดเก็บ/รวบรวม ปละ 2 ครั้ง

เคร่ืองมือการประเมิน:

ลําดับ รหัส ช่ือ ประเภท 1. ทนF3.2-1 แบบสอบถามความพึงพอใจตอสภาพการทํางานของบุคลากรเทศบาลนครลําปาง เอกสาร 2 ทน Q1.1-3 แบบสรุปการคํานวณความพึงพอใจผูตอบแบบสอบถาม เอกสาร

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ 51 ตัวชี้วัด หนวยวัด ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ

5 รอยละความพึงพอใจตอสภาพการทํางานของบุคลากร รอยละ 65 70 75 80 85

ขอมูลพื้นฐาน :

ไมมี

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด: ผูอํานวยการกองคลัง เบอรติดตอ : 054-237237

หัวหนางานธุรการ กองคลัง เบอรติดตอ : 054-237237 ผูจัดเก็บขอมูล : หัวหนางานธุรการ กองคลัง เบอรติดตอ : 054-237237