Top Banner
The Office Of Educational Technology The Office Of Educational Technology งานเทคโนโลยีการเรียนการสอนทางไกล งานเทคโนโลยีการเรียนการสอนทางไกล บรรยายโดย บรรยายโดย บรรยายโดย บรรยายโดย 13 มกราคม 2551
103

สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2....

Feb 25, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

The Office Of Educational TechnologyThe Office Of Educational Technology

งานเทคโนโลยีการเรียนการสอนทางไกลงานเทคโนโลยีการเรียนการสอนทางไกล

บรรยายโดยบรรยายโดยบรรยายโดยบรรยายโดย

13 มกราคม 2551

Page 2: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สถติิบรรยายที่นํามาใช

ในการวิจัย

ดร. สุวิมล อังควานิช

ประธานสาขาสังคมวิทยา(สวนภูมิภาค)

13 มกราคม 2551

บรรยายโดย

Page 3: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สถิติบรรยายที่นํามาใชในการวิจัย

หัวขอบรรยาย

1. การวัดความสัมพันธ

Pearson Product Moment Correlation

Biserial Correlation

Point Biserial Correlation

Spearman’s Rank Correlation

Phi Correlation

Tetracholic Correlation

Cramer’s V Correlation

Page 4: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สถิติบรรยายที่นํามาใชในการวิจัย

หัวขอบรรยาย

2. การทดสอบนัยสําคัญของคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

3. ปญหาที่มักพบในการใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

4. การใช คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธในการควบคุม

ตัวแปรแทรกซอน

Page 5: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

เทคนคิทางสถิตทิี่ใชในการวิจัย

POPULATION SAMPLE

PARAMETER STATISTIC

Sampling Techniques1

Descriptives Statistics2

3 Inferential StatisticsEstimationTesting Hypothesis

Page 6: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การเลือกใชสถิติใหเหมาะสม

1. ทราบวัตถุประสงคของการวิเคราะห

ขอมูล

Page 7: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

1) เพื่อหาตัวแทน

2) เพื่อหาความสมัพันธระหวางตัวแปรตางๆ

3) เพื่อเปรียบเทียบความแตกตาง

4) เพื่อทํานาย

5) เพื่อจําแนกกลุมหรือจัดกลุม

6) เพื่อพิสูจนโครงสราง

วัตถุประสงค

Page 8: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สุมแบบ Probability sampling

สุมแบบ Non Probability Sampling

2. กลุมตัวอยางมีลักษณะอยางไร

Page 9: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

3. ขอมูลที่รวบรวมมามีระดับการวัด

อยูในมาตราใด

1. Nominal Scale

2. Ordinal Scale

3. Interval Scale

4. Ratio Scale

Page 10: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

4. เกี่ยวของกับตัวแปรอะไรบาง

Page 11: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

5. ชนิดของพารามิเตอร และขอตกลง

เบื้องตนในการใชสถติิ

Page 12: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

องคประกอบในการวิเคราะหขอมูล

1. ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล

กอนการวิเคราะห

2. ความพรอมของเครื่องมือที่ใชในการ

คํานวณ

3. โปรแกรมสําเร็จรูปที่ใชในการคํานวณ

Page 13: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ความคลาดเคลื่อนจากการใชสถิติในการวิจัย 1. ขอมูลที่ใชมคีวามบกพรอง

2. การเลือกใชเทคนคิทางสถิตทิี่ไมเหมาะสม

3. การฝาฝนขอตกลงเบื้องตนของสถิติที่ใช

4. การคํานวณผิด

5. นกัวิจัยมีเจตนาที่ไมบริสุทธิ์

Page 14: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ประชากร ตัวอยาง ขอมูล คาสถิติ

กระบวนการทางสถิติ

สถิติภาคบรรยาย Descriptive Statistics

สถิติภาคสรุปอางอิง Inferential Statistics

Page 15: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)

เปนสถิติที่ใชในการบรรยายหรืออธิบาย

ลักษณะตางๆ ในภาพรวมของกลุมตัวอยาง หรือประชากรที่ใชในการศึกษา โดยไมสนใจที่จะสรุปอางอิงไปยงัประชากร

Page 16: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สถิติบรรยาย Descriptive Statistics

การใชสถติิบรรยายประกอบดวย

1. การแจกแจงความถี่

2. การเปรียบเทยีบและการจัดตําแหนง

3 การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง

4. การวัดการกระจาย

5. การวัดความสมัพันธ

Page 17: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution)

ขอมูลที่รวบรวมมาไดเรียกวาขอมูลดิบ (raw data)

การแจกแจงความถี่เปนวิธีการนําขอมูลมาจัดเปนหมวดหมู

(grouped data) โดยการสรางตารางแจกแจงความถี ่

(frequency table) ขอมูลตอเนื่อง (continuous data) เหมาะ

แกการสรางตารางความถี่ที่ชั้นเปนชวง (interval) ขอมูลไม

ตอเนื่อง (discrete data) ควรนําเสนอในรูปของแผนภูมิที่

เหมาะสม

Page 18: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ขั้นตอนการสรางตารางแจกแจงความถี่

1. คํานวณคาพิสยั=คะแนนสงูสุด-คะแนนต่าํสุด

2. กําหนดจํานวนชัน้

3. คํานวณหาอันตรภาคชั้น=พิสยั/จํานวนชัน้

4. ใชคะแนนต่าํสุดเปนขดีจํากัดลางของชั้นต่ําสุด

5. จัดชั้นอื่นๆใหมีอันตรภาคเทาๆกัน

6. คํานวณจุดกลางชั้น=(ขีดจํากัดลาง+ขีดจํากัดบน)/2

7 . ทํา Tallyคะแนน นบัความถี ่(frequency) หาคาความถี่

สะสม (cumulative frequency)

Page 19: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การนําเสนอตารางแจกแจงความถี่

1. การนําเสนอดวยคําบรรยาย

2. การนําเสนอโดยใชตารางแจกแจงความถี่

3. การนําเสนอโดยใชแผนภูมิ

Page 20: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การเปรียบเทยีบและการจัดตําแหนง

อตัราสวน (ratio) หมายถึงความถี่ของสิ่งหนึ่ง (A) หารดวย

ความถี่ของอกีสิ่งหนึ่ง (B)

การเปรียบเทียบดวยอัตราสวนมี 2 ลกัษณะ คือ

1. เปรียบเทียบจํานวนขอมลูระหวางคาของตัวแปร โดยการใช

อตัราสวน

2. เปรียบเทียบจํานวนของตัวแปรหนึ่งกับอกีตัวแปรหนึ่ง โดยการ

ใชอตัราสวน

Page 21: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สัดสวน (proportion) หมายถงึ ความถี่ของสวนยอย

หารดวยความถี่ทั้งหมด การใชสัดสวนนยิมใชแสดง

เปรียบเทยีบปรมิาณสวนยอย วามีปริมาณมากนอย

เพียงใด เมื่อเทียบกับปริมาณทั้งหมด

รอยละ (percent) เปนการเปลี่ยนจํานวนเต็มทั้งหมด

ใหมคีาเทากับ 100 คอื การนําสดัสวนมาคูณดวย 100

การเปรียบเทยีบและการจัดตําแหนง

Page 22: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

เปอรเซนไทล(Percentile : Px) เปนคาที่แสดงวา

เมื่อจัดขอมูลเปน100 สวน คาคะแนน(x) ที่

ตําแหนง(Px) มีขอมูลที่มคีาต่ํากวาอยูรอยละ

เทาไร

การเปรียบเทยีบและการจัดตําแหนง

Percentile Decile และQuartile

Page 23: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

P10 = D1

P25 = Q1

P50 = D5 = Q2

P75 = Q3

ความสัมพนัธระหวาง Percentile Decile และQuartile

Page 24: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

เมื่อขอมลูจดักลุม (group data) คํานวณคาเปอรเซ็นตไทลไดจากสตูร

if

FNP

LXx

.100⎥⎥⎥

⎢⎢⎢

⎡ −+=

Px = เปอรเซ็นตไทลที่กําหนด

X = คาคะแนน Px ทีก่ําหนด

L = ขีดจํากัดลางที่แทจริงของคะแนนในชั้น Px

N = จํานวนขอมูลทั้งหมด

F = ความถี่สะสมของคะแนนชั้นที่อยูต่ํากวาชั้น Px

f = ความถี่ของคะแนนในชั้น Px

i = อันตรภาคชั้น

Page 25: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง เปนการหาคากลางของ

ขอมูล เพื่อใชเปนตวัแทนประกอบดวย

1. มัชณิมเลขคณิต(arithmetic mean : X ) นิยมเรียก

ทั่วไปวา คาเฉลี่ย ใชกับขอมูลมาตรอันตรภาค มาตร

อัตราสวนการแจกแจงของขอมูลคะแนนมลีักษณะ

สมมาตร (symmetry)

การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง(Measure of Central tendency)

Page 26: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

2. มัธยฐาน(median : Md) เปนตําแหนงของคะแนนที่มคีะแนน

จํานวนครึง่หนึ่งมีคาสูงกวาคะแนนทีต่่ําแหนงนี้ และอีกครึ่งหนึ่งมี

คะแนนต่าํกวาคะแนนทีต่ําแหนงนี้ มักใชกับขอมูลมาตรอันดับ

และขอมูลที่มีการแจกแจงเบมาก การคํานวณคามัธยฐานทําไดโดย

การนําขอมูลมาเรียงคาจากนอยไปมาก คาที่อยูตรงกลาง คือ

คามัธยฐาน ซื่งมีคาเทากับเปอรเซ็นไทลที่ 50

มัธยฐาน(Median : Md)

Page 27: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

3. ฐานนยิม( Mode : Mo) เปนคะแนนที่มคีวามถี่

สูงสดุในขอมูลที่มีอยูทั้งหมด อานคาฐานนยิมไดจาก

ตารางแจกแจงความถี ่นิยมใชกับขอมูลมาตรนาม

บญัญตัิและมาตราอันดับ นอกจากนี้ยงัสามารถ

ประมาณคาฐานนยิมไดจากคาเฉลี่ย (X) และ

คามัธยฐาน (Md)

ฐานนิยม (mode : Mo)

Page 28: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

มาตราวัดตัวแปร การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง

1. มาตรนามบัญญัติ ฐานนยิม (mode)

2. มาตรอันดับ ฐานนยิม (mode) มัธยฐาน(median)

3. มาตรอันตรภาค

และอัตราสวน ฐานนยิม (mode) มัธยฐาน (median)

มัชฌิมเลขคณติ (mean)

สรุป การใชการการวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง

Page 29: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

-2 -1 0 1 2

Sometimes thescale is stretched

Sometimes thescale is shrunk

μμ

σσ

X

σμ−= xz

การวัดการกระจาย

Page 30: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

1. พิสยั (range) เปนคาความแตกตาง

ระหวางคะแนนที่มคีาสูงสุดกับคะแนนทีม่ี

คาต่ําสุด แสดงใหเห็นการกระจายอยาง

คราวๆ วิธีที่ไมเหมาะที่จะใชกับชุดของ

ขอมูลที่มีจํานวนนอยแตมคีาของคะแนน

ตางกันมากพิสัย = คาคะแนนที่มีคาสูงสุด – คะแนนที่มีคาต่ําสุด

การวัดการกระจาย

Page 31: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

2. สวนเบีย่งเบนควอไทล (quartile deviation : QD)

เปนการกระจายที่แบงขอมูลทั้งหมดออกเปน 4 สวน

ดวยการคํานวณคาควอไทลที่ 1 และควอไทลที่ 3

จากนั้นหาระยะจาก Q3 ถงึ Q1 (Q3 -Q1) เรียกผลตางนี้

วา Interquartile range จากนั้นนํา Q3 -Q1 มาหาร

ดวย 2 จะไดคาสวนเบีย่งเบนควอไทล

การวัดการกระจาย

Page 32: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

3. สวนเบีย่งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation :

SD, S) เปนที่แสดงถึงการที่ขอมูลแตละตัวที่

เบีย่งเบนไปจากคาเฉลี่ย (X) นยิมใชแสดงควบคูกับ

คาเฉลี่ย คาํนวณจากสูตร

1)( 2

−−

= ∑n

XXS i

การวัดการกระจาย

Page 33: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

4. ความแปรปรวน(Variance : s2) มคีาเทากับกําลัง

สองของสวนเบีย่งเบนมาตรฐาน หากพิจารณาความ

แปรปรวนกับสวนเบีย่งเบนมาตรฐาน จะพบวาสวน

เบีย่งเบนมาตรฐานก็คือระยะหาง สวนการแปรปรวน

จะเทากับพื้นทีห่รือปริมาณการกระจาย คํานวณจาก

สูตร

1)2

2−−(Σ

=n

XXS

การวัดการกระจาย

Page 34: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

5. สัมประสิทธิ์ของการกระจาย(Coefficient of

Variation : CV) ใชในการเปรียบเทยีบการกระจาย

ของขอมูล 2 ชุดที่หนวยในการวัดตางกัน หรือมี

มัชฌมิเลขคณิตตางกัน การเปรียบเทยีบทาํไดโดยการ

แปลงคาสวนเบีย่งเบนมาตรฐานเปนจํานวนเทาของ

คาเฉลี่ย นิยมใชในรูปของรอยละ

การวัดการกระจาย

Page 35: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

6. ความเบ (Skewness : Sk) เปนคาทีแ่สดงถึง

ลักษณะของขอมูลวามีลักษณะของการแจก

แจงความถี่สมมาตรหรือไมสมมาตร

Page 36: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน
Page 37: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

7. ความโดง (kurtosis : Ku) เปนคาที่แสดงลกัษณะสมมาตร 3 แบบ คือ

โดงมาก (leptokurtic)

โดงปานกลาง (mesokurtic)

โดงนอยหรือคอนขางแบน (platykurtic)

Page 38: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน
Page 39: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สรุปการใชการวัดแนวโนมเขาสูสวนกลางคูกับการวัดการกระจาย

มาตรวดัตัวแปร การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง การวัดการกระจาย

มาตรนามบัญญัติ ฐานนิยม จํานวนกลุมใน

กรณีที่มีจํานวน

มากกวา 2 กลุม

มาตรอันดับ ฐานนิยม พิสัย(ในบางกรณี)

มัธยฐาน สวนเบี่ยงเบนควอไทล

มาตรอันตรภาคและ ฐานนิยม พิสัย(ในบางกรณี)

อัตราสวน มัธยฐาน สวนเบี่ยงเบนควอไทล

มชัฌิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Page 40: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การเลือกใชการวัดแนวโนมเขาสูสวนกลางและการวัดการกระจาย

เนื่องจากตัวแปรในบางมาตรสามารถใชการวัดแนวโนมเขาสูสวนกลางไดหลาย

วิธีดวยกันการเลือกใชจึงขึน้อยูกับ

1. จุดมุงหมายของการวิจัยวา เปนการบรรยายลักษณะตัวแปร หรอืเปนการ

เปรียบเทียบ

2. การเลือกใชใหเหมาะสมกับมาตรวัดตัวแปรและการกระจายของขอมลู

3 .การเลือกใชการวัดแนวโนมเขาสูสวนกลางควบคูกับการวัดการกระจาย เพื่อ

แสดงใหเห็นทั้งภาพรวมที่เกิดขึ้นและการกระจายของขอมูล

4. ความละเอียดของสารสนเทศที่ตองการใชในการตัดสินเลือกแนวทางปฏิบัติ

Page 41: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ปญหาการใชการวัดแนวโนมเขาสูสวนกลางและการวัดการกระจาย

1.การใชคาเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานในการแบงกลุมยอย

2.การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลางกับขอมูลที่เปนมาตรประเมินคา

(rating scale)

Page 42: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สรุป

การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลางเปนการใชสถิตใินการ

เสนอภาพรวมที่ไดจากขอมูลทั้งหมด ที่นิยมใช

ประกอบดวย คาเฉลี่ย มัธยฐาน และฐานนยิม

สวนการวัดการกระจายเปนเทคนคิทางสถิติที่บอกถึง

การกระจายของขอมูลแตละตัวที่แตกตางไปจาก

คาเฉลี่ย ประกอบดวย พิสยั สวนเบีย่งเบนมาตรฐาน

ความแปรปรวน ความเบและความโดง

Page 43: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การเลือกใชแตละชนิดขึ้นอยูกับมาตรวัดตัวแปรและ

ลักษณะการกระจายของขอมูล โดยใหสอดคลองกับ

จุดมุงหมายของการวิจัยและเพื่อใหไดสารสนเทศที่ดี

ที่สุด

การใชคาเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานในการ

แบงกลุมยอยโดยการอิงกลุม จะใชไดดีในกรณีขอมูลมี

โคงการแจกแจงแบบปกติเทานั้น ถาการแจกแจง

ไมเปนแบบโคงปกติควรใชเปอรเซ็นไทลในการ

แบงกลุมยอยจะเหมาะสมมากกวา

Page 44: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การวัดความสัมพันธ

การวิจัยทางสังคมศาสตรมักเปนการวิจัยที่ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูล

ตามสภาพที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ไมมีการจัดกระทําใดๆ กับตัวแปร สถิติที่นํามาบรรยายความสัมพันธระหวางตัวแปรเรียกวา

สหสัมพันธ (Corrrelation)

ผลที่ไดจะบรรยายถึงระดับความสัมพันธ ทิศทางของ

ความสัมพันธขึ้นอยูกับมาตรวัดตัวแปรและชนิดของสหสัมพันธ

(Correlation) ที่ใชคํานวณ

คาที่ไดจากการคํานวณเรียกวาสัมประสิทธิ์สหสมัพันธ

(Correlation Coefficient)

Page 45: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

x y

สหสัมพันธ (Correlation) เปนการหาคา

ความสอดคลองหรือความสัมพันธของตัวแปร 2 ชุด

เพื่อดูวาตัวแปรทัง้สองนั้นมีความสัมพันธกัน

ในลักษณะใด

Page 46: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (Correlation Coefficient)

ที่คํานวณได ไมสามารถบอกถึงความเปนเหตุเปนผล

ระหวางตัวแปร เพราะการอธิบายถึงความเปนเหตุเปน

ผลกันได จะตองอาศัยการอางอิงจากทฤษฎี แนวคิด

ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของหรือไดจากการวิจัยเชิงทดลอง

Page 47: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ถาตัวแปรสุม x และ y มีความสัมพันธกัน เราสามารถหา

คาความสัมพันธนั้นได คาที่แสดงความสัมพันธเรียกวา

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (Correlation Coefficient)

คาที่ไดจากตัวอยางใชสัญลักษณ r คาที่ไดจากประชากร

ใชสัญลักษณ ρ (rho)

Page 48: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ความหมายของคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

คา r มคีาระหวาง -1 ถึง +1

ถา r เปนบวก หมายความวา ตัวแปรทั้งสองมีความสมัพนัธในทิศทางเดียวกัน

ถา x มีคานอย y จะมีคานอย

ถา x มีคามาก y จะมีคามาก

ถา r เปนลบ หมายความวา ตัวแปรทั้งสองมีความสมัพนัธในทิศทางกลบักัน

ถา x มีคานอย y จะมีคามาก

ถา x มีคามาก y จะมีคานอย

ถา r มคีาใกลศูนย (0) หมายความวา ตัวแปรทั้งสอง มีความสมัพนัธกนันอยมาก หรอืเกือบไมมเีลย

Page 49: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

กราฟแสดงความสัมพนัธระหวางตัวแปร x กับตัวแปร y

เรียกวา Scatter diagram

r มีคา +1 แสดงวาตัวแปร x และ y

มีความสัมพันธกับทางบวกอยางสมบูรณ

X Y

2 5

4 9

4 9

5 11

7 15

8 17

(8,17)

(7,15)

(5,11)

(4,9)

(2,5)

0

5

10

15

20

1 2 3 4 5 6 7 8 9

Page 50: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

r = -1 แสดงวาตัวแปร x และ y มีความสมัพันธกลับกัน

(8,5)

(6,9)(5,11)

(3,15)(2,17)

0

5

10

15

20

1 2 3 4 5 6 7 8

X Y

2 17

3 15

5 11

6 9

6 9

8 5

Page 51: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ถา r มีคาเทากับ 0 แสดงวา ตัวแปร x และ y ไมมี

ความสัมพันธกนั แสดงวาถาตัวแปร x มีคามาก

ตัวแปร y อาจมคีามากหรือนอยก็ได

X Y

0 3

2 8

3 5

4 6

4 5

5 4

5 4

8 7

9 1

10 70

5

10

15

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

Page 52: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การอธิบายความสัมพันธระหวางตัวแปร x และ y

เมื่อนําคา r มายกกําลังสอง r2 จะใชในความหมายของการ

อธิบายสัดสวนของความแปรปรวนรวมกันของตัวแปรทั้ง

สอง และนิยมทําใหเปนรอยละ rxy = 0.6 และ r2xy = 36%

หมายความวา ตัวแปร x และ y มีระดับความสัมพันธเทากับ

0.6 และมีสัดสวนความแปรปรวนรวมกันเทากับ 36% แสดง

วา ตัวแปร x และ y อธิบายซึ่งกันและกันได 36%

Page 53: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ลักษณะความแปรปรวนรวมกันระหวางตัวแปร

r2xy = 36%

x y

Page 54: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ชนดิของสมัประสิทธิ์สหสัมพันธ ขึ้นกับมาตรวัดของตัวแปรทั้งสอง

ในมาตรนามบัญญัติ (Nominal Scale) แบงเปน 3 ลกัษณะ

1. True dichotomous คาของตัวแปรแบงเปน 2 กลุม

ตามธรรมชาติ เชน เพศ: ชาย/หญิง

2. Forced dichotomous คาของตวัแปรแบงเปน 2 กลุม

โดยการจัด เชน ผลสอบ: ได/ตก

3. Polytomous คาของตวัแปรเปนมากกวา 2 กลุมขึน้ไป

Page 55: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

1. Pearson Product Moment Correlation

ในกรณีที่ตวัแปร x และ y เปนผลที่ไดจากการวัดในมาตรอนัตรภาคขึ้นไป สามารถหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธไดโดยวิธีของ Karl Pearson

ตัวแปร x: interval scale

ตัวแปร y: interval scale

⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ ∑ ∑⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ ∑ ∑

∑ ∑ ∑=2y)(-2yn2x)(-2xn

yx-xynrxy

Page 56: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ตัวอยางในการสอบวิชาคณิตศาสตร (x) และวิทยาศาสตร (y)

กับนักเรียนจํานวน 5 คน จงคํานวณหาคาสัมประสิทธิ์

สัมพันธ

คนที่ (x) (y)

1 10 9

2 9 10

3 8 8

4 7 6

5 6 7

⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ ∑ ∑⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ ∑ ∑

∑ ∑ ∑=2y)(-2yn2x)(-2xn

yx-xynrxyสูตร

0

5

10

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

Page 57: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

คนที่ (x) (y) x2 y2 xy

1

2

3

4

5

รวม

(Σ)

100 81 90910

9

8

7

81 100 90

6

10

8

6

7

64 64 64

49 36 42

40 40

36 49 42

330 330 328

⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ ∑ ∑⎥⎦

⎤⎢⎣⎡ ∑ ∑

∑ ∑ ∑=2y)(-2yn2x)(-2xn

yx-xynrxy

⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ ∑ ∑⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ ∑

−=

2y)(-2yn2x-5(330)

)40)(40()328(5rxy5(330)-(40)25(330)-(40)2

5(328)-(40)(40)

Page 58: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางคะแนนวิชาคณิตศาสตร

และคะแนนวิชาวิทยาศาสตรเทากับ 0.8

โดยถาคะแนนคณิตศาสตรสูง คะแนนวิทยาศาสตรจะสูงดวย

มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน

rxyrxy = 0.8= 0.85050

40.

rxy =

]16001650][16001650[16001640

−−−

=rxy

Page 59: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

2.Biserial Correlation

ใชเมื่อตัวแปรหนึ่งเปน forced dichotomous หมายถึงตัวแปรในมาตร

นามบญัญัตทิี่แปลงคามาจากตัวแปรในมาตรอันตรภาคหรืออตัราสวน

โดยใหมีคาการวัดเพียง 2 คา เชน การนําผลการสอบมาแบงเปน 2 กลุม

สอบได และสอบตกอีกตวัแปรหนึ่งที่นํามาหาความสัมพันธจะอยูใน

มาตรอนัตรภาคขึ้นไป

Interval

Forced dichotomous⎥⎦⎤

⎢⎣⎡−

=hpq

sxxqxprbis

Page 60: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

⎥⎦⎤

⎢⎣⎡−

=xp

sxxr g

x

gpbis

px = คาเฉลี่ยของตัวแปร x ในกลุมที่ 1 ของตัวแปร y

gx = คาเฉลี่ยของตัวแปร x ในกลุมที่ 2 ของตัวแปร y

sx = สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปร x

p = สัดสวนของจํานวนตวัอยางในกลุมที่ 1 ของตวัแปร y

g = สัดสวนของจํานวนตวัอยางในกลุมที่ 2 ของตวัแปร y

h = คาความสูงของ ordinate ที่จุดแบงของตวัแปร y

Page 61: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ในสถาบนัแหงหนึ่ง มีคนจบการศึกษา 60% และไมจบ

การศึกษา 40% ผูที่จบการศึกษามีคาเฉลี่ย I.Q. เทากับ 120 และ

ผูที่ไมจบการศึกษา มีคาเฉลี่ยของ I.Q. เทากับ 110 สวนเบี่ยงเบน

มาตรฐานเทากับ 15 จงหาความสัมพันธระหวาง I.Q.

กับผลการศึกษา (จบ-ไมจบ)

⎥⎦⎤

⎢⎣⎡−

=x

ps

xxr g

x

gpbis

[ ]621.11012015

−=bisr

ตัวอยางตัวอยาง

= 0.41

Page 62: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

3.Point Biserial Correlation

ใชเมื่อตัวแปรหนึ่งเปน true dichotomous เชน เพศ แบงเปนชาย

และหญิงเทานัน้ สวนอีกตัวแปรหนึ่งอยูในมาตรอนัตรภาคขึ้นไป

( )pbisr

( )pbisr

1−−

=n

nps

xxr gx

gpbis

px = คาเฉลี่ยของตัวแปร x ในกลุมที่ 1 ของตัวแปร y

gx = คาเฉลี่ยของตัวแปร x ในกลุมที่ 2 ของตัวแปร y

xs = สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปร x p = สัดสวนของจํานวนตวัอยางในกลุมที่ 1 ของตวัแปร y g = สัดสวนของจํานวนตวัอยางในกลุมที่ 2 ของตวัแปร y

Page 63: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ในการสอบวิชาสถิติ มนีกัศกึษาชายเขาสอบ 34 คน นกัศกึษาหญิง 66 คน พบวา คาเฉลี่ยของคะแนนสอบ นกัศกึษาชาย เปน 76.41 ในขณะที่คาเฉลี่ยของคะแนนสอบ นกัศกึษาหญิงเปน 90.94 ผลการสอบชดุนีม้ีคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 14.70 จงหาความสัมพันธระหวางคะแนนรวมวิชาสถิติและเพศของผูทําขอสอบ

ตัวอยางตัวอยาง

1−−

=n

npgs

xxrx

gpbis

1100100)34)(.66(.41.7694.90

7.14 −−

=

= 0.47

Page 64: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ถาตัวอยางมาก = 1 ตัดออกX คือ คะแนนรวมวชิาสถติิ

y คือ เพศ

สัมประสทิธิ์สหสัมพันธระหวางคะแนนรวมวชิา

สถิตกิับเพศของผูทําขอสอบมีความสัมพนัธกัน

โดยมคีาสมัประสทิธิ์สหสัมพนัธ เทากับ 0.47

1−nn

Page 65: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ความสัมพันธระหวาง rpbis กับ rbis

1. เมื่อ n>2 rpbis จะนอยกวา rbis

2. เมื่อ p=g=0.5 จะมคีวามแตกตางระหวาง rpbis กับ rbis นอยที่สุด

3. เมื่อความแตกตางระหวาง p และ g เพิ่มมากขึ้น ความแตกตางระหวาง rpbis กับ rbis จะเพิ่มขึ้นดวย

4. เมื่อกลุมตัวอยางมีขนาดใหญมาก

เมื่อ p = g rpbis =.80 rbis

p = .3 rpbis =.76 rbis

p = .1 rpbis =.59 rbis

11≅

−nn

Page 66: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

4. Spearman’s rank Correlation (rs)

ใชหาความสัมพันธเมื่อตัวแปร x และตวัแปร y อยูในมาตรอันดบั

)1(61

2

2

−∑−=NN

Drs

N = จํานวนขอมูล

D = ผลตางของอนัดบัที่ของขอมูลแตละคู

Page 67: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

จงหาความสัมพันธระหวางการจัดลําดบัความสําคัญ ของหนังสอื 8 เลม โดยผูเชี่ยวชาญ 2 ทานเลมที่เลมที่ ผูเชี่ยวผูเชี่ยว

ชาญชาญ

คนที่คนที่ 11

ผูเชี่ยวผูเชี่ยว

ชาญชาญ

คนที่คนที่ 22

1 3 5

2 7 8

3 6 6

4 4 2

5 1 4

6 8 7

7 5 3

8 2 1

DD DD22

-2 4

1 1

0 0

2 4

-3 9

1 1

2 4

1 1

)1(61

2

2

−∑−=NN

Drs

242 =∑D

)18(8)24(611

2 −−

−=

= 0.71

ตัวอยางตัวอยาง

Page 68: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

5. Phi Correlation

ใชหาความสัมพันธเมื่อตัวแปร

x และตัวแปร y เปน true

dichotomous โดยขอมูลที่

รวบรวมมาได จะเปนคาความถี่

ของตวัแปรทั้งสอง

ตัวแปร x

0 1

a b a+b

c d c+d

รวม a+c b+d n

1

0

รวม

))()()(( dcbadbcaadbcr

++++−

)( φr

ตัวแปร y

Page 69: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

จงหาความสัมพันธระหวางสีผม

และสีตาของนกัเรียน

))()()(( dcbadbcaadbcr

++++−

สีผม

ไมดํา ดํา

16 60

54 21

รวม

ดํา

รวม

สีผม

)2154)(6016)(2160)(5416()21)(16()54)(60(

++++−

=φr

= 0.51

ตัวอยางตัวอยางสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวาง

สีผมกับสีตา มคีาเทากับ 0.51

ไมดํา

Page 70: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

6. Tetrachoric Correlation (rtet)

ใชเมื่อตัวแปรทั้งสองเปน forced dichotomous จากการแปลง

คาตัวแปรจากมาตรอันตรภาคหรือมาตรอัตราสวนที่มีการ

กระจายแบบปกติ (normal distribution) มาเปนคาของตัวแปร

ในมาตรนามบัญญัติที่มีคาเปน 2 กลุม

⎥⎦

⎤⎢⎣

⎡+

°=

bcadrtet

/1180cos

Page 71: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ตารางแจกแจงความถี่

ตัวแปร x

Forced dichotomous

0 1

a b a+b

c d c+d

รวม a+c b+d n

1

0

รวม

ตัวแปร y

(forced)

⎥⎦⎤

⎢⎣⎡+

°=

bcadrtet

/1180cos

Page 72: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

จงหาความสัมพนัธระหวางการสอบไดและสอบตก ในวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร

วิทยาศาสตร

ตก ได

374 167 541

186 203 389

รวม 560 370 930

ได

ตก

รวม

คณิตศาสตร

⎥⎦⎤

⎢⎣⎡+

°=

bcadrtet

/1180cos

Page 73: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

7. Cramer’s V Correlation

เปนคาที่ใชวัดความสัมพันธเมื่อตัวแปร x และตัวแปร y อยูในมาตร

นามบัญญัติ และมีจํานวนกลุมของแตละตัวแปรมากกวาหรือเทากับ

2 กลุม ในกรณีมากกวา 2 กลุม เรียกวา Polytomous

)( φ′r

)1(

2

−=′

KnKrφ

K = จํานวน Categories ของตัวแปร x หรือ y

ทีม่ีคานอยกวา เชน ตารางขนาด 3x4

K มีคาเทากับ 3

Page 74: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

จงหาความสัมพันธ

ระหวางสีผมและสีตา ของนักทองเที่ยว

ในทีน่ี้ n = 151

K = 3

สีผม

บลอนด ทอง รวม

10 8 15 7

น้ําตาล ดํา

60 4 4 8 76

11 14 5

40

24

35

รวม 81 26

5

20 151

ฟา

น้ําตาล

ดํา

สีตา

)1(

2

−=′

KnKrφ

ตัวอยางตัวอยาง

Page 75: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การคํานวณคา x2 (ไคสแควร)

)1)(1()( 22 −−∑

−= crdf

EEo

xi

ii

64.532 =x

38.0)13)(151(

64.53=

−=′φr

Page 76: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การทดสอบนัยสําคัญของคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

การทดสอบนัยสําคัญของคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเปนการสรุป

อางอิงความสัมพันธที่เกิดขึน้ในกลุมตัวอยางกลบัไปยังประชากร มขีัน้ตอน

ดังนี้

1. กําหนดสมมติทางสถิติ (Statictical Hopothesis) เปนขอความทาง

คณิตศาสตรที่ระบถุึงลักษณะของพารามิเตอร แบงเปน

สมมติฐานศนูย (Null Hypothesis) เปนขอความทีร่ะบถุงึคาพารามิเตอรหรอื

ขอความที่ระบคุวามเทากันของคาพารามิเตอรในประชากร 2 กลุมขึน้ไป

สมมติฐานรอง หรอืสมมติฐานทางเลือก (Alternative Hypothesis) เปน

ขอความที่แสดงลกัษณะที่แตกตางจากสมมติฐานศูนย

Page 77: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

2. กําหนดระดับนัยสําคัญ ( )

3. เลือกสถิติทดสอบใหเหมะสม คํานวณ

4. อานคาวกิฤตจากตาราง

5. เปรียบเทียบคาที่คาํนวณไดและคาจากขอบเขตวกิฤต

6. สรุปผลการทดสอบซึ่งอาจเกิดกรณีใดกรณีหนึ่ง

ก. Reject Ho: Accept Hi:

ข. Accept Ho: Reject Hi:

α

Page 78: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ตัวอยาง

จากการคํานวณคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบ Pearson

Product Moment Correlation (rxy) แสดงความสัมพันธ

ระหวางคะแนนวชิาวิทยาศาสตรและวิชาคณิตศาสตรของ

นกัเรียน 7 คน ไดคา 0.95 จงทดสอบนัยสําคัญที่ ∝ = .05

กรณี Pearson Product Moment Correlation สถิติทดสอบคอื

xyr

nrt xy

21

2

−=

df = n-2

Page 79: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ขั้นตอนการทดสอบ

1. กําหนดสมมติฐานทางสถิติ

2. ∝= .05, df = n-2 =7-2 =5

คา t ที่ ∝= .05, df 5 = 2.571

3. คา t คํานวณ

0:

0:

=

xy

xy

Hi

Ho

ρ

ρ

032.7)95(.1295.

1

2

2

2

=

−=

−=

n

xyr

nr xy

Page 80: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

4. คา t คํานวณมากกวาคา t จากตาราง ปฏิเสธ

และยอมรับ

5. สรุปไดวามีความสัมพันธระหวางคะแนนวิชาวิทยาศาสตรและ

คะแนนวิชาคณติศาสตรจริง ในประชากรที่ระดบันัยสําคัญทาง

สถิติ .05

0: =xyHo ρ

0: ≠xyHi ρ

Page 81: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การกําหนดสําหรับสัมประสิทธิ์สหสัมพันธตัวอื่นๆ ดําเนนิการ

เชนเดยีวกัน ตางกันที่สูตรของสถิตทิดสอบ สรุปไดดงันี้

1. Pearson Moment Correlation (rxy)

สถิติทดสอบ

2. Biserial Correlation (rbis)

สถิติทดสอบ

xyr

nrt xy

21

2

−= df = n-2

npqrz bis

/=

1. x y Interval 2. x Interval y Forced dichotomous

Page 82: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

3. Point Biserial Correlation (rpbis)

)11(2 nqnpcSxxt qp

+

−= df = n-2

2)1()1( 22

2

−+−−

=+

nqnpxqSnqxpSnpcS

S2xp = ความแปรปรวนในกลุมที่ 1 ของตวัแปรที่ 1

S2xq = ความแปรปรวนในกลุมที่ 2 ของตวัแปร y

1. x Interval 2. y true dichotomous

สถิติทดสอบ

Page 83: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สถิติทดสอบ

5. Phi Correlation

สถิติทดสอบ X2 – test (ไคสแควร)

srnrt s

212

−= df = n-2

)( φr

∑ −=

EEX

22 )0( df = (r-1)(c-1)

4. x,y Ordinal Scale มาตรอันดับ

5. x,y true dichotomous

4. Spearman’s rank order Correlation (rs)

Page 84: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

6. Tetachoric Correlation (rtet)

สถิติทดสอบ

p1 = (b+d)/n

p2 = (a+b)/n

q1 = (a+c)/n

q2 = (c+d)/n

nhhqpqp

S

SrZ

rtet

rtet

tet

212211

=

=

h1h2 เปนความสูงของ ordinates

ของโคงการแจกแจงปกติ

มาตรฐาน

4. x forced dichotomous

5. y forced dichotomous

Page 85: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

7. Cramer’s V Correlation

สถิติทดสอบ

O = observed value

E = Expected Value

)( φ′r

∑ −=

EEX

22 )0( df = n-2

x nominal นามบัญญัติ เปนตารางที่ 2x2 หรือมากกวา y

Page 86: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สรุปการบอกทิศทางของความสัมพันธจากเครื่องหมาย

ของสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

สัมประสิทธิ์

สหสมัพันธ

มาตรวัดตัวแปร x มาตรวัดตัวแปร y การบอกทศิทางของ

เครื่องหมาย

สัมประสิทธิ์

rxyอันตรภาคอัตราสวน อันตรภาคอัตราสวน ได (-1 ถึง +1)

rs อันดับ อันดับ ได (-1 ถึง +1)

rbisForced di. อันตรภาคอัตราสวน ได (-1 ถึง +1)

rpbisTrue di. อันตรภาคอัตราสวน ได (-1 ถึง +1)

rtetForced di. Forced di. ได (-1 ถึง +1)

True di. True di. ได (-1 ถึง +1)

Polytomous Polytomous ได (-1 ถึง +1)φ′r

φr

Page 87: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

1. Pearson Product Moment Correlation

2. Spearman Rank Correlation

3. Biserial Correlation

4. Point Biserial Correlation

5. Tetachoric Correlation

6. Phi Correlation

7. Cramer’s V Correlation

Page 88: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การเลือกใชสหสัมพนัธในการหาความสมัพันธระหวางตัวแปร

ตัวอยาง

1 rxy Interval Interval

2

3

4

5

rs ordinal ordinal

Polytomous Polytomous

rxy Interval Interval

True True φr

φ′r

1. เชาวนปญญากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

2. ลําดับความสูงกับลําดับความสวย

3. ลําดับความสูงกับเชาวนปญญา (สูง กลาง ต่ํา)

4. เจตคติตอการเรียนคณิตศาสตร

กับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนคณิตศาสตร

5. เพศกับการไปเลือกตั้ง

Page 89: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

6. คะแนนสอบรายขอกบัคะแนนสอบทั้งชุด

7. คะแนนสบิรายขอกับการสอบได/ตก

8. เพศกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

9. เชือ้ชาตกิับสีผิว

10. รายได (สูง กลาง ต่าํ) กับอาชีพ 6 rbisForced Interval

7

8

9

10

rtetForced Forced

rpbisTrue Interval

Polytomous Polytomous

Polytomous Polytomous

φ′r

φ′r

Page 90: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

y x1, x2, x3, x4,…….

สถิตทิี่ใชวดัความสมัพันธระหวางตัวแปรกับชุดของ

ตัวแปร เรียกวา สหสมัพันธพหุ (Multiple Correlation) ใช

สัญลักษณ R เปนสัมประสิทธิ์สหสมัพันธระหวาง y กับชุด

ของตัวแปร x เปนความสมัพันธในเชิงเสนตรง

การวัดความสมัพันธระหวางตัวแปรกับชุดของตัวแปร

Page 91: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สูตรคํานวณคาสัมประสทิธิ์สหสัมพันธพหุ

212

122122

12

12

12.r

rrrrrRy yyyy

−+=

1 = x1

2 = x2

Page 92: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

สูตรคํานวณในการทดสอบนยัสําคญั ใช F-test

)1/()1(/

212.

212.

−−−=

pnRPR

Fy

y

df = P, n-p-1

P = จํานวนตัวแปรอิสระ

n = จํานวนตัวอยาง

Page 93: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ปจจัยทีม่ผีลตอคาสัมประสทิธิ์สหสัมพนัธ

แบบ Pearson Product Moment Correlation (rxy)

1. เครื่องมือที่ใชวัดตวัแปรขาดความเที่ยง ทําใหขอมูลที่ไดมาไมมี

คุณภาพ ทําใหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธสูงหรือต่ํากวาความ

เปนจริง

2. ขนาดของกลุมตัวอยาง ถาเล็กมโีอกาสที่คาสัมประสิทธิ์

สหสัมพันธจะมากกวาหรือนอยกวาความเปนจริง

Page 94: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

3. ความสัมพันธที่ไมเปนเสนตรง ผูใชควรตรวจสอบรูปแบบโดยใช

scatter diagram กอน

4. การเปลี่ยนแปลงคาของขอมูลโดยการคูณดวยคาคงที่ ไมมีผลตอคา

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ เวนแตการคูณดงักลาวทําใหเครื่องหมาย

เปลี่ยนไป

5. ความเปนเอกพันธของกลุมตัวอยาง ในกรณีที่กลุมตัวอยางมี

ลกัษณะที่ใกลเคียงกัน คา rxy จะมีคาคอนขางต่ํา

Page 95: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การสรุปความเปนเหตุเปนผลจากสหสัมพันธ

สหสัมพันธเปนเทคนิคที่ใชในการบอกระดับความสัมพันธ

ของตัวแปร การที่ตัวแปรคูหนึ่งมีความสัมพันธกัน ไมไดหมายความวาตัวแปรทั้ง 2 เปนเหตุเปนผลกันเสมอไป เพราะการสรุปความเปนเหตุเปนผล ตองการการอางอิงทางทฤษฎีที่หนักแนนมากพอ

Page 96: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

ปญหาที่มักพบในการใชสหสัมพันธ

1. การใชสัมประสิทธิ์ที่ไมเหมาะสมกบัมาตรวัดตัวแปร

2. การสรุปผลการทดสอบนัยสําคัญโดยไมอานคาสัมประสิทธิ์

สหสัมพันธ จะทําใหผูใชงานวิจัยเกดิความเขาใจที่

คลาดเคลือ่นไปจากความเปนจริง

3. การที่นกัวิจยัมุงหาความสัมพันธระหวางขอมลู 2 ชุด โดย

ละเลยวิธีการอื่นที่สามารถนําเสนอผลที่เกดิขึ้นไดชดัเจน

มากกวา

Page 97: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

1. การหาความสมัพนัธในตัวแปรแตละคู ควรเลือกใชชนดิของสัมประสทิธิ์สหสมัพันธที่เหมาะสมกับมาตรวัดตัวแปร และทําการทดสอบนัยสําคัญกอน การลากเสนโยง ควรลากเฉพาะเสนที่พบนัยสําคัญเทานั้น และควรระบุคาสัมประสิทธิ์กํากับในแตละเสนโยงดวย

ในการศึกษาเปรียบเทียบสภาพความเปนอยูของชาวชนบทในจังหวัดลําพูนและลําปาง ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลโดยใชแผนภูมิ ซึ่งมีเจตนาที่จะแสดงความสัมพันธและเปรียบเทียบความสัมพันธที่เกิดขึ้น ในขณะเดียวกัน ผูวิจัยควร

1. ใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอยางไร2. การบรรยายความสัมพันธควรทําในลักษณะใด

Page 98: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

แผนภูมิเปรียบเทียบความสัมพันธของความเปนอยู ระหวางชาวชนบทจังหวัดลําพูนและจังหวัดลําปาง

ภาวะทางเศรษฐกิจ

• รายไดจากโรงงานอุตสาหกรรม

• จํานวนพืน้ที่ถือครอง

• จํานวนพืน้ที่การเกษตร

• รายจายการเกษตร

• รายจายเพื่อการอุปโภคบรโิภค

• รายไดจากนิคมอุตสาหกรรม

• รายไดจากการเกษตร

• รายไดรวม

• รายไดอื่นๆ

คาสาธารณูปโภค

• คาไฟฟา

• คาน้ําประปา

• คาโทรศัพท

การประกอบอาชีพ

• อาชีพสมาชิกในครอบครัว

การใชเทคโนโลยี

• จํานวนผูเขาเมือง

• การใชเครื่องมือเกษตร

• การใชเครื่องครัว

• การใชยานพาหนะ

• การใชเครื่องเสียง

• การใชเครื่องมือสื่อสาร

• การใชสิ่งอํานวยความสะดวก

การศึกษา

• ระดับการศึกษาสูงสุด

• ความตองการทางการศึกษา

• ทัศนคติทางการศึกษา

ลําปาง ลําพูน

Page 99: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การเปรียบเทียบความเปนอยูของประชาชนชนบทในจังหวัด

ลําพูนและลําปาง โดยอาศัยการลากเสนโยงที่ไดจากการคํานวณคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธและทดสอบนัยสําคัญแลว ตองนําเสนอคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธดวย เปนวิธีการนําเสนอที่ใหผลชัดเจน และเขาใจไดงาย ทําใหเห็นภาพรวมของ 2 จังหวัด

Page 100: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

การใชสหสัมพันธในการควบคุมตัวแปรแทรกซอน

ในการศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ หลายครั้งที่นักวิจัยไมสามารถ

ควบคุมตัวแปรแทรกซอนดวยวิธีการวิจัย โดยเฉพาะการวิจัยที่ไมใชการ

วิจัยเชิงทดลอง วิธีการทางสถิติที่นํามาใชในการควบคุมผลที่เกิดจากตัวแปร

แทรกซอน คือ Partial Correlation

X

Z

Y

rxy.z

ตองการหาความสมัพนัธระหวาง x และ y

แต z เปนตัวแปรทีม่ีความสมัพันธกับ x

และ y จึงตองนําสวนของ z ทีส่ัมพันธกับ x

และ y ออก จากนั้นจึงนําสวนที่เหลือของ x

และ y มาหาความสมัพนัธตอไป เรียกวา

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธของ Partial

Correlation

Page 101: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

22.

1.1 yzxz

yzxzxyzxy

rr

rrrr

−−

−−=

ตัวอยาง

ในการศึกษาความสัมพันธระหวางเชาวนปญญากับผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียน โดยมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ 0.79 แตในการศึกษา

พบวาทั้งเชาวนปญญาแลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตางมีความสัมพันธกับ

อายุ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางเชาวนปญญากับอายุเทากับ 0.54 และ

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับอายุเทากับ

0.58 จึงไดทําการควบคุมอิทธิพลของตัวแปรอายุตอตัวแปรทั้งสอง ดวย

partial correlation

Page 102: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน

223

213

2313123.12

1.1 rr

rrrr−−

−−=

22 )58.0(1.)64.0(1

)58.0)(64.0(79.0

−−

−=

)81.0)(77.0(37.079.0 −

=

สูตร

ความสัมพันธระหวางเชาวนปญญากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากควบคุม

อิทธิพลของอายุ ที่มีตอตัวแปรทั้งสองมีคาเทากับ 0.67 แสดงวา อายุ ทําใหความสัมพันธระหวางเชาวนปญญากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวาความเปนจริง

Page 103: สถิติบรรยาย (Descriptives Statistics)...สถ ต บรรยายท น ในการวามาใช จ ย ห วขอบรรยาย 2. การทดสอบน