Top Banner
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน หน้าที1 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487 (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบควบคุมเครื่องท้าน้าเย็นอัจฉริยะ เสนอ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน โดย บริษัท พลังงาน จ้ากัด เอกสารแนบท้ายประกาศที2 ประทับตราบริษัท
15

(ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ...

Feb 02, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 1 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

(ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ

โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพ ระบบควบคุมเครื่องท้าน ้าเย็นอัจฉริยะ

เสนอ

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

โดย บริษัท พลังงาน จ้ากัด

เอกสารแนบท้ายประกาศที่2

ประทับตราบริษัท

Page 2: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 2 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

สารบัญ หน้า รายละเอียดข้อเสนอโครงการ

(1) ข้อมูลทั่วไป x (2) ที่มาของโครงการ x (3) วัตถุประสงค์ x (4) นวัตกรรมที่ด าเนินการ x (5) เป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับ x (6) ขอบเขตการด าเนินงาน x (7) ขั้นตอนการด าเนินงาน x (8) ความคุ้มค่าของโครงการ x (9) การขยายผลของโครงการ x (10) ระยะเวลาและแผนการด าเนินโครงการ x (11) รายละเอียดการใช้จ่ายเงินโครงการ x (12) โครงสร้างการบริหารโครงการ x (13) เอกสารการสนับสนุนอื่นๆ x

Page 3: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 3 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

๑.๑ 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ชื่อโครงการ: โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบควบคุมเครื่องท้าน ้าเย็นอัจฉริยะ

1.2 ชื่อบริษัท.......บริษัท พลังงาน จ ากัด......................................................... ...................... 1.3 ทีอ่ยู่หรือสถานที่ติดต่อของผู้ขอรับการสนับสนุน

๑ เลขที่......17......หมู่…-…ชื่ออาคาร……………-….…………….………..ตรอก/ซอย………………-…………………….. ถนน.....พระรามท่ี 1.............แขวง/ต าบล.....รองเมือง..........................เขต/อ าเภอ........ปทุมวัน.............. จังหวัด......กทม......................... รหัสไปรษณีย์..... 10330..................โทรศัพท…์…02-000-0021-9…….. โทรสาร…0-2225-3785……….. E-mail ……[email protected]………………………………………….. เว็บไซต์ ………www.dede.go.th……………………………………………… 1.4 ประเภทของผู้ขอรับการสนับสนุน ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ระบ…ุจัดจ าหน่าย ติดตั้งและปรับปรุงเครื่องท าน้ าเย็น…….. วิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) ระบุ …………………………………………………………………………………… อ่ืน ๆ ระบุ ....................................................................... ....................................................... 1.5 สถานทีต่ั งของโครงการ ที่อยู่เดียวกับสถานที่ติดต่อของผู้ขอรับการสนับสนุน [] เลขที่..............หมู่………ชื่ออาคาร………………….…………….………..ตรอก/ซอย……………………….… ถนน.........................................แขวง/ต าบล.................................. เขต/อ าเภอ............................ จังหวัด....................................... รหัสไปรษณีย์.............................โทรศัพท…์………………………… โทรสาร……………………………….. E-mail …………………………………………………………………………… เว็บไซต์ ……………………………………………………………………………………………………………………….. 1.6 ผู้จัดการโครงการ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) ชื่อ-นามสกุล………นายอนุรักษ์ พลังงาน……… ต าแหน่ง……กรรมการผู้จัดการ…………………………………… โทรศัพท…์…00-000-0000……………………..….มือถือ……090-000-0789…………………………………………… โทรสาร……00-000-0000………………..………..E-mail ……… [email protected] …………………… 1.7 ผู้ประสานงานโครงการ ชื่อ-นามสกุล…นายเชี่ยวชาญ พลังงาน……………… ต าแหน่ง……วิศวกร……………………………………………… โทรศัพท…์00-000-0000…………………………………มือถือ……090-000-0234…………………………………….. โทรสาร……00-000-0000………………………………..E-mail …… [email protected] ……….

รายละเอียดขอ้เสนอโครงการ

Page 4: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 4 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

2. ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตผุลของโครงการ)

ระบบท าน้ าเย็น (Chiller System) เพ่ือการปรับอากาศในอาคารและโรงงาน เป็นส่วนที่ใช้พลังงาน มากที่สุดในธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะประเทศที่มีสภาพอากาศร้อนชื้นแบบประเทศไทย ระบบท าน้ าเย็นมีสัดส่วนการใช้ไฟฟ้า 60% ของการใช้ไฟฟ้าทั้งหมดของอาคารโดยประมาณ หน้าที่ของ ระบบท าน้ าเย็นเพ่ือการปรับอากาศเป็นกระบวนการควบคุมสภาวะของอากาศเพ่ือให้เป็นไปตามความต้องการ โดยทั่วไปปัจจัยหรือพารามิเตอร์ของอากาศที่ต้องควบคุมประกอบด้วย อุณหภูมิ ความชื้น ความสะอาด การกระจายลมเย็นและอัตราการไหลของลมเย็นส าหรับการปรับอากาศที่มีวัตถุประสงค์ให้เกิดความรู้สึกสบายต่อผู้อยู่อาศัย อย่างไรก็ตามในภาคอุตสาหกรรมก็มีการปรับอากาศเพ่ือควบคุมสภาวะอากาศในกระบวนการผลิตด้วยเช่นกัน ส าหรับโรงงานและอาคารธุรกิจขนาดเล็ก ระบบท าน้ าเย็นที่นิยมติดตั้งและใช้งานส่วนใหญ่จะเป็นระบบท าน้ าเย็นแบบรวมศูนย์ (Central Chiller System) โดยปกติจะมีขนาดการท าความเย็นตั้งแต่ 30 ถึง 500 ตันความเย็น(TonR) ตามภาระการปรับอากาศและขอจ ากัดของแต่ละสถานประกอบการ ค่าความสิ้นเปลืองพลังงานจ าเพาะของเครื่องท าน้ าเย็น(SEC) อยูระหวาง 0.6- 1.2 กิโลวัตต์ต่อตัน (kW/TonR) [1] ขึ้นอยู่กับสภาวะและอายุการใช้งานของเครื่องท าน้ าเย็น

ทั้งนี้ระบบท าน้ าเย็นเพ่ือการปรับอากาศปรับอากาศจะประกอบไปด้วยเครื่องท าน้ าเย็นและอุปกรณ์ ส่วนควบต่างๆ ซึ่งถ้าอุปกรณ์เหล่านี้ถูกปรับปรุงและบริหารจัดการการท างานเพ่ือให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น จะช่วยให้ประหยัดพลังงานและลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าได้ โดยเฉพาะการควบคุมการท างาน ของเครื่องท าน้ าเย็นให้เหมาะสมกับภาระการท าความเย็นจะส่งผลให้สามารถลดการใช้พลังงานลงได้อย่างมาก ส่งผลให้มีการใช้งานระบบท าน้ าเย็นเพื่อการปรับอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น บริษัท พลังงาน จ ากัด เป็นผู้ประกอบการจัดจ าหน่าย ติดตั้งและปรับปรุงเครื่องท าน้ าเย็น จึงมีการพัฒนานวัตกรรม "ระบบควบคุมเครื่องท าน้ าเย็นอัจฉริยะ" (Intelligent Chiller Controller System One ,ICCS I )ให้สามารถติดตั้งประยุกต์เข้ากับเครื่องท าน้ าเย็นดั้งเดิมของอาคารหรือโรงงาน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการของระบบท าน้ าเย็นเพ่ือการปรับอากาศ โดย ICCS จะท างานแบบ Real Time สามารถสื่อสารเชื่อมต่ออุปกรณ์ในระบบท าความเย็นและปรับอากาศทั้งหมดและยังแสดงผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ของระบบท าน้ าเย็น เก็บข้อมูลพารามิเตอร์ (Parameters) ต่างๆ น ามาวิเคราะห์เพ่ือควบคุมการท างาน และใช้ในการวางแผนบ ารุงรักษาและบริหารจัดการการท างานของเครื่องท าน้ าเย็น นอกจากนี้ระบบสามารถ แจ้งเตือนสถานะการใช้พลังงานเกินกว่าค่าที่ผู้ใช้งานก าหนดให้ได้แก้ไขเหตุการณ์ได้อย่างรวดเร็วเพ่ือลด การสูญเสียพลังงาน

3. วัตถปุระสงค์ 3.1 พัฒนานวัตกรรมอุปกรณ์ควบคุมการท างานของระบบท าน้ าเย็นส าหรับการปรับอากาศที่สามารถ

ติดตั้งเข้ากับเครื่องท าน้ าเย็นที่มีอยู่เดิมของผู้ใช้งานให้มีผลประหยัดพลังงานเกิดข้ึนอย่างน้อยร้อยละ 30 3.2 พัฒนาโปรแกรมตรวจสอบและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบท าน้ าเย็นส าหรับการปรับอากาศ

แสดงผลแบบ Real Time

Page 5: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 5 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

4. นวัตกรรมที่ด้าเนินการ (อธิบายลักษณะหรือรูปแบบของนวัตกรรมที่จะด าเนินการความเป็นไปได้ของนวัตกรรม

รายละเอียดการออกแบบนวัตกรรมรวมถึงอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีต่างๆ ที่ใช้ในการด าเนินโครงการ) ในภาคอุตสาหกรรมมีการน าเทคโนโลยีและนวัตกรรมอุตสาหกรรม 4.0 ( Industry 4.0) โดยใช้

เทคโนโลยี Internet of Things หรือ IoT [2] เป็นระบบโครงข่ายที่รองรับการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ เช่นคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สื่อสาร และเซนเซอร์ เข้าด้วยกัน [3] ส่งผลให้ระบบต่างๆ สามารถติดต่อสื่อสารและท างานร่วมกันได้อย่างเป็นอัตโนมัติ ดังนั้นการน าเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 4.0 มาใช้กับระบบท าน้ าเย็นส าหรับการปรับอากาศ จะสามารถเชื่อมโยงระบบท าน้ าเย็นเข้ากับเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาการควบคุม การท างานของระบบปรับอากาศ โดยจะสามารถลดการสูญเสียพลังงานโดยไม่จ าเป็นของอุปกรณ์หลัก ได้แก่ Chiller และ Water Pump ต่างๆ และพัดลมในระบบท าความเย็น

จากข้อมูลการท างานของระบบท าน้ าเย็นส าหรับปรับอากาศของสถานประกอบการ A ที่จะใช้เป็นสถานที่ทดสอบนวัตกรรม ICCS I มีการใช้ระบบท าน้ าเย็นส าหรับปรับอากาศแบบระบายความร้อนด้วยอากาศ (Air Cooled Chiller System) โดยปัจจุบันให้ช่างเทคนิคท าการจดค่าพารามิเตอร์ตัวแปรต่างๆ ลงในตารางเก็บข้อมูล และใช้วิศวกรในการวิเคราะห์ผลประสิทธิภาพของระบบน้ าเย็นส าหรับปรับอากาศ เพ่ือน าผลไปควบคุมการท างานและจัดท าแผนบ ารุงรักษา จากปัญหาที่พบไม่มีการน าภาระการท าความเย็นมาเป็นตัวแปรในการควบคุมการท างานของ Chiller และค่าพารามิเตอร์ตัวแปรต่างๆที่จดบันทึกมีการจดข้อมูลผิดพลาด ส่งผลเกิดความไม่แม่นย าของข้อมูลในการน ามาวิเคราะห์ผล และยังไม่มีการรายงานแจ้งเตือนปัญหาของระบบและไม่สามารถแสดงผลแบบ Real Time ได้ [4] ส่งผลให้การควบคุมการท างานของระบบปรับอากาศไม่เหมาะสมกับภาระท าความเย็นก่อให้เกิดความสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้า [5]

จากปัญหาที่ดังกล่าวทาง บริษัท พลังงาน จ ากัด จึงน าเสนอนวัตกรรม ICCS I เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ การใช้พลังงานในระบบท าน้ าเย็นโดยติดตั้งระบบควบคุมการท างาน เซนเซอร์ และโปรแกรม และแสดงผล การท างานรวมถึงเก็บข้อมูลผ่านระบบคอมพิวเตอร์ของสถานประกอบการ A โดย CPU จะน าข้อมูลการท างานของChiller นี้ไปสร้างแบบจ าลองเพ่ือท านายการท างานของระบบปรับอากาศแบบชุด [6] เพ่ือน าผล การวิเคราะห์ไปเป็นแนวทางในการควบคุมการของระบบ เพ่ือให้สามารถควบคุมการท างานระบบปรับอากาศ ให้เหมาะสมกับภาระงาน โดยแสดง Schematic Diagram การควบคุมการท างานได้ ดังรูปที่ 1 และแสดงตัวอย่าง HMI แสดงผลผ่านคอมพิวเตอร์หลักของสถานประกอบการ ดังรูปที่ 2

Page 6: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 6 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

รูปที่ 1 Block Diagram แสดงการควบคุมระบบท าน้ าเย็นของ ICCS I

รูปที่ 2 HMI ของโปรแกรม ICCS I แสดงพารามิเตอร์ต่างๆ ของระบบท าน้ าเย็น

Page 7: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 7 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

เอกสารอ้างอิงของโครงการ [1] กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, (2553), คู่มือผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (อาคาร) [2] รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 , (2560), ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) [3] E. Png, S.Srinivasan, K. Bekiroglu, J. Chaoyang, R. Su, and K. Poolla, “An internet of things upgrade for smart and scalable heating, ventilation and air-conditioning control in commercial buildings,” Applied Energy, vol. 239, pp. 408-424, 2019. [4] Y. Wang, X. Jin, W. Shi, and J. Wang, “Online chiller loading strategy based on the near- optimal performance map for energy conservation,” Applied Energy, vol. 238, pp. 1444-1451, 2019. [5] B. M. Seo and K. H. Lee, “Detailed analysis on part load ratio characteristics and cooling energy saving of chiller staging in an office building,” Energy and Buildings, vol. 119, pp. 309-322, 2016. [6] R. K. L. Chan, E. W.M. Lee, and R. K.K. Yuen, “An integrated model for the design of air- cooled chiller plants for commercial buildings,” Building and Environment, vol. 46, pp. 196-209, 2011.

5. เป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับ 5.1 เป้าหมายและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ :

5.1.1 ประหยัดพลังงานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 เมื่อเทียบกับระบบควบคุมเครื่องท าน้ าเย็นที่ใช้ในปัจจุบัน 5.1.2 ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าในระบบท าน้ าเย็น 5.1.3 ได้ข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าและภาระงานของเครื่องท าน้ าเย็นเพ่ือสามารถน าไปวิเคราะห์

หาสาเหตุของความสิ้นเปลืองพลังงานและความผิดปกติของระบบท าน้ าเย็น 5.2 ตัวชี วัดเชิงปริมาณ:

5.2.1 จ านวนกล่องควบคุมและซอร์ฟแวร์ที่จ าหน่ายได้รวมถึงยอดสั่งซื้อในรอบปี 5.2.2 การขยายผลไปใช้กับเครื่องท าน้ าเย็นรุ่นอ่ืน กรณีสถานประกอบการใช้เครื่องท าน้ าเย็นหลายเครื่อง

5.3 ตัวชี วัดเชิงคุณภาพ : 5.3.1 ผลประหยัดพลังงานไฟฟ้าปีฐานในหน่วย kWh/y และผลประหยัดทางการเงินปีฐานในหน่วย Baht/y 5.3.2 ค่า SEC ในหน่วย kW/TonR ของเครื่องท าน้ าเย็นที่ลดลงจากเทคโนโลยีการควบคุมแบบเดิม

Page 8: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 8 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

6. ขอบเขตการด้าเนินงาน (ระบุขอบเขตการด าเนินงานของโครงการอย่างชัดเจนโดยต้องสอดคล้องกับที่มาและวัตถุประสงค์) 6.1 นวัตกรรม ICCS I คือระบบควบคุมและซอร์ฟแวร์ใช้ติดตั้งเข้ากับเครื่องท าน้ าเย็นดั้งเดิมของสถาน

ประกอบการโดยมิได้ท าการเปลี่ยนเครื่องท าน้ าเย็น 6.2 ระบบท าน้ าเย็นที่มีระบบควบคุม แสดงผล และบันทึกข้อมูลส าเร็จรูปมาจากผู้ผลิตเครื่องท าน้ าเย็น

และไม่สามารถยกเลิกระบบควบคุมเดิมออกได้ ไม่จัดอยู่ในกลุ่มเป้าหมายของนวัตกรรมนี้ 6.3 การพิสูจน์ผลประหยัดจะใช้ค่า SEC เป็นพารามิเตอร์ในการชี้วัดโดยค านวณที่ภาระงานเดียวกันทั้ง

ก่อนและหลังการปรับปรุง 6.4 ภาระการท าความเย็นที่ใช้ในการทดสอบต้องไม่ต่ ากว่าร้อยละ 30 ขึ้นไป 6.5 เครื่องท าน้ าเย็นที่ท างานที่ภาระการท าความเย็น 95% ขึ้นไปต่อตลอดเวลาแสดงถึงการท าความเย็น

ไม่เพียงพอต่อภาระงาน (Under Design) ไม่สามารถติดตั้ง ICCS I เพ่ือวัตถุประสงค์การประหยัดพลังงาน

7. ขั นตอนการด้าเนินงาน (อธิบายวิธีการขั้นตอนการด าเนินงานอย่างละเอียดตลอดจนการวิเคราะห์การค านวณต่างๆใน

เชิงเทคนิคและสอดคล้องกับขอบเขตด าเนินงาน) 7.1 จัดท า EPC (Energy Performance Contract) กับสถานประกอบการ A ที่จะเป็นสถานที่ในการทดสอบ

โดยมีรายละเอียดของสินค้าด้านนวัตกรรมที่น าเสนอพร้อมอุปกรณ์ส่วนควบและรายละเอียดในการท างาน รวมถึงข้อตกลงเพ่ือยินยอมให้คณะกรรมการโครงการเข้าตรวจสอบเครื่องจักรอุปกรณ์ตลอดการท างาน

7.2 ก าหนดข้อตกลงในการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดพลังงานโดยปัจจัยหลักคือสมการที่ใช้ในการพิสูจน์ผลประหยัดพลังงาน ดังนี้

การประหยัดพลังงานหลักสามารถค านวณค่าก าลังไฟฟ้าก่อนปรับปรุงของเครื่องท าน้ าเย็นได้จากสมการที่ (1) และเมื่อติดตั้ง ICCS I สามารถค านวณค่าก าลังไฟฟ้าหลังปรับปรุงได้จากสมการที่ (2) และสามารถหาผลประหยัดพลังงานได้จากสมการที่ (3)

PPre = aTCPre2+bTEPre

2+cTCPre+dTEPre+Constant ..............................(1) PPost= aTCPost

2+bTEPost2+cTCPost+dTEPost+Constant ........................(2)

ESave=[(SECPre-SECPost)/SECPre] x EPre .....................................................(3) โดยที่

P = ก าลังไฟฟ้าของเครื่องท าน้ าเย็น (kW) TC = อุณหภูมิเฉลี่ยที่เครื่องควบแน่น (oC) TE = อุณหภูมิเฉลี่ยที่เครื่องท าระเหย (oC) ESave = พลังงานที่ประหยัดได้ปีฐาน (kWh/y) EPre = พลังงานปีฐานก่อนการปรับปรุง (kWh/y) SEC = ค่าความสิ้นเปลืองพลังงานจ าเพาะ (kW/TonR) a,b,c and d = ค่าสัมประสิทธิ์ของสมการ Subscript Pre = สภาวะก่อนการปรับปรุง Subscript Post = สภาวะหลังการปรับปรุง

Page 9: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 9 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

7.3 ส ารวจตรวจวัดและบันทึกผลการใช้พลังงานไฟฟ้าและภาระการท าความเย็นก่อนการปรับปรุง ของเครื่องท าน้ าเย็นที่จะติดตั้ง ICCS I ของสถานประกอบการ A โดยขั้นตอนนี้สามารถให้ที่ปรึกษาที่ได้รับมอบหมายจาก พพ. เข้าท าการตรวจวัดแบบคู่ขนานได้

7.4 ติดตั้งเซ็นเซอร์ต่างๆ ระบบควบคุม และระบบส่งสัญญาณในระบบท าน้ าเย็นของสถานประกอบการ A 7.5 สร้างโปรแกรมควบคุมและแสดงผลพร้อม Upload ลงกล่องควบคุม ICCS I และทดสอบการควบคุม

แสดงผลและบันทึกข้อมูลของ ICCS I 7.6 เมื่อปรับจูนพารามิเตอร์ในการท างานของ ICCS I จนเหมาะสมแล้วและสถานประกอบการ A เห็นชอบ

ที่จะรับงานติดตั้ง ICCS I แล้ว บริษัท พลังงานทดแทน จ ากัด แจ้งก าหนดการส าหรับการตรวจวัดหลังการปรับปรุงให้ที่ปรึกษาที่ได้รับมอบหมายจาก พพ. เข้าร่วมประชุมก าหนดแนวทางในการตรวจวัดและพิสูจน์ผล

7.7 ตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดพลังงานหลังการปรับปรุง 7.8 วิเคราะห์ผล สรุปข้อมูลและท ารายงานการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดพลังงาน 7.9 เมื่อรายงานได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตามโครงการของ พพ. บริษัท พลังงาน จ ากัด

ส่งเอกสารขอเบิกเงินสนับสนุนมายัง พพ.

Page 10: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 10 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

รบัหนังสืออนุมัติโครงการ, สถานที่ทดสอบพร้อม, เครื่องมือตรวจวัดพร้อม

Kick off

จัดท า EPC, ก าหนดข้อตกลงในการพิสูจน์ผลประหยัดพลังงาน

ประชุมผู้เกี่ยวข้องกับโครงการ

ตรวจวัดพลังงานก่อนปรับปรุง

ติดต้ังเซ็นเซอร์และ Hardware

Upload Control Program ICCSI

Commissioning & Tuning

แก้ไข, Tuning

แก้ไข EPC, ข้อตกลง

สถานประกอบการ A+บริษัท

ตรวจวัดและพิสูจน์ผลหลังปรับปรุง + Repart

เบิกเงินสนับสนุนโครงการ

End

ไม่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

ผ่าน

Page 11: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 11 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

8. ความคุ้มค่าของโครงการ (ระบุรายละเอียดที่แสดงถึงความคุ้มค่าที่เกิดขึ้นจากการด าเนินโครงการในรูปแบบของ

ผลตอบแทนของโครงการอาทิเช่นระยะเวลาคืนทุนผลตอบแทนทางการเงินศักยภาพผลประหยัดพลังงานเป็นต้น)

การประเมินค่าผลตอบแทนของโครงการทางเศรษฐศาสตร์ ตารางท่ี 1 แสดงค่าใช้จ่ายของโครงการ

ล้าดับ รายการ จ้านวนเงิน (บาท) 1 ค่าตอบแทนบุคลากร 480,000 2 ระบบควบคุม อุปกรณ์แสดงผล และอุปกรณ์เชื่อมต่อ 4,170,000 3 ค่าแรงส าหรับติดตั้งระบบ 350,000

รวม 5,000,000 ตารางท่ี 2 แสดงค านวณผลการประหยัดพลังงานของโครงการ

ล้าดับ ตัวแปร/สัญลักษณ์ สูตร ค่า หน่วย

1 ระดับการใช้พลังงานไฟฟ้าก่อนปรับปรุง Epre 1,724,368.00 kWh/y

2 ระดับการใช้พลังงานไฟฟ้าหลังปรับปรุง EPost 1,185,359.00 kWh/y

3 ระดับการใช้พลังงานไฟฟ้าที่ลดลง ESave 539,009.00 kWh/y

4 อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าปีฐาน Ce 3.70 Baht/kWh

5 คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ MSave 1,994,333.30 Baht/y

6 คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ผลประหยัด %Save 31.26 %

7 เงินลงทุน - 5,000,000.00 Baht

8 ระยะเวลาคืนทุน - 2.51 Year

9 เทียบเท่าตันน้ ามันดิบ - 45.93 Toe

9. การขยายผลของโครงการ(ระบุรายละเอียดที่แสดงถึงการน านวัตกรรมจากโครงการไปขยายผลหรือพัฒนาต่อยอด)

9.1 ถ้าสถานประกอบการมีเครื่องท าน้ าเย็นหลายเครื่อง สามารถน าเสนอสินค้าเพ่ือติดตั้งเพ่ิมเติมในไซต์งานเดียวกัน โดยให้ ICCS I ของเครื่องท าน้ าเย็นแต่ละเครื่องเป็น Slave Module จากนั้นพัฒนา ICCS Master Module เพ่ือควบคุมการท างานทั้งระบบ 9.2 จัดท าโบชัวร์แผ่นพับเพ่ือประชาสัมพันธ์โครงการ โดยเนื้อหาแสดงถึงผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริงด้วยกรรมวิธีการตรวจวัดที่ถูกต้องและน าเสนอขายลูกค้าที่สนใจใน ICCS I ทั้งอาคารและโรงงาน

Page 12: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 12 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

10. ระยะเวลาและแผนการด้าเนินโครงการ(ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการด าเนินโครงการตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด

โครงการพร้อมทั้งระบุช่วงเวลา (Timeline) ในแต่ละกิจกรรมหรือแต่ละขั้นตอนให้ชัดเจน)

ระยะเวลาโครงการ 6 เดือน

กิจกรรม ระยะเวลา (เดือนที่)

1 2 3 4 5 6

1. จัดท า EPC (Energy Performance Contract)

2. ก าหนดข้อตกลงในการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดพลังงาน

3. ส ารวจตรวจวัดและบันทึกผลการใช้พลังงานไฟฟ้าและภาระการท าความเย็นก่อนการปรับปรุง

4. ติดตั้งเซ็นเซอร์ต่างๆ ระบบควบคุม และระบบส่งสัญญาณในระบบท าน้ าเย็นของสถานประกอบการ

5. สร้างโปรแกรมควบคุมและแสดงผลพร้อม Upload ลงกล่องควบคุม ICCS I และทดสอบการควบคุม แสดงผลและบันทึกข้อมูลของ ICCS I

6. ประชุมก าหนดแนวทางในการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดพลังงาน

7. ตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดพลังงานหลังการปรับปรุง

8. สรุปข้อมูลและท ารายงานการตรวจวัดและพิสูจน์ ผลประหยัดพลังงาน

9. ส่งรายงานความก้าวหน้าประจ าเดือนต่อ พพ.

Page 13: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 13 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

11.รายละเอียดการใช้ จ่ายเงินโครงการ (โดยระบุเป็นค่าใช้จ่ายต่อหน่วย โดยแบ่งออกเป็น 4 หมวด คือ

1) หมวดค่าตอบแทนบุคลากร 2) หมวดค่าใช้สอยและวัสดุ 3) หมวดค่าใช้จ่ายครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง และ 4) หมวดค่าใช้จ่ายอื่นๆ ) ค่าใช้จ่ายทั งหมดของโครงการ : แผนการเงินของโครงการและรายละเอียดค่าใช้จ่ายในการด้าเนินงาน รวม 5,000,000 บาท (ห้าล้านบาทถ้วน)

รายการ ปริมาณ

(เดือน)

อัตรา

(บาท) งบประมาณรวม

(บาท)

1. ค่าตอบแทนบุคลากร 1.1 ผู้จดัการโครงการ 1.2 วิศวกรโครงการ 1.3 ช่างเทคนิคไฟฟ้า 1 1.4 ช่างเทคนิคไฟฟ้า 2 1.5 ช่างเทคนิคเครื่องกล 1 1.6 ช่างเทคนิคเครื่องกล 2 1.7 โปรแกรมเมอร ์1.8 ผู้ประสานงานโครงการ

1 2 2 2 2 2 2 6

50,000 40,000 20,000 20,000 20,000 20,000 50,000 15,000

50,000 80,000 40,000 40,000 40,000 40,000 100,000 90,000

2. ค่าใช้สอยและวัสดุ 2.1 ระบบควบคุม 2.2 อุปกรณ์แสดงผล 2.3 อุปกรณ์เชื่อมต่อ 2.4 ค่าจ้างวิเคราะห์ ทดสอบ คา่รับรองมาตรฐาน 2.5 ค่าอนุญาตในการใช้สิทธิ (License) (Program) 2.6 อื่นๆ (ระบุ)

1 1 1 1 1 -

1,530,000 1,200,000 1,140,000 100,000 200,000

1,530,000 1,200,000 1,140,000 100,000 200,000

3.ค่าใช้จ่ายครุภัณฑ์และสิ่งก่อสรา้ง 3.1 ค่าแรงงาน ค่าตดิตั้ง ค่าขนส่ง 3.2 ค่าครุภัณฑ ์ 3.3 อื่นๆ (ระบุ)

1

350,000

350,000

4. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (รายละเอียด) 4.1 (ระบุ)…………………………………….......................................... 4.2 (ระบุ)..…………………………………….....………………………………

รวม 5,000,000

Page 14: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 14 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

12. โครงสร้างการบริหารโครงการ (แสดงถึงโครงสร้างบุคลากรที่ร่วมด าเนินโครงการพร้อมทั้งระบุต าแหน่งหน้าที่

รับผิดชอบประวัติการท างานความเชี่ยวชาญของผู้ร่วมด าเนินโครงการ)

รูปที่ 3 โครงสร้างคณะท างานโครงการ

นายสุธี ทิพย์พิมาน ช่างเทคนิคเครื่องกล 2

น.ส. เรวดี ช่างไม ้ช่างเทคนิคไฟฟ้า 2

นายศิลปะ กวีศิลป์ โปรแกรมเมอร์

น.ส. นพมาศ ไพรี ผู้ประสานงานโครงการ

นายเชี่ยวชาญ พลังงาน วิศวกรโครงการ

นายอานนท์ บัวแดงคณะ ช่างเทคนิคเครื่องกล 1

นายชิดศักดิ์ โยธา ช่างเทคนิคไฟฟ้า 1

นายอนุรักษ ์พลังงาน ผู้จัดการโครงการ

Page 15: (ตัวอย่าง) ข้อเสนอโครงการ · 2019-10-23 · ที่มาของโครงการ (หลักการและเหตุผลของโครงการ)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพ์ลังงาน หน้าที่ 15 จากทั้งหมด 15 โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1148, 1824โทรสาร 0 2222 4487

13. เอกสารสนับสนุนอื่น(ระบุเอกสารอื่นๆเพิ่มเติมที่คาดว่าเป็นประโยชน์ต่อการด าเนินโครงการอาทิเช่นสิทธิบัตร

Certificate เป็นต้น) ไม่มี มี ระบุเอกสารสนับสนุนอ่ืนๆที่เป็นประโยชน์ต่อการด าเนินโครงการ 1) หนังสือยืนยันการซื้อขายและติดตั้งสินค้า ICCS I จากสถานประกอบการ 2) อนุสิทธิบัตรหมายเลข xxxxxxx 3) ……………………………………………………………………………………………………………………………… 4) ………………………………………………………………………………………………………………………………

ค้ารับรอง 1. ข้าพเจ้าได้รับทราบและท าความเข้าใจระเบียบ หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการขอรับการสนับสนุน

โครงการส่งเสริมและสนับสนุนนวัตกรรมด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน และยินดีปฏิบัติ ตามระเบียบ หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขดังกล่าว ตลอดจนค าสั่ง หรือประกาศ ที่ พพ. ก าหนดทุกประการ

2. ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่ปรากฏในแบบข้อเสนอโครงการ พร้อมเอกสารประกอบการพิจารณาขอรับการสนับสนุนโครงการนี้ถูกต้องครบถ้วน และเป็นความจริงทุกประการ

ผู้จัดการโครงการ (ผู้รับผิดชอบโครงการ)

ลงชื่อ .................................................................................

(นายอนุรักษ์ พลังงาน)

ต าแหน่ง กรรมการผู้จัดการ

ผู้มีอ้านาจในการลงนาม หรือผู้ที่ได้รับมอบอ้านาจ

ลงชื่อ .................................................................................

(นายอนุรักษ์ พลังงาน)

ต าแหน่ง กรรมการผู้จัดการ

ประทับตราบริษัท

อนุรักษ ์พลังงาน

อนุรักษ ์พลังงาน