Top Banner
15

คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

Jan 23, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก
Page 2: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

คํานํา หนังสือสังคมศึกษาเลมนี้ครูไดจัดทําขึ้นเพื่อประกอบการสอนในคอรสฟนฟูเตรียมสอบโควตาเขา

มหาวิทยาลัยขอนแกนรวมท้ังเปนพื้นฐานสําคัญของการเรียนในคอรสพิชิตขอสอบโควตาเขามหาวิทยาลัย ขอนแกน ของโครงการคายวิชาการ Summer ศูนยประสานงานวิชาการ (The Act) ในชวงเดือนมีนาคม ถึงเมษายนซึ่งมีทุกๆ ป โดยมีวัตถุประสงคในการเตรียมความพรอมใหกับเหลาสมาชิก The Act ในการเตรียมตัวสอบโควตาเขามหาวทิยาลัยขอนแกนในแตละปการศึกษา

เนื้อหาตางๆ ที่ครูไดนํามาสอนและเขียนอธิบายไวในหนังสือเปนเนื้อหาที่ผานการวิเคราะหจากครูแลววาเปนจุดเนนของขอสอบโควตาเขามหาวิทยาลัยขอนแกนที่นํามาออกขอสอบทุกป ถานักเรียนไดอานหนังสือเลมนี้ ประกอบกับฟงการบรรยายจากครูอยางตั้งใจ นักเรียนก็จะสามารถพิชิตขอสอบสังคมศึกษาโควตาเขามหาวิทยาลัยขอนแกน หรือการสอบ Admissions ในสังคม O-net ไดไมยาก

ในการเรียนการสอนครูอาจใช Power Point เพื่อการอธิบายที่รวบรัดและอาจตองตะลุยโจทยเลยในบางเรื่องที่เนื้อหาไมยากมาก ชวงเวลา 18-21 ชัว่โมงในคอรสฟนฟู และ 18-21 ชั่วโมงในคอรสพิชิต ขอใหนักเรียนตั้งใจฟง จดสรุปที่ครูสอนดวยลายมือสวยๆ อยางเปนระบบ และนํามาอานควบคูกับหนังสือเลมนี้ รวมทั้งชสีเลมแบบฝกหัดเพิ่มเติมเพื่อลองทําขอสอบ และการบานในแตละวันขอใหหนูไดใชประโยชนจากโจทยแตละขอใหมากที่สุด โดยการฟงเฉลยหนูจะตองใชปากกาวง Keyword ขีดเสนในสิ่งที่โจทยถาม และหลอก กากบาทขอที่เราสามารถตัดทิ้งไดโดยไมตองนํามาคิด แลวจึงวงเฉลยคําตอบที่ถูกตอง จึงจะเปนการเรียนโดยใชโจทยเกาที่จะไดผลสัมฤทธิ์ที่ดีที่สุด

ขอขอบคุณ The Act ที่มีโครงการดีๆ แบบนี้มาเพื่อพฒันาเยาวชนทีจ่ะไปพัฒนาประเทศในวันขางหนา และเปนผูรวมในการสานฝนของเด็กๆ ที่จะไดเขาเรียนในมหาวิทยาลัยที่แตละคนฝนและใฝ ถานักเรียนทุกคนเขามาสัมผัสการจัดคายของ The Act หนูจะรูวา The Act ทําเพื่อหนูๆ จริงๆ ตามนโยบาย “ความสําเร็จของนอง คือ ภารกิจของ The Act.”

นี่คือความแตกตาง นี่คือคุณภาพ และนี่คือการตระหนักในความสําเร็จของนอง ที่ฝากอนาคตไวกับสถาบัน The Act.

อ.เบียร อาจารยพีรพงศ แสงธรรมวรคุณ The Act.

Page 3: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

สารบัญ เรื่อง หนา

สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับศาสนา 1

2. ศาสนาพราหมณ-ฮินดู 3

3. พระพุทธศาสนา 8

4. ศาสนาคริสต 21

5. ศาสนาอิสลาม 24

6. ศาสนาเปรียบเทียบ 26

7. แนวขอสอบโควตามหาวิทยาลัยขอนแกน สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 29

สาระเศรษฐศาสตร 1. ความหมายและปญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร 37

2. ขอบเขตและสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร 39

3. ระบบเศรษฐกิจ 40 4. ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงและการเกษตรแบบผสมผสาน 42

5. กิจกรรมทางเศรษฐกิจ 43

6. กลไกราคาและการแทรกแซงโดยรัฐ 50

7. การเงิน 53

8. สถาบันการเงินและการธนาคาร 55

9. การคลังและการบริหารเศรษฐกิจภาครัฐบาล 60

10. ปญหาเศรษฐกิจและนโยบายการแกปญหา 63

11. การพัฒนาและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 67

12. การคาระหวางประเทศ 69

13. การเงินและดุลชําระเงินระหวางประเทศ 70

14. องคการทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ 73

15. แนวขอสอบโควตามหาวิทยาลัยขอนแกน สาระเศรษฐศาสตร 75

Page 4: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

สารบัญ (ตอ) เรื่อง หนา

สาระประวัติศาสตร 1. เวลากับประวัติศาสตร 85

2. หลักฐานทางประวัติศาสตร 88

3. วิธีการทางประวัติศาสตร 90

4. การแบงยุคทางประวัติศาสตร 92

5. ประวัติศาสตรและอารยธรรมตะวันตก 95

6. ประวัติศาสตรและอารยธรรมตะวันออก 156

7. ประวัติศาสตรและอารยธรรมไทย 179

8. แนวขอสอบโควตามหาวิทยาลัยขอนแกน สาระประวัติศาสตร 218

สาระภูมิศาสตร 1. สารสนเทศทางภูมิศาสตร 230

2. การอานแผนที่ 232

3. ลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย 235

4. ภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของประเทศไทย 244

5. ภูมิศาสตรภูมิภาคของประเทศไทย 254

6. มนุษยกับส่ิงแวดลอม 266

7. แนวขอสอบโควตามหาวิทยาลัยขอนแกน สาระภูมิศาสตร 274

สาระหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดํารงชีวิตในสังคม ภาคที่ 1 สังคมวิทยา

1. มนุษยกับสังคม 285

2. วัฒนธรรม 287

3. โครงสรางทางสังคม 289

4. การจัดระเบียบทางสังคม 291

5. ลักษณะสังคมไทยและปญหา 296

Page 5: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

สารบัญ (ตอ) เรื่อง หนา

ภาคที่ 2 รัฐศาสตร 1. ความหมายและองคประกอบของรัฐ 298

2. ระบอบการเมืองการปกครอง 300

3. ความสัมพันธระหวางรัฐกับพลเมืองและสิทธิมนุษยชน 306

4. การเมืองการปกครองไทยปจจุบัน 311 ภาคที่ 3 กฎหมาย 1. ความหมายและลักษณะสําคัญของกฎหมาย 326

2. ระบบกฎหมายและการแบงประเภทของกฎหมาย 327

3. ที่มาและลําดับศักดิ์ของกฎหมาย 331

4. กฎหมายแพงและพาณิชย 335

5. กฎหมายอาญา 338

6. กระบวนการยุติธรรมทางอาญา 339

**แนวขอสอบโควตามหาวิทยาลัยขอนแกน สาระหนาที่พลเมืองฯ 341

**เฉลยแนวขอสอบชุดที่ 1-5 355

Page 6: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

 

1

  

  

1. ศาสนา (Religion) - เปนเครื่องยึดเหนี่ยวจติใจของมนุษย เปนหลักใหคนอยูรวมกันอยางมีความสุข

2. ตามความหมายแบบตะวันตก (พ้ืนฐาน = คริสตศาสนา) ศาสนา คือการมอบศรัทธาตอพระเจาดวยความ

เคารพยําเกรง ความผูกพันระหวางมนษุยกับพระเจา

3. ตามความหมายแบบไทย (พ้ืนฐาน = พุทธศาสนา) ศาสนา คือคาํสอนของศาสดาผูประกาศตัง้ศาสนา เกี่ยวกับ

ศีลธรรมจรรยา หรือการปฏิบัติตนใหพนทุกข

4. ลัทธิ (Doctrine) มีหลายความหมายดังนี ้

1) เปนคําสอนเฉพาะกลุมทางศาสนาที่แตกตางไปจากประเด็นหลัก = นิกาย

2) เหมือนศาสนาแตมีองคประกอบไมครบตามองคประกอบของศาสนา = ขงจื้อ เตา

3) ไมจําเปนตองเปนคาํสอนเกีย่วกับศีลธรรม อาจมีแตคาํส่ัง เปนลัทธินับถือพระเจา = บูชาไฟ

5. องคประกอบของศาสนา คือ แกนสารหรือสวนสําคญัตางๆ ท่ีรวมเขากันเปนศาสนา โดยมีองคประกอบดังนี ้

1) ศาสดา – คือ ผูกอตั้งหรือผูประกาศศาสนา

2) หลักคําสอน – คือ คําสอนอันจํากันไวในครัง้แรก อาจมีการจารึกเปนลายลักษณอักษร

3) ศาสนพิธี – คือ การประกอบพิธีตางๆ ตามแนวปฏิบัติของแตละศาสนา เพื่อเรียกความศรัทธา

4) นักบวช – คือ สาวกผูปฏิบัตศิาสนกิจสืบตอหลักคาํสอน

5) ศาสนสถาน – คือ สถานที่อาจรวมดวยวัตถุท่ีควรเคารพบูชา เปนศูนยกลางชุมชนศาสนา

6) สัญลักษณ – คือ เอกลักษณเฉพาะของศาสนา

6. องคประกอบที่ทุกศาสนามี และสําคัญที่สุดในปจจุบัน คือ หลักคาํสอน รองลงมาคือพิธกีรรม

7. เมื่อเปรียบศาสนากับสวนตางๆ ของตนไม จะพบวา เปลือก=พิธีกรรม กิ่งกาน=สาวก ราก=ศาสดา แกน=

หลักธรรม

8. มูลเหตุของการเกิดศาสนาที่สําคญัที่สุด คือความกลัว แตสาเหตุเบ้ืองตนคือ ความไมรูในปรากฎการณธรรมชาต ิ

1. ความรูเบื้องตนเก่ียวกับศาสนา

สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

Page 7: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

 

2

9. ประเภทของศาสนา แบงตามความเชื่อเกี่ยวกับพระเจา

1) ศาสนาเทวนิยม จะเปนศาสนาที่มีความเชื่อเร่ืองพระเจา วาเปนผูสรางโลกและกําหนดชะตาชวีติคนแบงเปน

(1) เอกเทวนิยม (พระเจาองคเดยีว - คริสต อิสลาม ยูดาย)

(2) พหุเทวนิยม (พระเจาหลายองค - พราหมณ-ฮินดู โซโรแอสเตอร)

2) ศาสนาอเทวนิยม จะเปนศาสนาที่อาจจะเชื่อวาพระเจามีจริง แตไมเชื่อเร่ืองพระเจาสรางโลกและกําหนด

ชะตาชีวติมนษุย เชื่อวาทุกคนลิขติชีวติตวัเอง เชน พุทธ เชน

10. ศาสนาแบงตามแหลงผูนับถือ ไดเปน 2 ประเภท คือ ศาสนาประจําชาติ และศาสนาสากล

11. ศาสนาแบงตามสภาพการนับถือ ไดเปน 2 ประเภท คือ ศาสนาทีต่ายไปแลว และศาสนาที่ยงัคงมผูีนับถืออยู

12. ตารางเปรียบเทียบองคประกอบสําคัญของแตละศาสนา ศาสนา พราหมณ-ฮินด ู พุทธ คริสต อิสลาม

แหลงกําเนิด อินเดีย อินเดีย อิสราเอล ซาอุดิอาระเบยี

พระเจา พระตรีมูรต ิ - พระยะโฮวา พระอัลลอฮฺ

ศาสดา - พระพุทธเจา พระเยซ ู นบี มุฮัมหมัด

คัมภีร พระเวท พระไตรปฎก ไบเบิล อัลกุรอาน

นักบวช พราหมณ พระสงฆ บาทหลวง

(โปรแตสแตนท-ไมมี)

-

ศาสนสถาน เทววิหาร วัด โบสถ มัสยิด สุเหรา

พิธีกรรมในการ

เปนศาสนิกชน

เบิกพรหมจรรย

(ไศวนิกาย)

พุทธมามกะ ศีลลางบาป ปฏิญาณตน

เปาหมายสูงสุด โมกษะ นิพพาน อาณาจักรพระเจา รับใชพระเจาบนสวรรค

หลักธรรมที่เปน

เอกลักษณ

วรรณะ

อนัตตา ความรัก อัลกุรอานเปนธรรมนูญ

แหงชวีิต

สัญลักษณ โอม (อะ อุ มะ) ธรรมจักร ไมกางเขน ดาว 5 แฉก 1 ดวงกับ

พระจันทรเส้ียว

Page 8: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

 

3

13. เปนศาสนาเกาแกกําเนิดในชมพทูวีป เปนความเชื่อดั้งเดิมของพวกอารยัน กาํเนิดจากความเชื่อในธรรมชาติ เนน

เร่ืองวิญญาณและการเวียนวายตายเกิด มวีิวฒันาการ 3 สมัย คอื

1) ยุคพระเวท - ประมาณ 1,000-100 ปกอนพุทธกาล

2) ยุคพราหมณ - ประมาณ 100 ปกอนพุทธกาล

3) ยุคฮินด ู- ตั้งแต พ.ศ. 700 เปนตนมา พฒันาการของศาสนาราหมณ-ฮินด ู

14. หลักตรีมูรติ คือ พระเจาสูงสุดม ี3 องค แทจริงคือองคเดยีวกันแตแบงเปน 3 ภาค ทําหนาที่ 3 ประการ ไดแก

1) พระพรหม (ผูสราง)

2) พระวิษณ-ุพระนารายณ (ผูรักษา)

3) พระศิวะ-พระอิศวร (ผูทําลายลาง)

15. คัมภีรจะแบงเปน 2 ประเภท ไดแก

1) คัมภีรศรุต ิ= ไดยินไดฟงมา โดยพระเจามอบใหมนุษยโดยตรง คอื คัมภีรพระเวท

2) คัมภีรสมฤติ = การถายทอดโดยไดรับแรงกระตุนจากคัมภีรพระเวท **คนสรางขึ้น จดจาํและถายทอด* ไดแก

คัมภีรพระธรรมศาสตร คมัภีรอิตหิาส (มหากาพยภารตะ/ รามายณะ) คัมภีรปุราณะ

16. คัมภีรพระเวทมี 4 คัมภีร (1-3 จะเรียกวา ไตรเวท หรือไตรเพท) ไดแก

1) ฤคเวท เปนบทเพลงสวดสรรเสรญิออนวอนพระผูเปนเจาและเทว ี

2) ยชุรเวท วาดวยระเบยีบวิธใีนการประกอบพิธีกรรมบูชายัญและบวงสรวงตาง ๆ

3) สามเวท เปนประมวลบทสวดจากคัมภีรฤคเวทมาเรียบเรียงตามลาํดับ ใชสําหรับสวดในพิธีถวายน้าํโสมแก

พระอินทร และขับกลอมเทพเจา

4) อถรรพเวท เปนที่รวบรวมคาถาอาคม หรือ เวทมนต และไสยศาสตรตางๆ เกดิในตอนปลายสมัยพราหมณ

ยุคกอนพระเวท ยุคพระเวท ยุคพราหมณ ยุคฮินด ู

วิญญาณนยิม

(Animism)

พหุเทวนิยม

(Polytheism)

เอกเทวนิยม

(Monotheism)

พหุเทวนิยม

(Polytheism)

2. ศาสนาพราหมณ-ฮินดู

Page 9: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

 

4

17. พระเวททั้ง 4 น้ีในแตละพระเวทจะแบงออกเปน 4 หมวด คือ

1) สังหิตา หรือ มันตระ เปนชุมนุมบทสดุดีเทพเจาในพิธีบูชายัญ เปนบทประพันธมีท้ังรอยแกวและรอยกรอง

2) พราหมณะ แตงเปนความรอยแกว ใชเปนคูมือพราหมณในการประกอบพิธีกรรม กลาวถงึขอหามและขอ

ปฏิบัติในการประกอบพิธีกรรม

3) อารัณยกะ เปนตําราคูมือพราหมณในการดําเนินชีวติในปา คือ สละสมบัติสวนตัวทัง้หมด แลวถือการอยูปา

เปนขอปฏิบัติ **แนวคดิทางปรัชญาของคําภีรพระเวทเริ่มท่ีอารัณยกะ

4) อุปนิษัท เปนคัมภีรปรัชญาที่สําคญัของศาสนาฮินดู วาดวยเรื่องเกีย่วกับวิญญาน อาตมัน เร่ืองพระเจา โลก

มนุษย คาํวา อุปนิษัท แปลวา เขาไปนั่งใกล หมายถึง น่ังใกลอาจารยเพื่อฟงคาํอธิบายจากอาจารยอยาง

ใกลชิด

18. คัมภีรพระธรรมศาสตร เปนหลักกฎหมาย จารีตประเพณีและสิทธิหนาที่ของคนในสังคมฮินดู ท่ีมีชื่อเสียงมาก

ท่ีสุด คือ คัมภีรมานวธรรมศาสตร (พระมนูธรรมศาสตร) ซึ่งมีอิทธิพลตอระบบกฎหมายของประเทศตางๆ หลาย

ประเทศในทวีปเอเชีย

19. คัมภีรอิตหิาส แปลวา เปนเชนนั้นจริงๆ เปนเรื่องราวในประวัติศาสตรท่ีเลาสืบตอกันมา ไดแก

1) มหากาพยรามายณะ แปลวา การไปของพระรามเพื่อติดตามหานางสีดา ผูแตงคือ ฤาษีวาลมีก ิ

2) มหากาพยมหาภารตะ เปนมหากาพยท่ียิง่ใหญ กลาวถึงการทําสงครามขับเคีย่วกันระหวางกษัตริยพ่ีนอง

สองตระกูล คือ ตระกูลเการพ และตระกูลปาณฑพ ผลของสงครามก็คือฝายที่ยึดมั่นในธรรมเปนฝายชนะ

20. คัมภีรปุราณะ เปนเรื่องราวทีม่มีาแตโบราณกาล เกี่ยวกับ การสรางโลก ความพินาศและการกลบัมีขึ้นใหมของ

เอกภพ ประวัติของเทพเจาและทวยเทพ การครองโลกของพระมน ูและประวัติสุริยวงศ จันทรวงศ

21. คมัภีรภควทัคตีา เปนหัวใจของปรัชญาฮินดู เปนสวนหนึ่งของมหากาพยมหาภารตะ แปลวา บทเพลงแหง พระ

ผูเปนเจา คือคําสอนที่พระเจาประทานแกมนุษยเพื่อชี้ทางเขาถึงพระเจา เปนบทสนทนาระหวางพระอรชุน (ผู

ถาม) กับพระกฤษณะ (ผูตอบ) ในสมรภูมิรบ เปนการนําเอาปรชัญาฮินดูท่ีมีอยูแลวมาผสมผสานกัน สรุปไดวา

**หนทางทีจ่ะนําไปสูความหลดุพนที่ดีท่ีสุดคือ ทางแหงความภกัดี**

22. หลักปรมาตมัน มีปรมาตมัน เปนวิญญาณใหญ จะมีอาตมันซึง่เปนวิญญาณยอยเขามาสิงรางกายเปน 1 ชีวติ

เพื่อเวยีนวายตายเกิด เมื่อหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิด =บรรลุโมกษะ อาตมันจะกลับไปรวมกับปรมาตมัน

23. โมกษะ คือ ความหลุดพนจากสังสารวัฏ เปนสภาวะที่วิญญาณ (อาตมัน) กลับไปรวมกับพระผูเปนเจา (พรหมนั

หรือปรมาตมัน) ท่ีเปนบอเกิดของวิญญาณทั้งหลาย หลุดพนจากการเวียนวายตายเกดิ เปนจดุมุงหมายสูงสุดของ

ศาสนาพราหมณ-ฮินดู ปฏิบัติในวัยสันยาสี ซึง่การจะบรรลุโมกษะ จะตอง ม ี

Page 10: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

 

5

1) กรรมโยคะ คือ ทางแหงกรรม กระทํากรรมดตีามวรรณะโดยไมหวงัผลตอบแทน โดยประกอบพิธกีรรม เชน

บูชายัญ ทรมาณตน

2) ชญานโยคะ คือ ทางแหงญาณหรือปญญา เปนการรูแจงเห็นจริงโดยการปฏิบัติ ตามขั้นตอนที่สําคญัคือ

การเขาญาณสมาธิ เปนการใชปญญา

3) ภักติโยคะ คือ ทางแหงความภักดี แสดงความรักความภักดีตอพระเจาองคใดองคหนึง่

4) ราชโยคะ คือ ทางแหงการฝกฝนจิต เปนการหลุดพนจากวัฏสงสารโดยการฝกจติอยางเครงครัด

24. สรุป โมกษะ คือ

1) ความหลุดพนจากสังสารวัฏ

2) สภาพที่อาตมัน (ชีวาตมัน) เปนอันหนึ่งอันเดียวกับพรหมัน (ปรมาตมัน)

3) **พรหมัน=ปรมาตมัน=วิญญาณใหญ(สากล)**

4) **โมกษะ = อาตมัน ปรมาตมัน**

5) ดงันั้น โมกษะ = ปรมาตมัน

25. ปรัชญาฮินดู เนน

1) มนุษย = อัตตา + อาตมัน (ชวีาตมัน)

2) อัตตา = รางกาย ตาย = ผงคลีดิน

3) อาตมัน = ตองการบรรลุโมกษะ

4) ถาไมบรรลุชาติน้ีจะตองเวียนวายตายเกดิ ในสังสารวัฏ

5) ถาบรรลุจะกลับไปรวมกับปรมาตมัน

6) **อาตมัน = เปนอมตะ ≠ อนัตตา (ไรตัวตน)**

26. หลักวรรณะ เกิดขึ้นในตอนปลายของยคุพระเวท มี 4 วรรณะ ซึง่ถูกสรางจากสวนตางๆ ของพระพรหม ไดแก

1) วรรณะพราหมณ มีหนาที่ติดตอกับเทพเจา ส่ังสอนศาสนาและประกอบพิธีกรรมแกประชาชนทุกวรรณะ มี

หนาที่ศึกษา จดจาํและสืบตอคัมภีรพระเวท ถูกสรางขึ้นจาก พระโอษฐ (ปาก) สีประจําวรรณะคือ สีขาว

2) วรรณะกษตัริย ไดแก พวกนักรบ ทําหนาที่ปองกันชาติบานเมืองและทําศึกสงคราม ถูกสรางขึ้นจาก

พระพาหา (แขน) สีประจําวรรณะคือ สีแดง

3) วรรณะแพศย เปนวรรณะของคนสวนใหญในสังคมไดแก ผูประกอบพาณิชยกรรม เกษตรกรรม ถูกสรางขึ้น

จากพระโสณี (ตะโพก) สีประจําวรรณะคือ สีเหลือง หรือสีสม

4) วรรณะศูทร เปนวรรณะของพวกกรรมกรผูใชแรงงาน ถูกสรางขึ้นจากพระบาท ไมมีสีประจําวรรณะ

Page 11: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

 

6

27. หลักอาศรม 4 เปนวิถกีารดําเนนิชีวิตของชาวฮินดู ไดแก

1) พรหมจาร ีเปนการประพฤตตินเปนพรมจารีของเดก็ที่อยูในวัยศึกษาเลาเรียน จะตองใชเวลา 12 ป ใน

การศึกษาจนจบหลักสูตร ภายหลังจึงจะแตงงานได

2) คฤหัสถ เปนการครองเรือน คือ การแตงงาน ขอปฏิบัตคิือ การบูชาเทวดาเชา ค่ํา ปฏิบัติตามหลักผูครอง

เรือน

3) วานปรัสถ หลังจากมีลูกหลาน กลายเปนผูเฒา กใ็หบําเพ็ญเพียรในที่สงบ เพื่อบรรลุธรรมขั้นสูง

4) สันยาสี ใหสละทางโลกแลวออกไปอยูในปา คือเปนนักบวชที่ออกจาริกไปยงัสถานที่ศกัดิ์สิทธิ ์

28. หลักปุรุษรถะ หรือประโยชน 4 คอื จุดมุงหมายสูงสุดของชีวติ 4 ประการ

1) อรรถ คือ การแสวงหาทรัพย สรางฐานะทางเศรษฐกจิ –คฤหัสถ

2) กาม คือ การหาความสุขทางโลกในกรอบของธรรม –คฤหัสถ

3) ธรรม คือ การดาํเนินชวีิตตามหลักศีลธรรม –วนปรัสถ

4) โมกษะ คือ เปาหมายสูงสุดของชวีิต ซึง่ก็คือความหลุดพนจากสังสารวัฏ –สันยาสี

29. สัญลักษณของศาสนาพราหมณ-ฮินดู คือ อักษรเทวนาครี อานวา “โอม” ซึ่งยอมาจากอักษร อ อุ และ ม หมายถงึ

เทพยิ่งใหญ ท้ังสาม อักษร “อ” แทนพระวิษณ ุอักษร “อุ” แทนพระศิวะ และอักษร “ม” แทนพระพรหม สัญลักษณ

ดังกลาวนี้บางครัง้เรียกวา “สวัสติหรือสวัสติกะ”

30. หลักธรรม 10 ประการในพระธรรมศาสตร ประกอบดวย

1) ธฤติ (ความมั่นคง ความกลา ความพากเพยีร)

2) กษมา (ความอดทน อดกล้ัน เมตตากรุณา)

3) ทมะ (การรูจักขมใจ มีสติ)

4) อัสเตยะ (ไมลักขโมย)

5) เศาจะ (การทําตนใหบริสุทธิ์ท้ังรางกายและจิตใจ)

6) อินทรียนิครหะ (การระงับอินทรียท้ัง 10 คือ ตา หู จมูก ล้ิน ผิวหนัง มือ เทา ทวารหนัก ทวารเบา ลําคอ)

7) ธี (การมีปญญา)

8) วิทยา (ความรูทางปรัชญา)

9) สัตยะ (การแสดงความซื่อสัตย)

10) อโกธะ (ความไมโกรธ)

Page 12: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

 

7

31. นิกายสําคัญ เกดิจากการนับถือพระเจาตางกัน ไดแก

1) นิกายไศวะ - เปนนิกายที่นับถือบูชาและจงรักภักดตีอพระศวิะหรือพระอิศวร

2) นิกายไวษณพ - เปนนิกายที่นับถอืบูชาและจงรักภักดตีอพระวษิณ ุหรือ พระนารายณ มีความเชื่อในเรื่อง

นารายอวตาร มาชวยเหลือโลกและสรางประโยชนแกมนุษย ถึง 10 ปาง คือ มตัสยะ (ปลา) กูรมะ (เตา)

วราหะ (หมูปา) นรสิงหะ (คร่ึงคนครึ่งสิงห) วามนะ (คนแคระ) ปรศรุามะ (รามถือขวาน) ราม (พระรามในรา

มายณะ) กฤษณะ (พระกฤษณะ) พุทธะ (พระพุทธเจา) กัลกี (มาขาว)

3) นิกายศักต ิ- ลัทธิบูชาเทวีของเทพเจาทัง้ 3 องค คือ วดเีทว ีหรือพระสุรัสวดี ชายาของพระพรหม พระอุมา

ชายาของพระศิวะ และพระลักษมี ชายาของพระนารายณ รวมถึง พระแมธรณี พระแมคงคา พระแมโภสพ 32. ทรรศนะทั้งหก

- เปนลัทธิท่ีสนับสนุนความศักดิสิ์ทธิ์ของคัมภีรพระเวท ไดแก

1) สางขยะ เจาของลัทธิคือ กปละ หรือ กบิล

2) โยคะ เจาของลัทธิคือ ปตัญชลี หรือ ปตัญชลี

3) นยายะ เจาของลัทธิคือ เคาตมะ หรือ โคตมะ

4) ไวเศษกิะ เจาของลัทธิคือ กณาทะ

5) มิมางสา (ปูรวมีมางสา) เจาของลัทธิคือ ไชมินิ

6) เวทานตะ (อุตตรมีมางสา) เจาของลัทธิคือ พาทรายณะ หรือ วยาสะ

- **เปนปรัชญาท่ีเกิดจากคัมภีรอุปนิษัท มีจุดมุงหมายคือ โมกษธรรม** แยกจดุเดนไดเปน 3 คู

1) สางขยะ และโยคะ - จุดเดนคอื การอางตัวเลข ไมพยายามพิสูจนเร่ืองพระเจา เชื่อเร่ืองการเวียนวายตาย

เกิด และการทําจิตใจใหบริสุทธิ ์

2) นยายะ และไวเศษกิะ - จุดเดนคือ การคนหาความจริงดวยเหตุผลเพื่อบรรลุโมกษะ

3) มีมางสาและเวทานตะ - จุดเดนคือ ถือความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีรพระเวท เนนการประกอบพิธีกรรม บูชา

ยัญและเชื่อวาทกุส่ิงทุกอยางเกดิจากพรหม

33. บุคคลสําคัญที่ควรรูจักในศาสนาพราหมณ-ฮินดู มีดงันี้ 1) วยาสะ ทานผูน้ีตามตํานานในคมัภีรวิษณุปราณะ เลม 3 กลาวไววาเปนผูรวบรวมเรียบเรียงคมัภีรพระเวท

คัมภีรอิติหาสะ และคัมภีรอุปราณะ อน่ึงผูแตงมหากาพย มหาภารตะ ก็ใชชื่อวยาสะดวย จงึเปนอันรวม

ความไดอยางหนึง่วา ทานวยาสะผูเปนฤษ ีคนสําคัญมีสวนแตงหรือรวบรวมเรยีบเรียงคัมภีรของศาสนาฮินดู

ไวมากที่สุด ทานผูน้ีอยางตาํนานกลาววามิใชฤษธีรรมดา แตเปนเทพฤษี (Divine sage)

Page 13: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

 

8

2) วาลมีก ิเปนชื่อของพระฤๅษีผูแตงมหากาพยรามายณะ สันนิษฐานวาประมาณปลายศตวรรษที่ 4 และตน

ศตวรรษที่ 3 กอน ค.ศ. 34. พิธีกรรม

1) พิธีประจําบาน หรือ พิธีสังสการ พิธีน้ีจําทําใหเฉพาะวรรณะกษตัริย วรรณะพราหมณ แบะวรรณะแพศย ซึ่ง

กําหนดไวใหมี 12 ประการ

- ปจจุบันเหลือเพียง 4 พิธี คือ นามกรณ – ตั้งชื่อเดก็ (12-14 วัน)

อันนปราศัน – ปอนขาวเด็ก (5-6 เดือน)

อุปนยัน – เขารับการศึกษา

วิวาหะ – แตงงาน

2) พิธีศราทธิ ์(ทําบุญใหผูลวงลับไปแลว) เปนพิธีสังเวยวิญญาณบรรพบุรุษดวยขาวบิณฑ (กอนขาวสุก) เพื่อให

ผูตายไมตองเปนเปรตเรรอน เมื่อไดรับขาวแลวจะ ไดไปสูสุคติอยูรวมกับวิญญาณบรรพบุรุษ

35. พระพุทธศาสนา เปนศาสนาที่เกิดในชมพูทวีปกอน พ.ศ.45 ป (พุทธศักราชเร่ิม ตั้งแตปท่ีพระพุทธเจา เสด็จสู

ปรินิพานไปหนึ่งป) ผูใหกาํเนิดพระพุทธศาสนา (ศาสดา) คือ พระพุทธเจา หรือพระสิทธัตถะพุทธโคดม

36. พระพุทธเจา เปนโอรสของ พระเจาสุทโธทนะ และพระนางสิริมหามายา แหงกรุงกบิลพัสดุ แควนสักกะ ซึ่งเวลานี้

อยูในเขตประเทศเนปาล ในสมยัที่พระองคยงัไมไดออกบวช มีพระนามวาสิทธัตถะในขณะทีย่ัง ทรงพระเยาวอยูก็

ทรงศึกษาศิลปวิทยาการ ในสํานกัตาง ๆ หลายสํานัก จนเปนผูมีความรู ความชาํนาญในวชิาการตาง ๆ หลาย

สาขา

37. เมื่อพระสิทธัตถะมีพระชนมได 16 พรรษา ก็ทรงอภิเษกสมรสกับเจาหญิงยโสธราและมีโอรสองคหนึ่ง คือ เจาชาย

ราหุล ชีวิตในฆราวาสวิสัยของพระองคมีแตความสมหวงั ไปทุกส่ิงทุกอยาง

38. เมื่อมีพระชนมายุได 29 พรรษากท็รงเบื่อหนายโลก เพราะทรงเห็นความไมเที่ยงแทแนนอน ของโลกและ ทรงหวัง

จะชวยชาวโลกใหพนทุกข จงึไดทรงสละความสุขนานาประการ สละ ลูกเมยี ญาติ พ่ีนอง และมิตร สหายออก

บวช เพื่อหาทางที่จะนาํไปสูความพน ทุกข

39. ทรงผนวชอยูจนกระทั่งมีพระชนม ได 35 พรรษา จึงไดตรัสรูคือรูแจงในความจริงแหงโลก เปนพระสัมมาสัมพุทธ

เจา

40. เมื่อตรัสรูแลว พระองคก็เสด็จเทีย่วแนะนาํส่ังสอนประชาชนในแควนตาง ๆ ในอินเดียเพื่อ หาทางที่จะนํา

ประชาชนไปสู ความ พนทุกขอยูเปนเวลาถงึ 45 ป จนกระทั่งมีพระชนมายุได 80 พรรษา จึงปรินิพพาน

3. พระพทุธศาสนา

Page 14: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

 

9

41. การตรัสรูของพระพุทธเจา มีขัน้ตอน 4 ขั้น ดังนี ้

1) ทรงฝกปฏิบัติโยคะ (อาฬารดาบส, อุทกดาบส)

2) ทรงบําเพ็ญตบะ – เปนการทรมานตนเองใหลําบาก เชน เปลือยกายตากลมฝน กินโคมยั (มูลโค) ยืนเขยง

เทา นอนบนหนาม

3) ทรงบําเพ็ญทกุรกิริยา (การกระทาํที่ทําไดยากยิ่ง) – ขั้นที่ 1 กัดฟน ขั้นที่ 2 กล้ันลมหายใจ ขั้นที่ 3 อดอาหาร

4) ทรงบําเพ็ญเพียรทางจติ – ใชการเดินทางสายกลาง “มัชฌิมาปฏิปทา”

42. ส่ิงที่พระพุทธเจาตรัสรูคือ กระบวนการเกดิขึ้นและการดับทุกข ซึ่งเรียกวา อริยสัจ ขั้นสูงคือ ปฏิจจสมุปบาท

43. บุคคลกลุมแรกที่พระพุทธเจาเสดจ็ไปเทศนโปรดคือ ปญจวคัคีย มีปฐมเทศนา ชื่อ ธัมมจกักัปปวตัตนสตูร

กลาวถงึ 4 ตอนสําคัญคือ

1) สุดโตง

2) ทางสายกลาง (มรรค)

3) อริยสัจ 4 (ความจริงอันประเสริฐ)

4) ผลหลังจากการแสดงธรรมคือ โกณฑัญญะดวงตาเห็นธรรม (เกิดจักษุธรรม = บรรลุโสดาบัน)

44. ตอมาปญจวคัคียไดฟง อนัตตลกัขณสตูร (พระสูตรวาดวยอนัตตา-ขันธ 5) จึงบรรลุเปนพระอรหนัต

45. พระปจฉิมโอวาทคอื อัปปมาทะ ไดเนนถึงการทํากจิของตนและเพื่อผูอ่ืนดวยความไมประมาท เพราะสังขาร

มีความเสื่อมเปนธรรมดา

1) “เธอทั้งหลายพึงยงัประโยชนตนและประโยชนทานใหถึงพรอมดวยความไมประมาทเถดิ”

2) เนนเร่ือง “ความไมประมาท”

46. การแตกนิกาย หลังจากที่พระพทุธเจาปรินิพพานแลวประมาณ 100 ป พระพุทธศาสนากเ็ร่ิมมกีารแตกแยกใน

ดานความคิดเห็น เกี่ยวกับการปฏิบัติตาม พระธรรมวินัย สมยัพระเจาอโศกมหาราชก็แตกแยกกันออกเปนนิกาย

ใหญๆ 2 นิกาย คือ อาจาริยวาท (มหายาน) และเถรวาท (หีนยาน)

47. นิกายมหายาน แปลวา "ยานใหญ" เปนลัทธิของภิกษุฝายเหนือของอินเดยี ซึ่งมีจดุมุงหมายที่จะเผยแผ

พระพุทธศาสนาใหมหาชน เล่ือมใสเสียกอนแลวจึงสอนให ระงับดบักิเลส ท้ังยังไดแกไขคําสอนใน

พระพุทธศาสนาใหผันแปร ไปตามลําดับ ลัทธิน้ีได เขาไปเจริญรุงเรืองอยูใน ทิเบต จีน เกาหลี ญ่ีปุน และ

เวียดนาม เปนตน

48. นิกายหีนยาน คําวา "หีนยาน" เปนคําที่ฝายมหายานตัง้ให แปลวา "ยานอันคับแคบ" เปนลัทธขิองภิกษุฝายใต ท่ี

สอนใหพระสงฆปฏิบัติเพื่อดับกิเลส ของตนเองกอน และหามเปล่ียนแปลงแกไขพระวินัยอยางเด็ดขาด นิกายนี้มี

ผูนับถือมากในประเทศ ศรีลังกา ไทย พมา ลาว และกมัพูชา

Page 15: คํานํา...8. สถาบันการเง ินและการธนาคาร 55 9. การคลังและการบร ิหารเศรษฐก

..

www.theactkk.net

The Act. . 043-257-617

3

5

500 60

60+25 = 85

1,500 5 %

“ ”

“ ”

“ ”