Top Banner
ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม - มีนาคม ๒๕๕๕ ข่าวสารเพื ่อการพัฒนาคุณภาพบริการ การศึกษา วิจัยและวิชาการ เมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๕ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชูติกุล ผู้อ�านวยการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องค์การมหาชน) ร่วมกับ ศ.นพ.สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ ประธานราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ แห่งประเทศไทย นพ.พรเทพ เปรมโยธิน ผู้อ�านวยการราชวิทยาลัย ศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย และศ.นพ. ศุภกร โรจนนินทร์ ราชวิทยาลัย ศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย ลงนามในปฏิญญาว่าด้วย “การรณรงค์ให้ ผู้ป่วยมีความปลอดภัยเมื่อมาตรวจรักษาในห้องผ่าตัด” ณ งานประชุม วิชาการการพัฒนาและรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ครั้งที่ ๑๓ ภายใต้แนวคิดเรื่อง “เรียนรู้บูรณาการ งานกับชีวิต” ที่จัดขึ้นระหว่าง วันที่ ๑๓ -๑๖ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ อาคาร Impact เมืองทองธานี ส�าหรับปฏิญญาว่าด้วย “ การรณรงค์ให้ผู้ป่วยมีความ ปลอดภัยเมื่อมาตรวจรักษาในห้องผ่าตัด” นั้นจะมีรายละเอียดในการ เพิ่มการตรวจสอบผู้ป่วยที่จะรับการรักษาด้วยการผ่าตัด ได้แก่ ๑ ตรวจเช็คว่ามีการผ่าตัด ถูกคน ถูกข้าง ถูกต�าแหน่งหรืถูกระดับในกรณี ที่เป็นการผ่าตัดกระดูกหรือไม่ ๒ ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากการใช้ ยาระงับความรู้สึก ก็ต้องตรวจเช็คว่ามีการแพ้ยาหรือไม่ หรือยาออก ฤทธิ์แล้วหรือไม่ 3 เตรียมความพร้อมส�าหรับภาวะฉุกเฉิน ในระบบทาง เดินหายใจ ต้องมีอุปกรณ์ช่วยชีวิต อยู่ใกล้มือแพทย์ด้วย ๔ เตรียมเลือด ให้พร้อมหากผู ้ป่วยเสียเลือดมาก ๕ หลีกเลี่ยงการแพ้ยา ๖ ลดการติดเชื้อ ต้องที่แผลผ่าตัด ๗ ป้องกันวัสดุแปลกปลอม เครื่องมือ หรือผ้าเช็ดเลือด ค้างในบริเวณที่ผ่าตัด ๘ ต้องตรวจเช็คบริเวณที่จะผ่าตัดอีกครั้ง เพื่อให้ มั่นใจว่าถูกต้อง เช่น ตัดเนื้อเยื่อไปตรวจสอบ ๙ ต้องมีการทบทวน การรักษาผู้ป่วยในภาวะวิกฤตเป็นรายกรณี ระหว่างแพทย์และทีม ศัลยแพทย์เพื่อถ่ายทอดข้อมูลระหว่างกันและ ๑๐ ทีมผ่าตัดต้องมี การประสานงานระหว่างกันในการดูแลผู ้ป่วยทุกกระบวนการ อย่างเป็น ระบบ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องค์การมหาชน) โทร ๐๒ ๘๓๒ ๙๔๑๓ book �������.indd 1 7/6/2555 16:10:48
8

ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม ... · 2015-11-30 · ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม - มีนาคม

Jul 04, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม ... · 2015-11-30 · ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม - มีนาคม

ปีที ่๘ ฉบบัที ่๑ (๓๐) มกราคม - มีนาคม ๒๕๕๕ข่าวสารเพือ่การพฒันาคณุภาพบริการ การศึกษา วิจยัและวิชาการ

เมื่อวันที่ ๑๔มีนาคม๒๕๕๕นพ.อนุวัฒน์ ศุภชูติกุล ผู้อ�านวยการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องค์การมหาชน)ร่วมกับศ.นพ.สุทธิพรจิตต์มิตรภาพประธานราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทยนพ.พรเทพ เปรมโยธิน ผู้อ�านวยการราชวิทยาลัยศลัยแพทย์แห่งประเทศไทยและศ.นพ.ศภุกรโรจนนินทร์ราชวทิยาลยัศัลยแพทย์แห่งประเทศไทยลงนามในปฏิญญาว่าด้วย“การรณรงค์ให้ ผู้ป่วยมีความปลอดภัยเมื่อมาตรวจรักษาในห้องผ่าตัด”ณงานประชุมวิชาการการพัฒนาและรับรองคุณภาพสถานพยาบาลครั้งที่ ๑๓ ภายใต้แนวคิดเรื่อง “เรียนรู้บูรณาการ งานกับชีวิต”ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่๑๓-๑๖มีนาคม๒๕๕๕ณอาคารImpactเมืองทองธานี

ส�าหรับปฏิญญาว่าด้วย “ การรณรงค์ให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยเมื่อมาตรวจรักษาในห้องผ่าตัด” นั้นจะมีรายละเอียดในการเพิ่มการตรวจสอบผู้ป่วยที่จะรับการรักษาด้วยการผ่าตัด ได้แก่ ๑ ตรวจเช็คว่ามีการผ่าตัดถูกคนถูกข้างถูกต�าแหน่งหรืถูกระดับในกรณีที่เป็นการผ่าตัดกระดูกหรือไม่๒ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากการใช้ยาระงับความรู้สึก ก็ต้องตรวจเช็คว่ามีการแพ้ยาหรือไม่ หรือยาออกฤทธิ์แล้วหรือไม่3เตรียมความพร้อมส�าหรับภาวะฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจต้องมีอุปกรณ์ช่วยชีวิตอยู่ใกล้มือแพทย์ด้วย๔เตรียมเลือดให้พร้อมหากผูป่้วยเสยีเลอืดมาก๕หลกีเลีย่งการแพ้ยา๖ลดการตดิเช้ือ ต้องทีแ่ผลผ่าตดั๗ป้องกนัวสัดแุปลกปลอมเครือ่งมอืหรอืผ้าเชด็เลอืดค้างในบริเวณที่ผ่าตัด๘ต้องตรวจเช็คบริเวณที่จะผ่าตัดอีกครั้งเพื่อให้มั่นใจว่าถูกต้อง เช่น ตัดเนื้อเยื่อไปตรวจสอบ๙ ต้องมีการทบทวน การรักษาผู้ป่วยในภาวะวิกฤตเป็นรายกรณี ระหว่างแพทย์และทีมศัลยแพทย์เพื่อถ่ายทอดข้อมูลระหว่างกันและ๑๐ทีมผ่าตัดต้องมี การประสานงานระหว่างกนัในการดแูลผูป่้วยทกุกระบวนการอย่างเป็นระบบ

ฝ่ายประชาสัมพันธ์สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องค์การมหาชน)

โทร๐๒๘๓๒๙๔๑๓

book �������.indd 1 7/6/2555 16:10:48

Page 2: ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม ... · 2015-11-30 · ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม - มีนาคม

มหกรรมคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๔ “QA Ready”

ฝ่ายพัฒนาและประกันคุณภาพ

ในกระบวนการด�าเนินการประกันคุณภาพการศึกษานอกจาก

จะมกีารตรวจประเมนิคณุภาพการศกึษาภายในระดบัภาควิชาและระดบั

คณะฯเป็นประจ�าทุกปีแล้วจ�าเป็นต้องมีการติดตามการพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาซึ่งเกิดจากผลการประเมินโดยน�าข้อสังเกตและโอกาสในการ

พัฒนา ซึ่งผู้ประเมินได้รายงานไว้ น�ามาพิจารณาก�าหนดแนวทางและ

วธิกีารปฏบิตัิแล้วจงึน�ามาสูก่ารปฏบิตัจิรงิในภาควชิาเพือ่ให้เกิดกระบวนการ

พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ครบขั้นตอนของวงจรการพัฒนาคุณภาพ

ด้วยหลักการและเหตุผลดังกล่าวข้างต้น คณะฯ จึงได้จัดท�า

โครงการมหกรรมคุณภาพการศึกษาภายใต้แนวคิดรวบยอดว่า “QA

Ready” ซึ่งหมายถึง ความพร้อมในเรื่องคุณภาพการศึกษาของคณะฯ

เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องในคณะฯได้รับทราบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ

ภาควิชาต่างๆ อย่างต่อเนื่องและทั่วถึง ตลอดจนเป็นการแบ่งปันความรู้

และประสบการณ์ระหว่างภาควิชาท�าให้การจัดการศึกษาของคณะ

แพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร มีมาตรฐาน

และเป็นที่ยอมรับของสาธารณชน

ในการจดัQAReadyครัง้นี้เมือ่วนัที่๙-๑๐กุมภาพันธ์๒๕๕๕

เวลา๑๓.๐๐-๑๖.๐๐น.ณห้องเรยีน๑-๒ชัน้๖อาคารเพชรรัตน์คณะฯ

ได้มีเครือข่ายภายในคือคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์มหาวิทยาลัย

กรุงเทพมหานคร และเครือข่ายจากภายนอกคือ คณะแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒส่งอาจารย์เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดย

รูปแบบการน�าเสนอสิ่งที่ภาคภูมิใจหรือการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการ

คุณภาพ

ร้อยละ๙๐ภาควชิามโีอกาสพฒันาในองคป์ระกอบที่๒

เรื่องการผลิตบัณฑิต และองค์ประกอบที่ ๕ เรื่องการบริการ

ทางวิชาการแก่สังคมโดยเฉพาะในเรื่องการบูรณาการการบริการทาง

วิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน และการวิจัย สิ่งที่องค์กรต้อง

สนับสนุน คือ การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ระบบฐานข้อมูล

ภาควิชา และหน่วยสนับสนุนการศึกษาควรมีโอกาสแสดงผล

การพัฒนาด้วยเช่นเดียวกัน

สิ่งที่ได้เรียนรู้

book �������.indd 2 7/6/2555 16:10:49

Page 3: ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม ... · 2015-11-30 · ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม - มีนาคม

คณะแพทยศาสตร์วชริพยาบาลมหาวทิยาลยักรงุเทพ-มหานครในฐานะสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในก�ากับของกรุงเทพมหานคร ได้ตระหนักถึงความส�าคัญของการ ด�าเนินการประกันคุณภาพการศึกษา จึงได้ด�าเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปีการศึกษาเพื่อให้เป็นไปตามข้อก�าหนดตามพ.ร.บ. การศกึษาแห่งชาติเรือ่งการจดัการศกึษาให้มมีาตรฐานและเป็นที่ยอมรับของสาธารณชน

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอุดมศึกษา ระดับภาควิชา ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ที่มีผลการด�าเนินงาน ระดับดีมาก (มากกว่า ๔.๕๑) จ�านวน ๓ ภาควิชา ได้แก่

ฝ่ายพัฒนาและประกันคุณภาพ

ซึง่ในปีพ.ศ.๒๕๕๕คณะฯจงึได้ก�าหนดให้มกีารตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับภาควิชา ปีการศึกษา๒๕๕๔ระหว่างวันที่๑๒มีนาคมถึง๓เมษายน๒๕๕๕โดยได้รบัความอนเุคราะห์จากผูท้รงคณุวฒุทิีม่คีวามรูค้วามสามารถและประสบการณ์ด้านการประกันคุณภาพทั้งจากภายนอก และภายใน เพื่อให้ภาควิชาได้มีโอกาสพัฒนา น�าข้อเสนอแนะ มาพัฒนาระบบการเรียนการสอน

สิง่ทีไ่ด้เรยีนรูจ้ากการตรวจประเมนิคณุภาพการศกึษาภายในระดับภาควิชา พบว่า ภาควิชาควรมีการวางแผน และตดิตามผลของการด�าเนนิงานและน�าผลการประเมนิเป็นส่วนหนึง่ของการประเมินผลของภาควิชา เพื่อให้มีการพัฒนาปรับ

ภาควิชาจักษุวิทยา ภาควิชาพยาธิวิทยาคลินิก ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน

กระบวนการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องและนอกจากอาจารย์แพทย์แล้วยังจ�าเป็นต้องมีบุคลากรสายสนับสนุนที่มีคุณภาพ เพือ่ช่วยในด้านเทคนคิและตดิตามประเมนิผลการเรยีนการสอน

ภาพบรรยากาศวันตรวจประเมินภาควิชาต่างๆ

book �������.indd 3 7/6/2555 16:10:49

Page 4: ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม ... · 2015-11-30 · ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม - มีนาคม

หน่วยวิชาการเภสัชกรรมภาควิชาเภสัชกรรม

ภาควชิาเภสชักรรมได้จดังานประชมุวชิาการในหวัข้อเรือ่งปฏกิริยิาระหว่างยา(Druginteraction)เมือ่วนัท่ี๒พฤษภาคม

๒๕๕๕ณห้องประชุม ชั้น ๖ อาคารเพชรรัตน์ จ�านวนผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ๒๐๐ท่าน ทั้งนี้มีหัวข้อที่น่าสนใจเพื่อเป็น

ความรู้ส�าหรับผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วมดังนี้

๑. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างยากับยา (Drug - Drug interaction)

บรรยายโดยอาจารย์ เภสัชกร ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาในการบรรยาย

ครั้งนี้ได้กล่าวถึงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างยากับยาแบ่งได้เป็น๒ประเภทคือ

a. ปฏกิริยิาระหว่างยาทีเ่กดิขึน้ภายนอกร่างกาย(Invitro)เป็นปฏกิริยิาทีเ่กีย่วข้องกบัยาทีไ่ด้รบัร่วมกับยาอืน่หรอื

การผสมยาในสารละลายที่ส่งผลต่อความคงสภาพของยาทางกายภาพเช่นamphotericinBต้องผสมในสารละลายที่เป็นD๕W

เท่านั้นโดยหากผสมกับnormalsalineจะส่งผลให้ความคงตัวของตัวยาลดลงและพบตะกอนสีเหลืองของตัวยาภายใน๒ชั่วโมง

หลังจากผสมยาเป็นต้น

b. ปฎิกิริยาระหว่างยาที่เกิดขึ้นภายในร่างกาย(Invivo)แบ่งได้เป็น๒ประเภทคือ

i. เภสัชพลศาสตร์ (pharmacodynamic) เป็นปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับกลไกการออกฤทธิ์ของยา หากยาที่

ผู้ป่วยได้รับร่วมกันออกฤทธิ์ในการรักษาคล้ายกัน ก็จะมีผลเสริมฤทธิ์กัน แต่หากออกฤทธิ์ในการรักษา

ต้านกันผลจะกลายเป็นต้านฤทธิ์กันเช่นการใช้ยาmorphineร่วมกับยาtramadolเนื่องจากยาทั้ง๒ตัว

เป็นยาในกลุ่ม opioid (อนุพันธ์ฝิ่น) และออกฤทธิ์ในการรักษาที่ต�าแหน่งเดียวกัน คือ µ receptor

แต่เนื่องจากtramadol เป็นยาในกลุ่มweakopioidที่ออกฤทธิ์ค่อนข้างอ่อนและmorphine เป็นยา

ในกลุ่ม strong opioidที่ออกฤทธิ์ค่อนข้างแรง ดังนั้นเมื่อให้ร่วมกันจะมีผลท�าให้morphine จับกับ

µreceptorได้ลดลงการออกฤทธิ์ในการระงับความปวดของยาก็จะลดลงเป็นต้นนอกจากนี้ยังมีคู่ตัวอย่าง

อื่นๆอีกมากมาย

ii. เภสัชจลนศาสตร์ (pharmacokinetic) เป็นปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการตั้งแต่การดูดซึมยา

การกระจายตวัของยาการเปลีย่นแปลงโครงสรา้งยาและการก�าจัดยาออกจากร่างกายหากไดร้ับยาร่วมกัน

ไม่ว่าจะเป็นในกระบวนการใดก็ตามอาจส่งผลให้ระดับยาในกระแสเลือดเพิ่มขึ้นจนก่อให้เกิดอันตรายหรือ

ระดับยาในกระแสเลือดลดลงจนไม่ได้ผลในการรักษาเช่นการใช้sodiumvalproic(Depakin®)ร่วมกับ

ยาฆ่าเชื้อในกลุ่ม carbapenem (imipenem,meropenem, ertapenem, doripenem)พบว่า

ยาฆ่าเชือ้ในกลุม่carbapenemจะมผีลเร่งการเปลีย่นแปลงโครงสร้างของยาsodiumvalproicทีก่ระบวนการ

glucuronidationส่งผลให้ระดับยาsodiumvalproicในกระแสเลือดลดลงจนไม่สามารถคุมอาการชักได้

ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่คนไข้และท�าให้ผู้ดูแลคนไข้คิดว่าใช้ยาไม่ได้ผล

book �������.indd 4 7/6/2555 16:10:50

Page 5: ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม ... · 2015-11-30 · ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม - มีนาคม

๒. ปฏิกิริยาระหว่างยากับสมุนไพร (Drug – herb interaction)

บรรยายโดย รศ.ดร.ภก. สมภพ ประธานธุรารักษ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาในการบรรยาย

ครั้งนี้ ได้กล่าวถึงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างยากับสมุนไพร โดยพบว่าสมุนไพรก็มีผลต่อยาได้ด้วยกลไกที่ไม่แตกต่างจากปฏิกิริยา

ของยากับยา ดังนั้นการใช้สมุนไพร ไม่ได้หมายความว่าจะปลอดภัยเสมอไป แต่ก่อนใช้ต้องศึกษาคุณสมบัติและส่วนประกอบ

ของผลิตภัณฑ์ก่อนว่ามีผลกับยาที่รับประทานหรือไม่ เช่น การใช้แป๊ะก๊วยในผู้ป่วยที่ได้รับยาwarfarin อาจท�าให้ค่า INR ของ

ผู้ป่วยเพิ่มขึ้นส่งผลให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกเพิ่มขึ้นหรือแม้แต่การใช้มะรุมร่วมกับยาwarfarinอาจท�าให้

ระดับยาwarfarin ในเลือดเพิ่มขึ้น เป็นการเพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะเลือดออกได้ ดังนั้นต้องมีการเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่มารับ

การรักษาและใช้ยาสมุนไพรร่วมด้วย

๓. ปฏิกิริยาระหว่างยากับผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (Drug–nutrient interaction)

บรรยายโดยรศ.ดร.ภญ.อรอนงค์กังสดาลอ�าไพคณะเภสัชศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเนื้อหาในการบรรยาย

ครั้งนี้ได้กล่าวถึงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างยากับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเช่นการรับประทานmineraloilร่วมกับวิตามินที่ละลาย

ในไขมัน (vitamin A, D, E, K) ส่งผลให้วิตามินถูกดูดซึมได้ลดลง หรือการรับประทานแคลเซียมร่วมกับยาที่มีธาตุเหล็กเป็น

ส่วนประกอบพบว่ายาทั้ง๒ตัวจะจับกันในทางเดินอาหารท�าให้ยาไม่ถูกดูดซึมจึงควรรับประทานยาห่างกันอย่างน้อย๒ชั่วโมง

จากบทความจะเห็นว่าไม่ว่าจะเป็นยา สมุนไพรหรือ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ล้วนแล้วแต่ส่งผลต่อยาที่ใช้ร่วมกันได้

โดยผลนั้นจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับกลไกการเกิดปฏิกิริยาของยาแต่ละชนิดซึ่งบทความนี้เป็นเพียงเกร็ดความรู้ที่เก็บตกมาฝาก

จากงานประชุมวิชาการของภาควิชาเภสัชกรรมเท่านั้น หากท่านใดต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเพิ่มเติม สามารถสอบถามได้

ที่หน่วยวิชาการเภสัชกรรมภาควิชาเภสัชกรรมค่ะ

book �������.indd 5 7/6/2555 16:10:50

Page 6: ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม ... · 2015-11-30 · ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม - มีนาคม

คุณพรวรินทร์ นุตราวงศ์

ได้รับต�าแหน่งธิดาแรงงานเกียรติยศ๒๕๕๕ เงินรางวัล

๑๐๐,๐๐๐บาทพร้อมโล่เกยีรตยิศจากสมาคมศษิย์เก่าเซนต์คาเบรยีล

ร่วมกับสมาคมช่างภาพนักข่าวแห่งประเทศไทยภายใต้แนวคิด

“คณุค่าเหนอืกว่าความงามValuesBeyondBeauty”เพือ่ยกย่อง

เชิดชูให้รางวัลผู้หญิงที่เสียสละเพื่อสังคม เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม

๒๕๕๕

และคุณพรวรินทร์นุตราวงศ์ ได้มอบเงินรางวัลให้มูลนิธิ

วชิรพยาบาลเพื่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายต่อไป

ได้รับรางวลัศษิย์เก่าดเีด่นทีท่�าคณุประโยชน์ให้กบัสถาบนั

บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์(NIDA)เมื่อวันที่๓เมษายน๒๕๕๕

รบัประกาศเกยีรตบิตัรจากส�านกังานหลกัประกนัสขุภาพ

แห่งชาติ เขต๑๓ เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม๒๕๕๕ เพื่อแสดงว่า

คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล เป็นหน่วยบริการที่มีคุณภาพ

การดูแลรักษาดีเยี่ยมด้านเอชไอวี/เอดส์ ในเขตกรุงเทพมหานคร

ประจ�าปีงบประมาณ๒๕๕๔

book �������.indd 6 7/6/2555 16:10:51

Page 7: ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม ... · 2015-11-30 · ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม - มีนาคม

การท�าวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์มีความส�าคัญ และมี

ความจ�าเป็นอย่างยิ่ง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ทั้งด้าน

การแพทย์ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมทั้งนี้นักวิจัยพึงต้อง

ปฏิบัติตามหลักจริยธรรมพื้นฐานในการวิจัยทางชีวเวชศาสตร์

สังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ มีการคุ้มครองอาสาสมัคร

ในการวิจัยอย่างเหมาะสมโดยปฏิบัตติามหลักเกณฑ์จริยธรรมการ

วิจัยในมนุษย์ที่เป็นสากลและแนวปฏิบัติต่างๆ ที่ได้รับการยอมรับ

อย่างกว้างขวางนอกจากนี้การท�าวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์จ�าเป็น

ต้องขอรบัการรบัรองจรยิธรรมการวจิยัจากคณะกรรมการพจิารณา

จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ โดยคณะกรรมการฯ มีหน้าที่ในการ

ปกป้อง ดูแลพิทักษ์ สิทธิของอาสาสมัครที่เข้าร่วมโครงการวิจัย

ติดตามการวิจัย ให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่เป็นสากลและได้รับ

การยอมรับอย่างกว้างขวางเช่นกัน อย่างไรก็ตามยังพบว่ามีการ

ท�าวิจัยที่ผิดหลักจริยธรรมอยู่เป็นระยะๆในปีค.ศ.๒๐๐๐จึงได้

มีการก่อตั้งหน่วยงานถาวร เพื่อก�ากับดูแลการท�าวิจัยในมนุษย์

(OfficeforHumanResearchProtection:OHRP)ขึน้ในประเทศ

สหรฐัอเมรกิาและในปีค.ศ.๒๐๐๑ได้มีการก่อตัง้TheAssociation

for the Accreditation of Human Research Protection

Program, Inc (AAHRPP) ซึ่งเป็นองค์กรที่ให้การรับรองคุณภาพ

การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในประเทศ

สหรัฐอเมริกาเป็นส่วนใหญ่

ส�าหรับในภูมิภาค Asia-Pacific ระบบประกันคุณภาพ

การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัย

ในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางคือSIDCER (The

Strategic Initiative for Developing Capacity of Ethical

Review)RecognitionProgramที่TDR/WHOร่วมกับFERCAP

(ForumforEthicalReviewCommitteeinAsia-Pacific)พฒันา

ขึ้นเมื่อปี ค.ศ. ๒๐๐๔ซึ่งเป็นโปรแกรมให้การรับรองคุณภาพ

การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัย

ปัจจบุนัในประเทศไทยมคีณะกรรมการพจิารณาจรยิธรรมการวิจัย

ของสถาบันทางการแพทย์ และการศึกษาต่างๆ ที่ได้รับการตรวจ

ประเมินคุณภาพจากSIDCER/FERCAPและได้รับCertificateof

SIDCERRecognitionแล้วจ�านวนทั้งสิ้น๑๑สถาบันในส่วนของ

คณะแพทยศาสตร์วชริพยาบาลได้ขอรบัการตรวจประเมนิคณุภาพ

การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัย

(Vajira Institutional Review Board: VIRB) จาก SIDCER/

FERCAP โดยการตรวจประเมินคุณภาพการปฏิบัติหน้าที่ของ

คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยจะมีขึ้นในระหว่างวันที่

๒๕-๒๘มิถุนายน ค.ศ. ๒๐๑๒นี้ ณ ส�านักงานคณะกรรมการ

พจิารณาจรยิธรรมการวจิัยและหวงัเป็นอยา่งยิง่ว่าคณะกรรมการ

พิจารณาจริยธรรมการวิจัยของคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล

จะเป็นสถาบนัที่๑๒ทีไ่ด้รบัCertificateofSIDCERRecognition

เฉกเช่นเดียวกับสถาบันอื่นๆที่ผ่านมา

บุษบา ศุภวัฒน์ธนบดี

หัวหน้าส�านักงานคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัย

การรับรองคุณภาพการปฏิบัต

ิหน้าที ่

ของคณะกรรมการ

พิจารณาจริยธรรมการวิจัย

ที่มา เอกสารประกอบ โครงการจัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่อง “National Ethics Committee Accreditation System” จัดโดยส�านักงาน

คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.)

book �������.indd 7 7/6/2555 16:10:51

Page 8: ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม ... · 2015-11-30 · ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (๓๐) มกราคม - มีนาคม

ขา่วประชาสมัพนัธ ์คณะแพทยศาสตตรว์ชริพยาบาลก�าหนดจดัประชมุวิชาการประจ�าปี ๒๕๕๕

“๑๐๐ ปี วชริพยาบาลสู่ประชาคมอาเซยีน”

ระหวา่งวนัท่ี ๒๒-๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ณ หอ้งประชมุ ช ัน้ ๖ อาคารเพชรรตัน ์ คณะแพทยศาสตรว์ชริพยาบาล

มหาวิทยาลยักรงุเทพมหานคร

โดยมีหัวข้อที่น่าสนใจ ดังนี้ ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน๒๕๕๘ โดย

รศ.นพ.ก�าจรตติยกวีรองเลขาธิการส�านักการอุดมศึกษา(สกอ.)คณะแพทยศาสตร์ไทยควรผลิตบัณฑิตแพทย์อย่างไร

ให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับประชาคมอาเซียน โดย ศ.คลินิก นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร Social Network โดย

นพ.กัมปนาทตันสิถบุตรกุล การฟ้องร้องแพทย์กับคดีผู้บริโภค โดยนพ.อ�านาจ กสลานันท์ นายกแพทยสภา

สุขภาพคนเมืองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยพญ. มนทิรา ทองสาริ ผู้อ�านวยการส�านักอนามัย สมุนไพรกับ

ASEAN, sHarmonization โดย รศ.ดร.ภญ.สุรัตนา อ�านวยผลภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์

คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานครปีนี้น�้าจะท่วมไหม? โดย ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์

รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีน�าเสนอผลงานวิจัยและLunchSymposium

ผูส้นใจโปรดแจ้งความจ�านงมายังฝ่ายวชิาการคณะแพทยศาสตร์วชริพยาบาลมหาวทิยาลัยกรงุเทพมหานคร

โทรศัพท์๐๒–๖๖๘-๗๐๗๒โทรสาร๐๒-๖๖๘-๗๐๗๓E-mail:[email protected]ค่าลงทะเบียนการ

เข้าร่วมประชุมฯคนละ๑,๒๐๐บาทและศิษย์เก่าวชิรพยาบาลคนละ๖๐๐บาท

“ที่ปรึกษา คณบดี และรองคณบดีบรรณาธิการ นพ.สุรวุฒิ ลีฬหะกรกองบรรณาธิการ นพ.อนุสรณ์ ตานีพันธ์ พญ.สุมนมาลย์

มนัสศิริวิทยาทญ.รัชดาพรอัจฉริยะเพชรคุณสุวลีย์แก้วนิลคุณดุษฎีดวงมณีภญ.สุชาดาธนภัทร์กวินเจ้าหน้าที่ศูนย์พัฒนาคุณภาพ

โรงพยาบาลจัดท�าโดยฝ่ายพัฒนาและประกันคุณภาพคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาลเพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความรู้เกี่ยวกับ

การพัฒนาคุณภาพบริการ การศึกษา วิจัย และวิชาการของวิทยาลัย เจ้าของ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ม.กรุงเทพมหานคร

๖๘๑ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๔๔-๓๕๒๓ โทรสาร๐-๒๒๔๔-๓๕๒๔

e-mail : [email protected]

book �������.indd 8 7/6/2555 16:10:52