Top Banner
1 บทที6 การใหบริการแหลงสารสนเทศทางวิชาการ ปจจุบันแหลงสารสนเทศทางวิชาการไดเปลี่ยนรูปแบบการจัดเก็บไปมากตามพัฒนาการของ เทคโนโลยีสารสนเทศ นอกเหนือจากการจัดเก็บอยูในรูปแบบของรูปเลม (print) แลว มีการจัดเก็บ ในรูปของดิจิทัล (digital form) ที่อยูบนระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งนับวันจะทวีจํานวนและความ นาสนใจมากขึ้น เพื่อใหการใชแหลงสารสนเทศทางวิชาการบนอินเทอรเน็ตไดเกิดประโยชนคุมคามาก ที่สุด ผูคน/ผูใหบริการควรไดรูจักและศึกษาสาระสําคัญและกระบวนการตาง ที่จะเปนประโยชนตอ การเขาถึงและนําสารสนเทศดังกลาวมาใชประโยชนตอไป แหลงสารสนเทศบนอินเทอรเน็ต หมายถึง ที่จัดเก็บสารสนเทศทุกประเภทที่มีการรวบรวม จัดเก็บในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกสที่เครื่องคอมพิวเตอรอานได และมีการเผยแพรอยูบนระบบเครือขาย อินเทอรเน็ต รวมทั้งบริการตาง ที่อยูในระบบอินเทอรเน็ต ไมวาจะเปนไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (electronic mail - e-mail ) กลุมสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นตางๆ เชน Newsgroup, Discussion , Chat เปนตน การจะเขาถึงสารสนเทศทางวิชาการบนอินเทอรเน็ตไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น ผูใช/ผูใหบริการ ควรมีความรูทางดานแหลงวิชาการและวิธีการคน เพื่อจะเปนแนวทางที่จะเขาถึงแหลงสารสนเทศได ขอมูลวิชาการที่จะเปนประโยชนภายในเวลาอันรวดเร็ว ในแตละประเด็นมีสาระสําคัญที่ควรรูจัก ดังนี1. แหลงบริการสารสนเทศทางวิชาการ แหลงบริการสารสนเทศทางวิชาการมีจํานวนมากมาย ที่จัดทําโดยหนวยงาน/บุคคลซึ่งจัดทําขึ้น ดวยวัตถุประสงคแตกตางกัน ในที่นี้จะแนะนําเฉพาะแหลงสารสนเทศที่สําคัญ ไดแก แหลงสารสนเทศทางวิชาการของ มสธ. แหลงสารสนเทศทางวิชาการภายนอก แหลงสารสนเทศทางวิชาการของ มสธ. แหลงสารสนเทศทางวิชาการของ มสธ. เปนแหลงสารสนเทศที่มหาวิทยาลัยจัดทําขึ้นเพื่อ ประโยชนตอผูเขาใชบริการในดานตาง ที่สําคัญที่ควรรูจัก ไดแก http://www.stou.ac.th เปนหนาโฮมเพจของมหาวิทยาลัยที่ใหขอมูลตั้งแตการแนะนํหนวยงาน การอํ านวยความสะดวกใหนักศึกษาในการเรียนการสอนโดยจะแนะนําหลักสูตรการศึกษา การสมัครเปนนักศึกษา ตาราง/กิจกรรมการเรียนการสอนตาง อาทิ การสอนเสริม การสอบ สำนักบรรณสารสนเทศ
9

บทที่ 6 - STOU e-Library1 บทที่ 6 การให ิบรการแหล งสารสนเทศทางวิชาการ ป จจุบันแหล

Aug 02, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: บทที่ 6 - STOU e-Library1 บทที่ 6 การให ิบรการแหล งสารสนเทศทางวิชาการ ป จจุบันแหล

1

บทที่ 6การใหบริการแหลงสารสนเทศทางวิชาการ

ปจจุบันแหลงสารสนเทศทางวิชาการไดเปลี่ยนรูปแบบการจัดเก็บไปมากตามพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกเหนือจากการจัดเก็บอยูในรูปแบบของรูปเลม (print) แลว มีการจัดเก็บในรูปของดิจิทัล (digital form) ที่อยูบนระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งนับวันจะทวีจํ านวนและความนาสนใจมากขึ้น เพื่อใหการใชแหลงสารสนเทศทางวิชาการบนอินเทอรเน็ตไดเกิดประโยชนคุมคามากที่สุด ผูคน/ผูใหบริการควรไดรูจักและศึกษาสาระสํ าคัญและกระบวนการตาง ๆ ที่จะเปนประโยชนตอการเขาถึงและนํ าสารสนเทศดังกลาวมาใชประโยชนตอไป

แหลงสารสนเทศบนอินเทอรเน็ต หมายถึง ที่จัดเก็บสารสนเทศทุกประเภทที่มีการรวบรวมจัดเก็บในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกสที่เครื่องคอมพิวเตอรอานได และมีการเผยแพรอยูบนระบบเครือขายอินเทอรเน็ต รวมทั้งบริการตาง ๆ ที่อยูในระบบอินเทอรเน็ต ไมวาจะเปนไปรษณยีอิเล็กทรอนิกส(electronic mail - e-mail ) กลุมสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นตางๆ เชน Newsgroup,Discussion , Chat เปนตน

การจะเขาถึงสารสนเทศทางวิชาการบนอินเทอรเน็ตไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น ผูใช/ผูใหบริการควรมีความรูทางดานแหลงวิชาการและวิธีการคน เพื่อจะเปนแนวทางที่จะเขาถึงแหลงสารสนเทศได ขอมูลวิชาการที่จะเปนประโยชนภายในเวลาอันรวดเร็ว ในแตละประเด็นมีสาระสํ าคัญที่ควรรูจัก ดังนี้

1. แหลงบริการสารสนเทศทางวิชาการแหลงบริการสารสนเทศทางวิชาการมีจํ านวนมากมาย ที่จัดทํ าโดยหนวยงาน/บุคคลซึ่งจัดทํ าขึ้น

ดวยวัตถุประสงคแตกตางกัน ในที่นี้จะแนะนํ าเฉพาะแหลงสารสนเทศที่สํ าคัญ ไดแก• แหลงสารสนเทศทางวิชาการของ มสธ.• แหลงสารสนเทศทางวิชาการภายนอก

แหลงสารสนเทศทางวิชาการของ มสธ. แหลงสารสนเทศทางวิชาการของ มสธ. เปนแหลงสารสนเทศที่มหาวิทยาลัยจัดทํ าขึ้นเพื่อ

ประโยชนตอผูเขาใชบริการในดานตาง ๆ ที่สํ าคัญที่ควรรูจัก ไดแกhttp://www.stou.ac.th เปนหนาโฮมเพจของมหาวิทยาลัยที่ใหขอมูลต้ังแตการแนะนํ า

หนวยงาน การอํ านวยความสะดวกใหนักศึกษาในการเรียนการสอนโดยจะแนะนํ าหลักสูตรการศึกษาการสมัครเปนนักศึกษา ตาราง/กิจกรรมการเรียนการสอนตาง ๆ อาทิ การสอนเสริม การสอบ

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 2: บทที่ 6 - STOU e-Library1 บทที่ 6 การให ิบรการแหล งสารสนเทศทางวิชาการ ป จจุบันแหล

2

การออกอากาศรายการวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษา ฯลฯ นอกจากนี้ มีการจัดทํ าหลักสูตรการสอนบางวิชาทางระบบเครือขายอินเทอรเน็ตในลักษณะเปน E-Learning และ Video on demandเปนตน

http://library.stou.ac.th เปนหนาโฮมเพจของสํ านักบรรณสารสนเทศ ซึ่งทํ าหนาที่เปนหองสมุดกลางของมหาวิทยาลัย จะเปนแหลงสารสนเทศที่เปนประโยชนตอการคนหาสารสนเทศ ผูใชจะทราบขอมูลเกี่ยวกับรายการสื่อการศึกษา และฐานขอมูลประเภทตางที่ใหบริการในหองสมุด รวมท้ังขอมูลเพิ่มเติม เชน ประวัติความเปนมา ระบบบริการหองสมุด มุม มสธ. ระเบียบ/ประกาศ เวลาเปด/ปดทํ าการหองสมุด นอกจากนี้ยังสามารถไปดูแหลงสารสนเทศของหนวยงานอื่น ๆ ซึ่งไดเชื่อมโยง (link) ไปยังหนวยงานตาง ๆ ใหดวย

ในกรณีที่ตองการทราบรายชื่อสื่อการศึกษาภายในหองสมุด ใหเลือกดูจากทางเลือกโอแพกOPAC

http://www.stou.ac.th/Thai/Offices/Oad/ เปนหนาโฮมเพจของสํ านักวิทยพัฒนา ซึ่งทํ าหนาที่เปนเครือขายภายนอกระดับภูมิภาคของมหาวิทยาลัย จะเปนแหลงสารสนเทศที่เปนประโยชนตอการเรียนการสอน โดยจะใหรายละเอียดเกี่ยวกับการแนะนํ าสํ านักวิทยพัฒนา การรับสมัครนักศึกษากิจกรรมชมรมนักศึกษา หองสมุดของ มสธ. ทั้งนี้มีทางเลือก “ศูนยวิทยพัฒนา10 แหง” เมื่อคลิกเขาไปจะไดขอมูลรายละเอียดขอบขายหนาที่ความรับผิดชอบ โครงสรางการบริหารงาน ศูนยวิทยพัฒนา 10แหง ซึ่งแตละศูนยจะใหขอมูลที่อยู การติดตอ รวมท้ังการการเชื่อมโยงไปยังหนาเว็บไซตของศูนยนั้น ๆ http://www.thai.net/stou_sk/ เปนหนาโฮมเพจของศูนยวิทยพัฒนา สุโขทัย จะใหรายละเอียดเกี่ยวกับการแนะนํ า การบริหารงาน บุคลากร ของศูนย การรับสมัคร นักศึกษาใหมประจํ าภาคการศึกษาตาง ๆ (นอกสถานที่) เปนตน

แหลงสารสนเทศทางวิชาการภายนอกแหลงสารสนเทศทางวิชาการภายนอก หมายถึงแหลงสารสนเทศวิชาการที่อยูบนเครือขาย

อินเทอรเน็ต ปจจุบันมีอยูจํ านวนมาก ทั้งนี้อาจจํ าแนกเปนกลุมที่ควรรูจัก ไดแก• หองสมุดสถาบันอุดมศึกษา• หนวยงานของรัฐ• องคกรอิสระหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา จะเปนแหลงสารสนเทศที่สํ าคัญแหงหนึ่ง ที่จะใหบริการผูใช

หองสมุด ปจจุบันหองสมุดสถาบันการศึกษาทุกแหงจะมีเว็บไซตใหบริการ โดยสวนใหญจะแนะนํ า

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 3: บทที่ 6 - STOU e-Library1 บทที่ 6 การให ิบรการแหล งสารสนเทศทางวิชาการ ป จจุบันแหล

3

หองสมุด รายการวัสดุสารสนเทศในหองสมุดและการบริการ ที่สํ าคัญคือจะเปนสวนของฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศของหองสมุดนั้น ๆ ซึ่งแตละแหงอาจจะใชชื่อเรียกที่แตกตางกัน เชน การคนโอแพก OPAC

ตัวอยางเว็บไซตหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐภายในประเทศสํ านักบรรณสารสนเทศ มสธ. http://library.stou.ac.thสํ านักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม http://www.lib.cmu.ac.thสํ านักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแกน http://library.kku.ac.th สํ านักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ http://www.lib.tsu.ac.thสถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย http://www.car.chula.ac.th/tindex.htmสํ านักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา http://www.lib.buu.ac.th

ตัวอยางเว็บไซตหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในตางประเทศMIT Political Science Department (http://web.mit.edu/polisci/)หนวยงานของรัฐ แตละหนวยงานของรัฐจะมีหนาโฮมเพจของตนเพื่อใหบริการ และ

ประชาสัมพันธการดํ าเนินงาน โดยเฉพาะบางหนวยงานมีขอมูลที่เปนขอมูลสถิติตัวเลขลาสุด ซึ่งเปนสารสนเทศที่สํ าคัญ เชน

ตัวอยางเว็บไซตหนวยงานของรัฐภายในประเทศ สํ านักงบประมาณ (http://www.bb.go.th) ศูนยรวมสถิติเว็บไทย (http://truehits.net/ )

ตัวอยางเว็บไซตของหนวยงานของรัฐในตางประเทศ Resources for Economists on the Internet เปนทํ าเนียบเว็บไซตทางดานเศรษฐศาสตรที่รวบรวมโดยสมาคม American Economic Association (http://rfe.org) Business Resource Center เปนศูนยขอมูลธุรกิจ (http://www.morebusiness.com)

องคกรอิสระ เปนองคการที่ไมใชหนวยงานของรัฐ สวนใหญจะมีหนาเว็บไซตของตนเชนเดียวกันเพื่อการประชาสัมพันธหนวยงาน

ตัวอยางเว็บไซตองคกรอิสระ สํ านักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง (กกต.) (http://www.etc.go.th)

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 4: บทที่ 6 - STOU e-Library1 บทที่ 6 การให ิบรการแหล งสารสนเทศทางวิชาการ ป จจุบันแหล

4

2. หลักการคนสารสนเทศในการคนสารสนเทศไมวาจะเปนการคนจากแหลงสารสนเทศใดก็ตาม ผูคน/ผูใหบริการควร

รูจักวิธีการและขั้นตอนเบ้ืองตน ซึ่งประกอบดวยดวยขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้2.1 การสัมภาษณผูใช2.2 การเตรียมการคน2.3 การแสดงผลการคน

2.1 การสัมภาษณผูใช ผูคน/ผูใหบริการจํ าเปนตองทราบความตองการของผูใชวาตองการไดขอมูลเรื่องใด ลักษณะ

ประเภท วัตถุประสงค ระยะเวลาที่จะนํ าขอมูลไปใชประโยชน การสัมภาษณมีหลายประเภท เชน ลักษณะถาม-ตอบ การใชแบบฟอรม เปนตน แตละวิธี

การจะเหมาะสมแตกตางกันไป บางสถานการณอาจจํ าเปนตองการใชทั้ง 2 วิธีการควบคูกันไป ขอมูลจากการสัมภาษณ นอกจากจะเปนการซักถามเพื่อใหทราบความตองการของผูใชแลว ขอมูลจากการสัมภาษณยังเปนสิ่งสํ าคัญที่ชวยในการเตรียมวิธีคนและการเลือกศัพทเพื่อใหการคนมีประสิทธิภาพ ซึ่งหมายถึงการคนที่ไดผลตรงตามความตองการ ใชเวลาไมนาน และเสียคาใชจายไมมาก

คํ าถามสํ าหรับการสัมภาษณสวนใหญ เปนการถามเพื่อใหผูใชและผูใหบริการเขาใจตรงกันวา- ตองการทราบขอมูลเรื่องอะไร- วัตถุประสงคในการใชขอมูล- ผูใชบริการคือใคร- สถานภาพของขอมูลที่ตองการเปนอยางไร- ผูใชบริการคาดวาจะมีขอมูลมากหรอืนอยเพียงใดระยะเวลาที่ผูใหบริการสัมภาษณกับผูใชบริการ อาจจะเร็วหรือชาขึ้นอยูกับประสบการณของ

ผูใหบริการ เกี่ยวกับรายละเอียดและบริการของฐานขอมูล สวนการตั้งคํ าถามมักจะเปนแบบปลายเปดมากกวาจะถามใหตอบวาใชหรือไมใช เชน ควรถามวา “คุณตองการขอมูลประมาณปใด” แทนที่จะถามวา “คุณตองการขอมูลป 2545 - 2546 ” ใชหรือไม ผูสัมภาษณควรทวนคํ าถามและทวน คํ าตอบเพื่อย้ํ าความเขาใจ โดยเฉพาะกรณีที่มีการใชศัพทเทคนิค ซึ่งอาจทํ าใหทั้ง 2 ฝายตีความหมายไมตรงกัน อยางไรก็ตาม ผูสัมภาษณยอมมีวิธีการเฉพาะของตนเองในการพูดคุยและซักถามใหผูใชบริการรูสึกเปนกันเอง มีความมั่นใจวาผูใหบริการมีความรูและความเขาใจในระบบฐานขอมูลและการคนเปนอยางดี

นอกจากนี้ลักษณะของขอคํ าถามที่ควรจะซักถามเพิ่มเติม เชน ระยะเวลา ภาษา ประเภทของเอกสาร การพมิพผลขอมูล มีขอมูลเดิมอยูบางหรือไม งบประมาณในการคน คาบริการเอกสาร และเวลาที่ตองการขอมูล เปนตน

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 5: บทที่ 6 - STOU e-Library1 บทที่ 6 การให ิบรการแหล งสารสนเทศทางวิชาการ ป จจุบันแหล

5

ตัวอยางแบบฟอรมการสัมภาษณผูใชของสํ านักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

แแบบบบคํ าคํ าขขออใใชชบบริริกกาารรสสาารรสสนนเเททศศวัวันนที่ที่ขขออใใชชบบริริกกาารร ผูผู รัรับบเเร่ืร่ือองง

สสถถาานนภภาาพพ ปปริริญญญญาาโโทท ปปริริญญญญาาเเออกกช่ืช่ืออ –– สสกุกุลล รรหัหัสส สสาาขขาาวิวิชชาา แแขขนนงงวิวิชชาา ท่ีท่ีออยูยู//โโททรรศัศัพพทท ท่ีท่ีสสาามมาารรถถติติดดตตออไไดด รรหัหัสสไไปปรรษษณีณียย โโททรรศัศัพพทท EE--mmaaiill :: เเร่ืร่ือองงที่ที่ตตอองงกกาารรสืสืบบคคนน หัหัววขขออวิวิททยยาานินิพพนนธธท่ีท่ีไไดดรัรับบออนุนุมัมัติติ ((ถถาามีมี))

เเร่ืร่ือองงที่ที่สสนนใใจจทํ าทํ าวิวิททยยาานินิพพนนธธ คํ าคํ าสํ าสํ าคัคัญญ//หัหัววเเร่ืร่ือองงขขอองงเเร่ืร่ือองงท่ีท่ีตตอองงกกาารร ((ภภาาษษาาไไททยย//ภภาาษษาาอัอังงกกฤฤษษ)) ตตอองงกกาารรคํ าคํ าตตออบบภภาายยใในนวัวันนท่ีท่ี ปปรระะเเภภททขขอองงสสาารรสสนนเเททศศท่ีท่ีตตอองงกกาารร หหนันังงสืสืออ//ตํ าตํ ารราา บบททคคววาามมววาารรสสาารร วิวิททยยาานินิพพนนธธ//งงาานนวิวิจัจัยย

อ่ือ่ืนน ๆๆ ((รระะบุบุ))รระะยยะะเเววลลาาขขอองงขขออมูมูลลที่ที่ตตอองงกกาารรตั้ตั้งงแแตตปป 55 ปปยยออนนหหลัลังง 1100 ปป ยยออนนหหลัลังง อ่ือ่ืนนๆๆ((รระะบุบุ)) ภภาาษษาาขขอองงสสาารรสสนนเเททศศ ไไททยย อัอังงกกฤฤษษ ไไมมจํ าจํ ากักัดดภภาาษษาารูรูปปแแบบบบผผลลกกาารรคคนนท่ีท่ีตตอองงกกาารร บบรรรรณณาานุนุกกรรมม บบททคัคัดดยยออ

เเออกกสสาารรฉฉบับับบสสมมบูบูรรณณ อ่ือ่ืนน ๆๆ ((รระะบุบุ)) กกาารรจัจัดดสสงงเเออกกสสาารร รัรับบดดววยยตตนนเเอองง((วว//ดด//ปป)) ไไปปรรษษณีณียยธธรรรรมมดดาา

ดดววนนพิพิเเศศษษ อ่ือ่ืนน ๆๆ ((รระะบุบุ))

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 6: บทที่ 6 - STOU e-Library1 บทที่ 6 การให ิบรการแหล งสารสนเทศทางวิชาการ ป จจุบันแหล

6

สํ าสํ าหหรัรับบเเจจาาหหนนาาท่ีท่ี ::คํ าคํ าคคนนท่ีท่ีใใชช 11.. 22.. 33.. 44..

แแหหลลงงสสาารรสสนนเเททศศท่ีท่ีใใชช (( )) โโออแแพพกก (( )) หหนันังงสืสืออออาางงอิอิงง

(( )) บบททคคววาามมววาารรสสาารร (( )) ฐฐาานนขขออมูมูลล CCDD--RROOMM ((รระะบุบุช่ืช่ืออฐฐาานน)) (( )) ฐฐาานนขขออมูมูลล ออออนนไไลลนน ((รระะบุบุช่ืช่ืออฐฐาานน))

(( )) อิอินนเเททออรรเเน็น็ตต hhttttpp :: //// (( )) อ่ือ่ืนน ๆๆ ((รระะบุบุ))

วิวิธีธีกกาารรรัรับบคํ าคํ าถถาามม รัรับบดดววยยตตนนเเอองง ไไปปรรษษณีณียย โโททรรสสาารร EE--mmaaiill อ่ือ่ืนน ๆๆ ((รระะบุบุ))

คคาาใใชชจจาายย คคาาสํ าสํ าเเนนาากกาารรสืสืบบคคนนจํ าจํ านนววนน แแผผนน เเปปนนเเงิงินน บบาาทท คคาาสํ าสํ าเเนนาาเเออกกสสาารรจํ าจํ านนววนน แแผผนน เเปปนนเเงิงินน บบาาทท

คคาาจัจัดดสสงง ไไปปรรษษณีณียยธธรรรรมมดดาา เเปปนนเเงิงินน บบาาทท ไไปปรรษษณีณียยดดววนนพิพิเเศศษษ เเปปนนเเงิงินน บบาาทท โโททรรสสาารร เเปปนนเเงิงินน บบาาทท

รรววมมเเปปนนเเงิงินน บบาาทท ผูผูปปฏิฏิบับัติติ วัวันนที่ที่ตตออบบคํ าคํ าถถาามม

2.2 การเตรียมการคน การเตรียมการคน เปนสิ่งจํ าเปนสํ าหรับการคนสารสนเทศจากฐานขอมูล เพราะเปนการ

ชวยใหผูใหบริการคนขอมูลไดมีประสิทธิภาพ ไดขอมูลที่ตรงตามความตองการภายในเวลารวดเร็ว การคน ประกอบดวย 2 ขั้นตอน ไดแก

• การเลือกคํ าศัพท (keyword)• การกํ าหนดกลยุทธในการคน

การเลือกคํ าศัพท (keyword)คํ าศัพท (keyword) หมายถึง คํ าหรือวลีที่ก ําหนดขึ้นเพื่อใชแทนความหมายของเรื่อง

ที่ตองการคนหาขอมูล โดยทั่วไปมีคํ าศัพท 2 ลักษณะ คือ

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 7: บทที่ 6 - STOU e-Library1 บทที่ 6 การให ิบรการแหล งสารสนเทศทางวิชาการ ป จจุบันแหล

7

- ศัพทบังคับ (controlled term) หมายถึง คํ าศัพทที่มีการกํ าหนดขึ้นเปนมาตรฐาน เชน หัวเรื่อง ศัพทบัญญัติ ศัพทสัมพันธ เปนตน

- ศัพทอิสระ (free term) หมายถึง คํ าศัพททุกคํ าที่มีความหมายและปรากฏในเอกสาร ผูสืบคนสามารถใชคํ าใดก็ไดที่มีความหมาย ยกเวน คํ าในภาษาอังกฤษ จะมี stop words เชน a an the by from หรือ คํ าในภาษาไทยจะมี คํ าบุพบท เชน กับ แก แต ตอ เปนตน

การกํ าหนดกลยุทธในการคน โดยทั่วไปกลยุทธในการคน ประกอบดวย 2 วิธี ไดแก

- การคนดวยคํ าสั่ง (command) เปนการสั่งใหคอมพิวเตอรทํ างานดวยคํ าสั่งแลวแตผู คนจะเลือกใชตามลักษณะงานที่ตองการทํ างาน ซึ่งแตละฐานขอมูลจะมีแตกตางกันไปตามโปรแกรมการคน

- การคนดวยเมนูทางเลือก (menu) เปนการคนดวยทางเลือกที่กํ าหนดไวลวงหนาเมนูชวยใหผูที่ไมมีประสบการณดานคอมพิวเตอรคนขอมูลไดงายเพราะเพียงแตเลือก function ที่ตองการใชงานใหถูกตองเทานั้น

- การคนดวยการเติมคํ าในแบบฟอรม (form fill-in) เปนการกรอกขอความที่จํ าเปนลงในแบบฟอรมที่ปรากฏบนจอภาพ ซึ่งผูคนไมตองจํ าคํ าสั่งมาก

2.3 การพิมพผลขอมูล การพิมพผลขอมูล หมายถึง การคนและรับผลขอมูลจากฐานขอมูลที่คนได ซึ่งหองสมุด

ควรจะมีการกํ าหนดอัตราการพิมพผล และแจงใหผูใชทราบเบ้ืองตนกอน โดยทั่วไปการพิมพผลจะมีทางเลือก 3 ทาง ไดแก

- กระดาษ การพิมพผลทางกระดาษ จะมีทางเลือกตามประเภทของเครื่องพิมพเปนการพิมพผลทางเครื่องพิมพ dot matrix หรือ เครื่องพิมพ laser ซึ่งสงผลตออัตราการพิมพผลที่แตกตางกัน ซึ่งการพิมพจากเครื่องพิมพ laser จะมีราคาแพงกวา

- แผนดิสกเก็ต ใหพึงระลึกไววาจะไมอนุญาตใหผูใชนํ าแผนดิสกเก็ตที่ใชแลวมาบันทึกผลขอมูลไมวากรณีใด ๆ เพราะอาจจะมีปญหาไวรัสคอมพิวเตอรเกิดขึ้น แผนดิสกเก็ตจะตองเปนแผนใหม ซึ่งหองสมุดจัดไวใหบริการ

- ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (e-mail) เปนทางเลือกใหมสํ าหรับผูใหบริการ ซึ่งผูใชบริการจํ าเปนตองแจงที่อยูไปรษณียอิเล็กทรอนิกสใหเพื่อการจัดสง

3. การคนสารสนเทศบนอินเทอรเน็ตสารสนเทศที่เผยแพรบนอินเทอรเน็ต ประกอบดวยขอมูลตาง ๆ จํ านวนมากมาย ทั้งขอมูลทาง

วิชาการ ขาวสารและเหตุการณทันสมัย และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือติดตอสื่อสารกันระหวาง

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 8: บทที่ 6 - STOU e-Library1 บทที่ 6 การให ิบรการแหล งสารสนเทศทางวิชาการ ป จจุบันแหล

8

บุคคลได สารสนเทศบนอินเทอรเน็ตในระบบ www เหลานี้ชวยใหการติดตามความเคลื่อนไหวในวงวิชาการ การพัฒนาธุรกิจ และอุตสาหกรรมเปนไปไดอยางรวดเร็วและทันเหตุการณ เพื่อใหไดขอมูลตามที่ตองการ วิธีการในการคนหาสารสนเทศในระบบ www เพื่อใหสามารถคนหาสารสนเทศไดดวยตนเอง มีดังนี้

3.1 การคนหาสารสนเทศดวยที่อยูเว็บไซต หรือ URL (Uniform Resource Locator) การจัดเก็บขอมูลขาวสารในเว็บไซตมีการจัดเก็บไวเปนหนา ๆ เรยีกวา เว็บเพจ แตละหนาจะมีที่อยูของโฮมเพจตางกัน การจะไปยังโฮมเพจจะตองทราบที่อยูของโฮมเพจนั้น ซึ่งเรียกวา URL หรือตํ าแหนงบนเครือขายอินเทอรเน็ต ชื่อเครื่องหรือโดเมนมีรายละเอียดที่สามารถชวยใหทราบประเภทของหนวยงาน เชน

.gov (government) หมายถึง กลุมหนวยงานของรัฐบาล (สหรัฐอเมริกา)

.go.th (government - Thailand) หมายถึง กลุมหนวยงานของรัฐบาล (ประเทศไทย)

.edu (education) หมายถึง กลุมสถาบันการศึกษา (สหรัฐอเมริกา)

.ac.th (academic – Thailand) หมายถึง กลุมสถาบันการศึกษา (ประเทศไทย)

.com ( companies) หมายถึง กลุมองคการธุรกิจการคากรณีที่ทราบชื่อ URL หรืออินเทอรเน็ตแอดเดรสหรือที่อยูเว็บไซต สามารถติดตอไปยังเว็บไซต

ไดทันที โดยการพิมพชื่อ URL ลงไปในกรอบ Address เชน ทราบ URL หรือที่อยูเว็บไซตของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่ชื่อ http://www.stou.ac.th ใหพิมพในกรอบ Address แลวกดปุม enter จากนั้นรอสักครู คอมพิวเตอรจะโหลดหนาโฮมเพจที่ตองการ

3.2 การใชเครื่องมือชวยคน (search engines)เครื่องมือชวยคนเปนเว็บไซตชวยในการคนหาสารสนเทศบนอินเทอรเน็ตในกรณีที่ผูคน/

ผูใหบริการไมทราบ URL หรือเว็บไซตของหนวยงาน ปจจุบันมีเครื่องมือชวยคนอยูหลายตัว แตละตัวจะมีศักยภาพในการคนแตกตางกันไป บางตัวจะใหสารสนเทศภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษเทานั้น บางตัวจะใหสารสนเทศทั้ง 2 ภาษา ในที่นี้จะยกตัวอยางที่นาสนใจ เชน

เครื่องมือชวยคนที่ใหสารสนเทศภาษาไทย เชน google = http://www.google.go.th

Siamguru = http://www.siamguru.comเครื่องมือชวยคนที่ใหสารสนเทศภาษาอังกฤษ เชน Infoseek = http://www.infoseek.com Alta Vista = http://altavista.comเครื่องมือชวยคนที่ใหสารสนเทศภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 9: บทที่ 6 - STOU e-Library1 บทที่ 6 การให ิบรการแหล งสารสนเทศทางวิชาการ ป จจุบันแหล

9

google = http://www.google.go.th yahoo = http://www.yahoo.com

สารสนเทศบนอินเทอรเน็ต มิใชแตจะมีแตขอดีเทานั้น สารสนเทศบนอินเทอรเน็ตมีขอจํ ากัดดวยเชนกัน ขอจํ ากัดที่ควรทราบมี ดังนี้

1. ระบบ www มิใชหองสมุด จึงมิไดมีการจัดเก็บเอกสารที่เผยแพรอยางเปนระบบกลาวคือ ไมมีระบบควบคุมรายการบรรณานุกรมของเอกสาร

2. จํ านวนเอกสารที่เผยแพรบน www เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว แตไมมีขอมูลแนชัดที่สามารถระบุไดวามีจํ านวนเอกสารที่เผยแพรอยูในระบบจํ านวนเทาใด มีจํ านวนผูเผยแพรทั้งหมดกี่ราย และมีใครเปนผูถือลิขสิทธิ์หรือสิทธิที่ถูกตองในเอกสารที่เผยแพรนั้น

3. เอกสารและขอมูลที่เผยแพรมีการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาอยูตลอดเวลา ขึ้นอยูกับผูจัดทํ าเอกสารนั้น ๆ

4. การเปลี่ยนแปลงแหลงที่อยูของสารสนเทศหรือเปลี่ยน URL เกิดขึ้นไดตลอดเวลา 5. เนื้อหาของเอกสารที่เผยแพร อาจไมครบถวน ไมทันสมัย ไมถูกตอง หรือเปนการโฆษณา โดยเฉพาะเว็บไซตที่ทํ าเพื่อการคา 6. ระบบตรวจสอบคุณภาพเนื้อหาและการนํ าเสนอบนเว็บที่เปนสากลยังไมมีการบังคับใช

สำนักบรรณสารสนเทศ