Top Banner
บทที2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ การวิจัยเรื่อง กระบวนการตัดสินใจเลือกศึกษาตอระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพของ นักเรียนโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร ผูวิจัยไดศึกษาทฤษฎี และเอกสารงานวิจัย ที่เกี่ยวของ โดยนําเสนอตามลําดับขั้นตอน ดังนี1. การอาชีวศึกษา 1.1 ประวัติความเปนมาและความหมายของการอาชีวศึกษา 1.2 ปรัชญา และ เปาหมายการศึกษาอาชีวศึกษา 1.3 แนวคิดการจัดการอาชีวศึกษา 1.4 โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน 1.5 การจัดการอาชีวศึกษาของเอกชน 1.6 โรงเรียนสันติราษฎรบริหารธุรกิจ ในพระอุปถัมภฯ 1.7 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ 2. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 2.1 หลักการของหลักสูตร 2.2 จุดมุงหมายของหลักสูตร 2.3 หลักเกณฑการใชหลักสูตร 2.4 มาตรฐานวิชาชีพ 3. ทฤษฎีการตัดสินใจ 3.1 ความหมายของการตัดสินใจ 3.2 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจ 3.3 กระบวนการตัดสินใจ 3.4 กระบวนการตัดสินใจศึกษาตอระดับอาชีวศึกษา 4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 5. กรอบแนวคิดในการวิจัย
31

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

Jan 08, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

การวิจยัเร่ือง กระบวนการตดัสินใจเลือกศึกษาตอระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพของนักเรียนโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร ผูวิจัยไดศึกษาทฤษฎี และเอกสารงานวิจยัท่ีเกี่ยวของ โดยนําเสนอตามลําดับข้ันตอน ดังนี ้

1. การอาชีวศึกษา 1.1 ประวัติความเปนมาและความหมายของการอาชีวศึกษา

1.2 ปรัชญา และ เปาหมายการศึกษาอาชีวศึกษา 1.3 แนวคิดการจดัการอาชีวศึกษา 1.4 โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน

1.5 การจัดการอาชีวศึกษาของเอกชน 1.6 โรงเรียนสันติราษฎรบริหารธุรกิจ ในพระอุปถัมภฯ 1.7 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ

2. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 2.1 หลักการของหลักสูตร 2.2 จุดมุงหมายของหลักสูตร 2.3 หลักเกณฑการใชหลักสูตร 2.4 มาตรฐานวิชาชีพ 3. ทฤษฎีการตัดสินใจ 3.1 ความหมายของการตัดสินใจ 3.2 ทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับการตัดสินใจ 3.3 กระบวนการตดัสินใจ 3.4 กระบวนการตดัสินใจศึกษาตอระดับอาชีวศึกษา 4. งานวิจยัท่ีเกี่ยวของ 5. กรอบแนวคิดในการวิจัย

Page 2: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

7

1. การอาชีวศึกษา ความหมายของการอาชีวศึกษา มีผูนิยามความหมายและแนวคิดของการอาชีวศึกษา ไวดังนี ้ 1.1 ประวัติความเปนมาและความหมายของการอาชีวศึกษา ไดดังนี ้ จากจัดการการอาชีวศึกษาของไทยนัน้ จากหลักฐานพบวามีพัฒนาการต้ังแตในอดีต ดวยประเทศไทยน้ันเปนสังคมเกษตรกรรม ครอบครัวและชุมชนไดทําหนาท่ีเปนฐานของการฝกอาชีพดานเกษตร นอกจากน้ีแลวมีการเรียนรู ถายทอดความรูดานชางตางๆ เชน การทอผา การจกัสาน การกอสราง ชางโลหะ ฯลฯ มากอน

ตอมาเมื่อมีการจัดต้ังการศึกษาแบบระบบโรงเรียนข้ึนมาในรัชสมัยของ พระบาทส มเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 5 การเรียนรูเกีย่วกบัอาชีพจึงไดจดัไวในสวนของการอาชีวศึกษาท่ีเปดสําหรับนักเรียน ผูสนใจการเรียนสายอาชีพท่ีเปนระยะเวลาท่ีไมนานและเนนการประกอบอาชีพ หรือมีโอกาสไดงานทําเม่ือจบการศึกษาไปแลว ซ่ึงสนองตอบตอความตองการของผูเรียน ท่ีไมประสงคเรียนตอในสายสามัญ หรือมีผลการเรียนท่ีไมคอยดี และผูปกครองท่ีตองการใหบุตรหลานไดเรียนตอระยะเวลาไมนานเกนิไป และคาใชจายในการเรียนไมสูงเกินไปหรือเปนภาระของครอบครัว เม่ือนักเรียนจบแลวสามารถมีงานทํา

อยางไรก็ตามเม่ือประเทศไทยไดมีการปฏิรูปการศึกษาท้ังประเทศข้ึนในป พ.ศ. 2542มีการจัดรวมการศึกษา ท้ังในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การอาชีวศึกษา การอุดมศึกษาไวดวยกัน ในกระทรวงศึกษาธิการ เม่ือวันท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ.2546 และโครงสรางใหมนี้ไดแยกการอาชีวศึกษาและใหความชัดเจนออกเปนหนึ่งหนวยงานจากท้ังหมด 5 หนวยงานหรือท่ีเรียกกนัวา “แทงอาชีวศึกษา (เพ็ชรี รูปะวิเชตร, 2550, หนา 25) ความหมายตามรูปศัพท พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (ราชบัณฑิตยสถาน, 2525, หนา 939) กําหนดความหมายของคําวา อาชีพ อาชีว อาชีวะ หมายถึง การเลี้ยงชีวิต การทํามาหากิน งานท่ีทําเปนประจําเพื่อ เล้ียงชีพ และคําวาอาชีวศึกษา หมายถึง การศึกษาท่ีมุงไปในทางชางฝมือ สวนรูปศัพทภาษาอังกฤษน้ัน มีคําท่ีมีความหมายคลายคลึงกับการอาชวีศึกษา ไดแก ความหมายโดยอรรถ เปนการใหความหมายของการอาชวีศึกษาในทัศนะ ตางๆ ของนักวิชาการดานอาชีวศึกษา ไวดังนี ้ ปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2542, หนา 13-14) ใหความหมายวา การอาชีวศึกษา เปนการศึกษาวิชาชีพสาขาตางๆ ท่ีอาศัยความรูระดับตํ่าวาปริญญา เพื่อผลิตกําลังคนต้ังแตระดับช้ันแรงงานท่ัวไป จนถึงแรงงานฝมือ และความหมายของการอาชีวศึกษาอยูท่ีการมองของผูท่ีมีสวนเกี่ยวของกับอาชีวศึกษาดวย ไดแก

Page 3: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

8

นักบริหารอาชีวศึกษา ใหความหมายของการอาชีวศึกษาในดานการจัดการการศกึษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติในดานอาชีพ และการทํางาน

ผูบริหารโรงเรียนอาชีวศึกษา ใหความหมายวาการอาชีวศึกษาในดานมุงผลิตกําลังคนท่ีมีคุณภาพ ในการประกอบอาชีพในสาขาวิชาตางๆ

ครูอาชีวศึกษา มองการอาชีวศึกษาในการใหการศึกษาแกผูเรียน โดยมุงความรูและทักษะท่ีจะนําไปประกอบอาชีพ รวมทั้งการพัฒนาเจตคติท่ีดีตอการทํางาน

ผูเรียนหรือนกัเรียนอาชีวศึกษา มองการอาชีวศึกษาในดานการศึกษาวิชาชีพในสาขาวิชาตางๆ ตามความตองการและความถนัดของตนเอง เพื่อท่ีจะนําความรูท่ีไดรับไปประกอบอาชีพและการทํางานได สรุปไดวา การอาชีวศึกษา หมายถึง กระบวนการจัดการศึกษาท้ังในระบบโรงเรียน และนอกระบบโรงเรียน ใหแกบุคคลท้ังภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติผสมผสานกันอยางเหมาะสม เพื่อใหมีวิชาความรูนําไปใชในการประกอบอาชีพ สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมได และพัฒนาความรูความสามารถของบุคคลใหสูงข้ึนเปนระดับ ตามความตองการของสังคมและตลาดแรงงาน 1.2 ปรัชญา และเปาหมายการศึกษาอาชีวศึกษา

ปรัชญาและเปาหมายการศึกษาอาชีวศึกษา คือการผลิตกําลังคนท่ีมีทักษะระดับกลางเพื่อตอบสนองตลอดแรงงาน (พิมพร ศะริจันทร, 2545) ประเทศไทยไดมีการจัดโครงสรางระบบบริหารใหม ของการอาชีวศึกษา ในป พ.ศ. 2549 พรอมกับกําหนดวิสัยทัศน และภารกิจท่ีถูกตองและเดนชัด นั้นเปนยุทธศาสตรของการเปล่ียนแปลงการอาชีวศึกษา เปนการอาชีวศึกษา และกําหนดยุทธศาสตรท่ีจะตองมีสถาบันอาชีวศึกษาข้ึน เพื่อใหสามารถทําใหวิทยาลัยอาชีวศึกษาท่ีออนแอนั้นแข็งแรงเปนยุทธศาสตรแรกท่ีมีหลักการ มีวิสัยทัศน พันธะกิจท่ีชัดเจน ซ่ึงสังคมไมสามารถท่ีโตเถียง และทําใหเกิดความเขมแข็งในสถาบัน จากการท่ีมีวิทยาลัยอาชีวศึกษาท่ีมีความแตกตาง มีความออนแอและแข็งแรงมาประมวลกนัเขาเปนสถาบัน เกิดการยอมรับ ท้ังภารกจิ หนาท่ี วิสัยทัศน จนกระท่ังการบริหารรวมกนั

เร่ืองท่ีสอง คือสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีทิศทางชัดเจนเปนการจดัการศึกษาเพื่อสรางสมรรถนะของคน สามารถนําความรูไปใชใหเกดิการประกอบอาชีพได ในแงบทบาทของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาตองชัดเจนวาตองไปในทิศทางใด และงบประมาณตางๆ ท่ีดําเนินการในเร่ืองนี ้ทําใหเกิดความเขาใจกับประชาชนในระดับหนึ่งในการท่ีจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี เพื่อการจัดการเรียนการสอนเพ่ือคนยากจนจดุมุงหมายท่ีเนนการเพิ่มสมรรถนะและความมีคุณภาพทางวิชาชีพ

Page 4: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

9

เร่ืองท่ีสามมุงเนนสมรรถนะ ไมใชเฉพาะนักเรียน อาจารยอาชีวศึกษาตองแยกจากอาจารยอาชีวศึกษาท่ีสอนวชิาสามัญท่ีไดใบประกอบวชิาชีพครู สวนอาจารยมหาวิทยาลัยไมสามารถสอนได ถาไมมีใบประกอบครูวิชาชีพ 1.3 แนวคิดการจัดการอาชีวศึกษา

จากการบริหารของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาท่ีจากเดิมเปน กรมอาชีวศึกษามีการเปล่ียนแปลงหลังจากรัฐบาลมีการปฏิรูปการศึกษา ซ่ึงสงผลใหมีแนวคิดการจัดการอาชีวศึกษา ดังนี ้ 1.3.1 ดานการบริหารจัดการท่ีตองมีการปรับบทบาทท่ีจากเดิมท่ีเคยสังกัด กองสถานศึกษาตองปรับเปลี่ยนเปนการบริหารในรูปสถาบัน ซ่ึงการบริหารในรูปแบบสถาบันเปนการบริหารแบบการจัดการระบบและดูแลดวยตนเอง โดยมีรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการเปน ผูควบคุมอีกคร้ัง เพื่อใหเกิดความคลองตัวในการปฏิบัติและการตัดสินใจในพื้นท่ีของตนเอง ซ่ึงรวมถึงการจัดการเรียนการสอนอยางไรใหครอบคลุมศาสตรดานตาง ๆ ท่ียืนอยูบนความสนใจ และเปนท่ีตองการของประชาชน เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ส่ิงแวดลอม และเทคโนโลยี

1.3.2 ดานการเรียนรู ซ่ึงแกนนําทุกคนจะตองชวยกันสรางใหเกดิมรรคผลท่ีเปนไปตามปรัชญาของการอาชีวศึกษาท่ีเนนความเปนเลิศทางดานวิชาชีพโดยมีความรูในศาสตรนั้น ๆ มีทักษะในการปฏิบัติงานท่ีเช่ียวชาญและสามารถดํารงชีวิต แกไขปญหาอุปสรรคท่ีอาจเกิดข้ึนได(สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2551, ระบบออนไลน) 1.4 โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน

สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษา เอกชนแหงประเทศไทย กอต้ังโดยคณะผูบริหารโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ท่ีเปดสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ 15(1) ประมาณ 10 ทาน โดยมอบหมายใหอาจารยเล็ก บูรณะสมบัติ เปนผูดําเนินงานขออนุญาตจัดต้ังสมาคม โดยเริ่มดําเนินงาน ต้ังแต พ.ศ. 2516 และไดรับอนมัุติใหกอต้ังสมาคม เม่ือวันท่ี 4 มกราคม พ.ศ. 2517โดยมีสํานักงานใหญท่ี โรงเรียนพณิชยการเจาพระยา นายกสมาคมคนแรกคือ อาจารยสุนทร เปรมฤทัย เม่ืออาจารยสุนทร เปรมฤทัย หมดวาระลง อาจารยอุดม แสงหิรัญ รับตําแหนงนายกสมาคม จึงยาย สํานักงานใหญของสมาคมมาอยูท่ี โรงเรียนเทคโนโลยีกรุงเทพฯ และไดริเร่ิมกอต้ังกองทุน โดยขอรับเงินบริจาคจากสมาชิกเพื่อกอต้ังท่ีทําการถาวรของสมาคม สมาชิกท่ีบริจาคเงินสมทบ รายแรก คืออาจารยสุข พุคยาภรณ เม่ือ อาจารยอุดม แสงหรัิญ หมดวาระลง อาจารยชัย บูรณะสมบัติ รับตําแหนงนายกสมาคม ไดเร่ิมดําเนินการกอต้ังท่ีทําการ ถาวรของสมาคม ปจจุบันคือเลขที่ 1097/35-36 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ สามารถใชเปนสํานักงานและเปดบริการแกสมาชิกในป พ.ศ. 2529 จนถึงปจจุบัน

Page 5: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

10

1.4.1 เพื่อเปนศูนยรวมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในดานการแลกเปล่ียนความคิดเห็นประสานงาน กับกระทรวง ศึกษาธิการ และการพัฒนาโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน 1.4.2 เพื่อสงเสริมความสามัคคีและแลกเปล่ียนความคิดเห็นระหวางครู-อาจารย และโรงเรียนในกลุม โรงเรียน เอกชนอาชวีศึกษา 1.4.3 เพื่อชวยเหลือสงเสริมนักเรียนและครูท่ียากจน หรือประสบปญหาตาง ๆ 1.4.4 เพื่อสงเสริมสัมพันธภาพทางการศึกษากับสมาคมการศึกษาอ่ืน ๆ ท้ังนี้ ไมเกี่ยวของกบัการเมือง

ปจจุบันโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ไดแบงออกเปนกลุมการศึกษาดังตอไป กลุมกรุงเทพมหานคร มีโรงเรียนท้ังหมด 93 โรงเรียน กลุมภาคกลาง (รวมภาคตะวนัออก) ซ่ึงประกอบไปดวย 22 จังหวัด มีโรงเรียนท้ังหมด 103 โรงเรียน กลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบไปดวย 18 จังหวดั มีโรงเรียนท้ังหมด 120 โรงเรียน กลุมภาคเหนือ ประกอบไปดวย 15 จังหวัด มีโรงเรียนท้ังหมด 49 โรงเรียนและกลุมภาคใต ประกอบไปดวย 11 จังหวดั มีโรงเรียนท้ังหมด 50 โรงเรียน(สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน แหงประเทศไทย, 2552, ระบบออนไลน) 1.5 การจัดการการศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน การจัดการการศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน เกิดจากการรวมตัวกันของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน โดยจัดต้ังเปนสํานักงานการอาชีวศึกษาเอกชน ซ่ึงมีวิสัยทัศน และพันธะกิจ ซ่ึงมีศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสะอาน รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ผลักดันจนสําเร็จ ในป พ.ศ.2551ดังนี ้

1.5.1 วิสัยทัศนการอาชีวศึกษาเอกชน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปนองคกรหลักในการจัดการ

อาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพใหประชาชนอยางท่ัวถึง ตลอดชีวิต มีคุณภาพ ไดมาตรฐาน และจัดการองคความรูตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและอาชีพอิสระ สอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

1.5.2 พันธะกิจการอาชีวศึกษาเอกชน 1.5.2.1 ผลิตและพฒันากําลังคนดานวิชาชีพทุกระดับอยางท่ัวถึงและเสมอภาค 1.5.2.2 สรางการบริหารและจัดการอาชีวศึกษาท่ีมีคุณภาพไดมาตรฐาน 1.5.2.3 วิจัย สรางนวัตกรรม พัฒนาและถายทอดเทคโนโลยี เพื่อการประกอบวิชาชีพและเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน (ปรับปรุง 5 กุมภาพันธ 2550)

Page 6: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

11

1.6 โรงเรียนสันตริาษฎรบริหารธุรกิจ ในพระอุปถัมภฯ โรงเรียนพณิชยการสันติราษฎรกอต้ังข้ึนโดย ครูเพทาย อมาตยกุล เมื่อวันท่ี 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 เปดสอนเฉพาะรอบบายพิเศษภายในโรงเรียนสันติราษฎรบํารุง บนถนน ศรีอยุธยา พญาไท โดยไดรับความ รวมมือจากคณะครู อาจารยจากพณิชยการพระนคร นับวาเปนโรงเรียนพณิชยการแหงแรกท่ีเปดสอนวิชาภาษาญีปุน ป พ.ศ. 2518 กรมตํารวจไดโอนกิจการโรงเรียนสันติราษฎรบํารุง ใหกับกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ป พ.ศ. 2519 ไดยายโรงเรียนพณิชยการสันติราษฎรไปเปดดําเนนิการท่ีโรงเรียน นันทนศึกษา ซ่ึงต้ังอยูบนถนนพระราม 5 เขตดุสิต(เปนการช่ัวคราว) ป พ.ศ. 2521 ยายไปดําเนินการท่ีโรงเรียนขัตติยานีผดุง ซ่ึงต้ังอยูบนถนนสุโขทัย เขตดุสิต โรงเรียนแหงนี้ พระบรมวงศเธอพระองคเจาอภัณตรีประชาพระราชธิดาในรัชกาลท่ี 5 เปนผูกอต้ัง ป พ.ศ. 2529 สมเด็จพระเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ไดทรงโปรดกลาโปรดกระหมอมรับโรงเรียนพณิชยการสันติราษฎรเขาอยูในพระ อุปถัมภฯ ป พ.ศ. 2532 ไดยายมาเปดดําเนินการบนท่ีดินถาวรเปนของตนเอง บนเนื้อท่ี 5 ไร ณ เลขท่ี 138/1 ซอยพหลโยธิน 24 เขตจตุจกัร จนถึงปจจุบัน ขณะน้ันโรงเรียนพณิชยการสันติราษฎร ในพระอุปถัมภฯ ยังไดรับเกยีรติเปนสถานที่ฝกอบรมพิเศษ เปนศูนยปฏิบัติงานของสโมสรลูกเสือกรุงเทพ สมาคมตอตานยาเสพติดแหงประเทศไทย รวมท้ังงานสงเสริมและชวยเหลือสังคมอีกมาก ป พ.ศ. 2539 คณะผูบริหารโรงเรียนพณิชยการสันติราษฎร ในพระอุปถัมภฯ ไดขยายบริการการศึกษาเขาสูระบบสากลในนามของ SANTIRAT INSTITUTE OF BUSINESS ADMINISTRATION หรือ SIBA ป พ.ศ. 2541 เพื่อเฉลิมฉลองครบรอบ 36 ปของโรงเรียน คณะผูบริหารมีมติใหจัดสรางอาคาร SIBA CENTER ข้ึนราวป 2540 เสร็จส้ินเมือเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ป พ.ศ. 2542 ไดรับพระมาหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยา ณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร เสด็จเปนประธานในพิธีเปดอาคาร SIBA CENTER อยางเปนทางการ ในวันท่ี 10 กุมภาพนัธ 2542 อาคาร SIBA CENTER เปนอาคาร 7 ช้ัน มีเนื้อท่ีกวา 12,000 ตร.ม. เปนศูนยการบริการการศึกษาครบวงจร มีอุปกรณเคร่ืองมือส่ือการเรียนการสอนท่ีทันสมัย ทัดเทียมกับสถานศึกษาในตางประเทศ เปนกาวสําคัญท่ีจะนํานักเรียน และนักศึกษาทุกคนเขาสูระบบ “โลกกวางทางการศึกษา” เปนการฉลองครบรอบ 36 ป ของโรงเรียนดวย

Page 7: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

12

ป พ.ศ. 2543 ดวยความเพรียบพรอมในศักยภาพ SIBA ไดรับรางวัลอันทรงเกียรติยิง่ถึง 5 รางวัลภายใน 1 ปไดแก รางวัลโรงเรียนพระราชทานดีเดนประจําป 2542 ระดับอุดมศึกษา รางวัลโรงเรียนสีขาวเฉลิมพระเกียรติปลอดสารเสพติด รางวัลสถานศึกษาเอกชนท่ีใหการสนับสนนุ ก.ศ.น. ดีเดน รางวัลโรงเรียนจริยศึกษาดีเดน รางวัลชนะเลิศแขงขันเชียรลีดเดอรชิงแชมปประเทศไทย ประจําป 2542 ป พ.ศ. 2544 เปล่ียนช่ือโรงเรียนพณิชยการสันติราษฎร เปน สถาบันสันติราษฎรบริหารธุรกิจในพระอุปถัมภฯ พรอมการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา จากกระทรวงศึกษาธิการ ป พ.ศ. 2545 เพื่อเปนการเฉลิมฉลอง ครบรอบ 40 ป SIBA กาวหนาอยางมืออาชีพ” คณะกรรมการบริหาร ไดจัดพิธีเฉลิมฉลองความกาวหนาและความสําเร็จอยางยิ่งใหญ โดยเปดตัวโครงการสถาบันฝกอบรมอาชีพ ในการจัดการศึกษาสาขาบริหารธุรกิจ การบริการกิจกรรมที่ชวยเหลือสังคม และสาธารณประโยชน ท่ีประสบความสําเร็จอยางดยีิ่ง โครงการนอมใจภกัดิ์รักสมเด็จยา โรงเรียนไดนําเงินท่ีไดจากการขาย “ขนมปงน้าํใจ” ข้ึนทูลเกลาฯ ถวายสมทบทุนการกุศลสมเด็จยา เพื่อชวยเหลือคนพิการและผูยากไรในถ่ินทุรกนัดาร นอกจากน้ีในดานวชิาการ ครู - อาจารย ท้ัง 100% ของโรงเรียน จะผานกระบวนการเปนครูแกนนํา เพื่อเปนการเฉลิมฉลองวาระ “ครบรอบ 40 ป” นี้เชนกนั ป พ.ศ. 2547 สถาบันฯไดรับการแตงต้ังจากกระทรวงแรงงานและสวสัดิการสังคมใหเปนสถานท่ี ทดสอบฝมือแรงงานดานคอมพิวเตอรและการโรงแรมนบัเปนความภาคภูมิใจอยางยิ่ง ของบรรดาบุคลากรท้ังระดับผูบริหารและศิษยเกาทุกคน รวมท้ังยังไดกําหนดพันธกิจ เพื่อเปนแนวทางในการบริหารการศึกษา เพื่อผลิตประชากรคุณภาพสูสังคม 5 ประการ อันไดแก ทันเทคโนโลย ีภาษาด ีมีความสุข สนุกกับการเรียนรู มุงสูงานอาชีพ และจากพนัธกจิดังกลาว สถาบันฯ ไดดําเนนิกิจการอันเปนท่ีประจักษแกสังคมและประสบความสําเร็จอยางดยีิ่ง ในการสรางประชากรคุณภาพออกสูสังคมไทย ป พ.ศ. 2549 สถาบันสันติราษฎรบริหารธุรกิจ ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากพระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาธินัดดามาตุ เสด็จเปนผูแทนพระองค ในพิธีประทานประกาศนยีบัตรแดผูสําเร็จการศึกษา ประจําปการศึกษา 2549 ในวนัอาทิตยท่ี 17 มิถุนายน 2550 ณ อาคาร SIBA CENTER ดวยการพัฒนาการศึกษาท่ีไมเคยหยุดนิ่งดังกลาวขางตนแลว สถาบันยังมีช่ือเสียงในการใหความชวยเหลือ และสนับสนุนกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนเพื่อสาธารณชนมาโดยตลอด อาทิ โครงการนอมใจภักดิ์รักสมเด็จยา โครงการใหการตอนรับลูกเสือตางประเทศในงาน World Jamboree คร้ังท่ี 20 ท่ีจัดข้ึนในประเทศไทย การใหบริการผูนําประเทศตางๆ รวมกับ โรงแรม

Page 8: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

13

โอเรียนเต็ลในงานประชุม APEC ท่ีผานมากิจกรรมการคัดไปรษณียบัตรทายผลฟุตบอลโลก รวมกับบริษัท ไปรณียไทย จํากัด และมูลนิธิชวยคนปญญาออนแหงประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ นอกจากนี้สถาบันยังไดรับเกียรติเปนสถานท่ีต้ังของสมาคมตอตานยาเสพติด แหงประเทศไทย สโมสรลูกเสือกรุงเทพ และมูลนิธิอ่ืน ๆ อีกมากมาย นับเปนความภาคภูมิใจอยางยิ่งของชาวสันติราษฎรบริหารธุรกิจทุกคน S- SKILL เปนกระบวนการ สรางนักเรียนนักศึกษาของ SIBA ใหมีทักษะการปฏิบัติงานวิชาชีพ เพื่อสรางความเปนเลิศในดานวิชาการ ในแตละสาขาวิชา ท้ังการบัญชี การตลาดพิมพดีด คอมพิวเตอร การเลขานุการ การโรงแรมและภาษาตางประเทศ โดยเนนท้ังภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ เพือ่นําไปใชในการประกอบวิชาชีพตอไป I- INERNATIONAL มุงเนนใหนักเรียน - นักศึกษา รูจัก ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ภาษาของมวลมนุษยชาติ โดยจัดใหมีอาจารยตางชาติ เจาของภาษา ไดสอนใหนักเรียน นักศึกษา เกิดความรูดานทักษะ ภาษาอังกฤษ ตลอดจน นําคานิยมอันดีงาม และวิทยาการสมัยใหม มาพัฒนาตนใหเขากับยุคโลกาภวิัฒน โดยใชขอมูลสารสนเทศ และส่ือนวัตกรรม ดานเทคโนโลยีท่ีทันสมัย B- BUSINESS ในปจจุบันการดําเนนิงานดานธุรกิจ ไดเติบโตและพฒันาไปอยางรวดเร็ว ท้ังระบบการจดัการ การวางแผน รูปแบบ และวิธีการนําเสนอ และเพื่อให นกัเรียน - นักศึกษา ไดติดตามการพัฒนาอยางใกลชิด รวมท้ังฝกฝนความชํานาญ และการฝกการคิดคน วิธีการแกไขปญหาอยางรีบดวน สถาบันฯ จึงจดักจิกรรมใหนักเรียน นักศึกษา ไดฝกประสบการณตรง อันเปนการสรางนักธุรกิจรุนใหม ท่ีจะมีท้ังประสบการณ และวสัิยทัศนท่ีกาวไกล ออกไปรับใชสังคม A- ABILITY เนื่องจากความกาวหนาทางวิทยาการ และเทคโนโลยีท่ีเปนไปอยางรวดเร็ว อีกท้ังระบบการส่ือสาร ไดรับการ พัฒนาอยางตอเนื่องตลอดเวลา สถาบันฯ ตระหนกัดีถึงความสําเร็จดานนี ้จึงมุง พัฒนาระบบสารสนเทศใหทันสมัย เปนวิสัยทัศนกาวไกล มีมนุษยสัมพนัธ รักการทํางานเปนทีม รักงาน มีความสุขในงานอาชีพ พัฒนาตน และพัฒนางานอยางตอเนื่อง อันเปนสวนสําคัญ ในการ พฒันาสังคม และประเทศตอไป สถาบันเปรียบเสมือน ตนโพธ์ิ - ตนไทร ท่ีใหท้ังความรูและรมเงาความคงทนแข็งแรง เพราะนอกจากจะแผกิ่งกานสาขา และใบ ท่ียิ่งใหญใหท้ังรมเงา ความสดช่ืนแกผูท่ีพึ่งพาไมวาจะเปนตนไมเล็กๆ ตลอดจนสัตวและมนุษยท้ัง หลายไดรับความรมเย็นแลว ตนไทรยังหมายถึง ความกาวหนาของสถาบันในการใชเทคโนโลยทีางการศึกษา ใหความรูแกลูกศิษยอยางกวางขวาง และม่ันคงตลอดกาลสําหรับตนโพธ์ิเปนเสมือนการใหความรูทางจริยศึกษาโดยใช พระพุทธศาสนาเปนส่ือนํา

Page 9: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

14

โรงเรียนสันติราษฎรบริหารธุรกิจ ในพระอุปถัมภ สมเด็จภคินีเธอเจาฟา เพชรรัตนราชสุดาสิริโสภาพัณวด ีจึงเปนสถานท่ีท่ีใหท้ังความรู ความแข็งแกรง อดทน ความรมเยน็แกผูท่ี เขามาอาศัย ดุจรมโพธ์ิรมไทรบางคร้ังเราเรียกตนไมประจําสถาบันวา "โพธ์ิไทร" หลักสูตรท่ีเปดสอน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. ไดแก บัญชี การตลาด ภาษาตางประเทศ การโรงแรม การทองเท่ียว คอมพิวเตอรและเลขานุการ หลักสูตรท่ีเปดสอน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ไดแก สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ สาขาวิชาการโรงแรมและการทองเท่ียว (โรงเรียนสันติราษฎรบริหารธุรกิจ ในพระอุปถัมภ, 2552, ระบบออนไลน) 1.7 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ

โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ(SBAC) หรือ Siam Business Administration College เปนสถาบันการศึกษาระดับอาชีวศึกษาเอกชน ท่ีเปดสอนในระดบัประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ท้ังหลักสูตรภาคภาษาไทย (Thai Program) และหลักสูตร ภาคภาษาอังกฤษ(English Program) ในปการศึกษา 2540 คณะผูบริหาร คณาจารย และนกัเรียนโรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)ไดรับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุารี เสดจ็ พระราชดําเนนิเปนองคประธานในพิธีเปดอาคารเรียนในวันท่ี4 พฤศจิกายน 2540 นํามาซ่ึงความปลาบปล้ืมและ สํานึกในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพน สงผลให คณะผูบริหารโรงเรียนมีความ มุงม่ันในการดาํเนนิงาน เพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่องจนทําใหโรงเรียนไดรับ "โรงเรียนรางวัลพระราชทานในปการศึกษา 2546 และ 2550" และไดรับ"นักเรียนรางวัล พระราชทานปการศึกษา 2547" ดวยเจตนารมณในการพัฒนาการศึกษาใหมีประสิทธิภาพสูงสุดและสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงมีอิทธิพลอยางสูงตอการดําเนินธุรกิจโรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ จึงไดถือกําเนิดข้ึนมาเพื่อบุคลากรสายอาชีวะท่ีมีความชํานาญดานคอมพิวเตอรและเช่ียวชาญดานภาษาตางประเทศอยางถองแท เพื่อความเหนือกวาในโลกการแขงขัน นอกจากนี้โรงเรียนไดนําระบบการบริหารงานคุณภาพมาใชในการจัดการศึกษาจนไดรับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐานสากล ISO 9002 ท้ังระบบ เม่ือวันท่ี 1 ธันวาคม 2542 และ ISO 9001:2000 ท้ังระบบเม่ือวนัท่ี 31 มีนาคม 2547

Page 10: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

15

นอกจากนั้นโรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ยังไดพัฒนาคุณภาพการศึกษาจนไดรับการรับรอง ตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกจากสํานกังานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) คร้ังท่ี 1 ในวนัท่ี 22 พฤศจกิายน 2545จากเกยีรติคุณท่ีไดรับ เปนท่ีประจกัษถึงความมุงม่ันในการพัฒนาการศึกษาอยางตอเนื่อง โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจจึงไดผลิตบุคลากรสายอาชีวะท่ีมีความสําคัญในสาขาวชิาตาง ๆ สูสถานประกอบการมาโดยตลอดและยังไดรับพระกรุณาธิคุณจากทูลกระหมอมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดเีสด็จเปนองคประธานในพิธีประทานประกาศนียบัตรแกนักเรียนนักศึกษาต้ังแตปการศึกษา 2544 ถึงปปจจุบัน หลักสูตรท่ีเปดสอน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ไดแก งานคอมพิวเตอรธุรกิจ งานบัญชี งานขาย งานภาษาตางประเทศ งานการโรงแรมและการทองเท่ียว งานคอมพิวเตอร กราฟค หลักสูตรทีเปดสอน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ไดแก สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ สาขาวิชาการโรงแรมและการทองเท่ียว สาขาวิชาคอมพวิเตอรกราฟค (โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ, 2552, ระบบออนไลน) 2. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2548) (สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา, 2551, ระบบออนไลน) ประกอบดวย 2.1 หลักการของหลักสูตร 2.1.1 เปนหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลังมัธยมศึกษาตอนตน เพื่อพัฒนากําลังคนระดับฝมือใหมีความชํานาญเฉพาะดาน มีคุณธรรม บุคลิกภาพและเจตคติท่ีเหมาะสม สามารถประกอบอาชีพไดตรงตามความตองการของแรงงานและการประกอบอาชีพอิสระ สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคมท้ังในระดับทองถ่ินและระดับชาติ 2.1.2 เปนหลักสูตรท่ีเปดโอกาสใหเลือกเรียนไดอยางกวางขวาง เพื่อเนนความ ชํานาญดานการปฏิบัติจริง สามารถเลือกวิธีการเรียนตามศักยภาพและโอกาสผูเรียน ถายโอนผลการเรียนสะสมผลการเรียน เทียบความรูและประสบการณจากแหลงวิทยาการ สถานประกอบการ และสถานประกอบอาชีพอิสระได 2.1.3 เปนหลักสูตรท่ีสนับสนุนการประสานความรวมมือในการจัดการศึกษา รวมกันระหวางหนวยงานและองคกรท่ีเกีย่วของ ท้ังภาครัฐและเอกชน

Page 11: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

16

2.1.4 เปนหลักสูตรท่ีเปดโอกาสใหสถานศึกษาชุมชนและทองถ่ิน มีสวนรวม ในการพัฒนาหลักสูตรใหตรงตามความตองการและสอดคลองกับสภาพชุมชนและทองถ่ิน 2.2 จุดมุงหมายของหลักสูตร

2.2.1 เพื่อใหมีความรู ทักษะและประสบการณในงานอาชีพตรงตามมาตรฐาน วิชาชีพนําไปปฏิบัติงานอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกวิถีการดํารงชีวิตและ การประกอบไดอยางเหมาะสมกับตน สรางสรรคความเจริญตอชุมชม ทองถ่ินและประเทศชาติ 2.2.2 เพื่อใหเปนผูมีปญญา มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค ใฝเรียนรู เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพ สามารถสรางอาชีพมีทักษะในการจัดการและพฒันาอาชีพใหกาวหนาอยูเสมอ 2.2.3 เพื่อใหมีเจตคติท่ีดีตออาชีพ มีความม่ันใจและภาคภูมิใจในวิชาชีพท่ีเรียน รักงาน รักหนวยงาน สามารถทํางานเปนหมูคณะไดดี โดยมีความเคารพในสิทธิและหนาท่ีของตนและผูอ่ืน

2.2.4 เพื่อใหเปนผูมีพฤติกรรมทางสังคมท่ีดีงาม ท้ังในการทํางาน การอยูรวมกัน มีความรับผิดชอบตอครอบครัวหนวยงาน ทองถ่ินและประเทศชาติ อุทิศเพื่อสังคม เขาใจและเหน็คุณคาของศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน รูจักใชและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสรางส่ิงแวดลอมท่ีดี

2.2.5 เพื่อใหมีบุคลิกภาพ มีมนุษยสัมพนัธ มีคุณธรรม จริยธรรม และวนิัย ในตนเอง มีสุขภาพอนามัยท่ีสมบูรณ ท้ังรางกายและจิตใจ เหมาะสมกับงานอาชีพนั้นๆ

2.2.6 เพื่อใหตระหนกัและมีสวนรวมในการแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศและโลกปจจุบัน มีความรักชาติ สํานึกในความเปนไทย เสียสละเพ่ือสวนรวม การรักษาไวซ่ึงมีความม่ันคงของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข 2.3 หลักเกณฑการใชหลักสูตร การเรียนการสอน 2.3.1 การเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้ ผูเรียนสามารถลงทะเบียนเรียนไดทุก วิธีเรียนท่ีกําหนดและนําผลการเรียนแตละวิธีมาประเมินผลรวมกันได สามารถโอนผลการเรียน และขอเทียบความรูและประสบการณได

2.3.2 การจัดการเรียนการสอนเนนการปฏิบัติจริง โดยสามารถนํารายวิชาไปจัด ฝกในสถานประกอบการ ไมนอยกวา 1 ภาคเรียน

Page 12: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

17

เวลาเรียน ในปการศึกษาหนึ่งๆ ใหแบงภาคเรียนออกเปน 2 ภาคเรียนปกติ ภาคเรียนละ 20 สัปดาห โดยมีเวลาเรียนและจํานวนหนวยกิต ตามท่ีกําหนดและสถานศึกษาอาจเปดสอนภาคเรียนฤดูไดอีกตามท่ีเห็นสมควร ประมาณ 5 สัปดาห

การเรียนในระบบช้ันเรียน ใหสถานศึกษาเปดทําการสอนไมนอยกวาสัปดาหละ 5 วัน คาบละ 60 นาที หนวยกิต ใหมีจํานวนหนวยกิต ตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 102 หนวยกิต การคิด หนวยกิต ถือเกณฑดังนี ้ รายวิชาภาคทฤษฎี 1 ช่ัวโมงตอสัปดาห ตลอดภาคเรียนไมนอยกวา 20 ช่ัวโมง มีคา 1 หนวยกิต รายวิชาท่ีประกอบดวยภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติใหบูรณาการการเรียนการสอน กําหนด 2-3 ช่ัวโมงตอสัปดาห ตลอดภาคเรียนไมนอยกวา 40-60 ช่ัวโมง 1 หนวยกิต รายวิชาท่ีนําไปฝกงานในสถานประกอบการ กําหนดเวลาในการฝกปฏิบัติงานไมนอยกวา 40 ช่ัวโมง มีคา 1 หนวยกิต การฝกอาชีพในระบบทวิภาคี ใชเวลาไมนอยกวา 40 ช่ัวโมง มีคา 1 หนวยกติ 2.4 มาตรฐานวิชาชีพ

การเรียนการสอนควรส่ือสารโดยใชภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาอ่ืนใน ชีวิตประจําวันและในงานอาชีพพัฒนาตนเองและสังคมตามหลักศาสนา สิทธิหนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ พัฒนาตนเอง พัฒนางานอาชีพ และแกไขปญหา โดยใชหลักการกระบวนการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรพัฒนาบุคลิกภาพและสุขภาพของตนเอง โดยใชหลักการกระบวนการดานสุขศึกษาวางแผนประกอบอาชีพดานธุรกิจ โดยนําระบบบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิตมาใชในองคกรจัดคุณภาพส่ิงแวดลอม อาชีวอนามัย และความปลอดภัยในองคกรและชุมชนใชโปรแกรมสําเร็จรูปและระบบสารสนเทศ เพื่อพัฒนางานดานธุรกิจประยุกตใชหลักการพื้นฐานงานอาชีพดานธุรกจิ ในการปฏิบัติงานและในชีวิตประจําวัน 3. ทฤษฎีการตัดสินใจ วิทยา วิสูตรเรืองเดช (2545, หนา 27) ในการดําเนินชีวิตของแตละบุคคล จะตองผานกระบวนการตางๆ อยูมากมายโดย การตัดสินใจเลือกกระทํา หรือละเวนไมกระทํากิจกรรมตางๆ ของตน ข้ึนอยูกับพื้นฐานเหตุผลของความแตกตางระหวางบุคคล ตางกันออกไปตามปจจัยสวนตัว และปจจยัแวดลอม การตัดสินใจเพื่อตนเองหรือการตัดสินใจเพื่อสวนรวมซ่ึงข้ึนอยูกบั ความเช่ือ คานิยม ทัศนคติ และแรงจูงใจตางๆ

Page 13: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

18

3.1 ความหมายของการตดัสินใจ การตัดสินใจมีหลายความหมาย แตสวนใหญมักใหนิยามวาเปนการเลือกท่ีจะกระทํา

หรือปฏิบัติส่ิงใดส่ิงหนึ่ง จากทางเลือกหลายทางเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงค และเปาหมายท่ีวางไว โดยไดมีนักวชิาการไดใหคําจํากัดความหรือคํานิยามไว ดังนี ้ ฮินเนส และ มาสิค (Hynes & Massie, อางถึงใน ดลฤดี สุวรรณคีรี, 2536, หนา 5) กลาววา การตดัสินใจ คือการกระทําตามท่ีต้ังใจเลือก เพือ่ใหบรรลุผลท่ีต้ังไว แฮรีสัน Harrison (อางถึงใน ปญญา บุญเลิศลํ้า, 2546, หนา 18) ไดสรุปเกี่ยวกับการใหคํานยิามของการตัดสินใจวา เปนกระบวนการประเมินผลเกี่ยวกับทางเลือก หรือตัวเลือก หรือตัวเลือกท่ีจะนาํไปสูการบรรลุเปาหมาย และการคาดคะเนผลท่ีเกิดทางเลือกปฏิบัติ ท่ีจะสงผลถึง การบรรลุเปาหมายไดมากท่ีสุด Friedman’s Consumption Function (1994, p. 9) นิยามความหมายของการตัดสินใจ คือความสามารถในการทํางานหรือการบริหารงาน นอกจากบุคคลจะตองมีความรูความสามารถในงานท่ีปฏิบัติแลวส่ิงสําคัญประการหนึ่งของผูปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งหวัหนางานหรือผูบริหารก็คือ การตัดสินใจ (Decision making) การตัดสินใจเปรียบเสมือนหัวใจของการปฏิบัติงานและบริหารงาน ท้ังนี้เพราะการตัดสินใจจะมีอยูในแทบทุกข้ันตอนและทุกกระบวนการของการทํางาน แมแตบุคคลท่ัวไปก็ไมอาจหลีกเล่ียงเร่ืองการตัดสินใจได นับต้ังแตบุคคลต่ืนข้ึนมาก็จะมีการตัดสินใจในเร่ืองตาง ๆ อยูตลอดเวลา ไมวาจะเปนการเลือกชุดท่ีจะใส เวลาท่ีจะออกจากบาน เสนทางท่ีจะใชเดินทาง เปนตน แตดเูหมือนวาการตัดสินใจในเร่ืองท่ัว ๆ ไปเหลานี้เปนเร่ืองท่ีไมตองพิจารณาอะไรมากมายนัก แมตัดสินใจแลวผิดพลาดก็สามารถแกไขไดไมยาก แตถาเร่ืองท่ีตัดสินใจนั้นเปนเร่ืองใหญ ซ่ึงหมายถึง เร่ืองท่ีหากตัดสินใจแลวผิดพลาดจะเกิดความเสียหายมากหรือแกไขไดยาก การตัดสินใจในเร่ืองใหญ ๆ เหลานี้ควรตองพิจารณาใหรอบคอบกอนท่ีจะตัดสินใจลงไป ท้ังนี้การตัดสินใจในบางเร่ืองของบุคคลอาจหมายถึงชีวติหรืออนาคตของบุคคลนัน้ ทํานองเดียวกนักับการตัดสินใจในบางเร่ืองของผูนาํหรือผูบริหารอาจหมายถึงความอยูรอดหรือไม ของกลุม ของหนวยงาน หรือขององคการ เปนตน สรุปการตัดสินใจนับวาเปนส่ิงที่สําคัญอยางยิ่งตอชีวิตและการทํางานของบุคคล และถือเปนบทบาทท่ีสําคัญของผูนําหรือผูบริหารในการจัดการหรือบริหารงานซ่ึง จะนําพาใหเกดิความอยูรอดหรือไม ของกลุม หนวยงาน หรือองคการ การตัดสินใจท่ีดีนั้นจะกอใหเกิดความผิดพลาดนอยท่ีสุด ดังนั้นผูท่ีจะตัดสินใจจึงควรหาขอมูลหรือมีขอมูลท่ีดีและมีกระบวนการท่ีดีใหการตดัสินใจ ตลอดจนตระหนักถึงสาเหตุท่ีทําใหเกิดการตัดสินใจผิดพลาดอีกดวยแลว การตัดสินใจก็จะเกิดผลดีมากท่ีสุดและเกดิความผิดพลาดนอยท่ีสุด

Page 14: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

19

3.2 ทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับการตดัสินใจ กาญจนา เกียรติมณีรัตน (2548, หนา 11) ไดใหความหมาย “แรงจูงใจ” วา

การตระหนักถึงความตองการเปนสภาวะภายในจิตใจของบุคคล ท่ีมีพลังขับเคล่ือนภายในตัวของบุคคลโดยมีกลไกกระตุนขับเคล่ือนของรางกายทําใหเกิดการกระทําในส่ิงท่ีตองการอยางมีเปาหมาย ท้ังนี้สภาวะในจิตใจจะตองสัมพันธกับรางกาย จึงเปนแรงจูงใจใหบุคคลแสดงพฤติกรรมตามท่ีตนตองการ ซ่ึง แรงจูงใจ แบงออกเปน 2 ประเภทไดแก

3.2.1 แรงจูงใจภายนอก เปนแรงจูงใจท่ีเกิดจากการนํากิจกรรมมากระตุนใหบุคคลอ่ืนทําในส่ิงท่ีตนเองตองการท่ีเกี่ยวกับ การเสริมแรง และส่ิงจูงใจตางๆ ซ่ึงนักจิตวิทยากลุมพฤติกรรมนิยมเช่ือวา การแสดงพฤตกิรรมหรือการเรียนรูของบุคคลเปนผลผลิตมาจากปจจัยเสริมแรงเกี่ยวกับส่ิงแวดลอม 3.2.2 แรงจูงใจภายใน

เปนแรงจูงใจท่ีเกิดจากความตองการของมนุษย เปนแรงผลักดันมาจากภายใน ซ่ึงนักวิทยากลุมมนุษยนิยมเช่ือวา มนุษยมีแรงขับจากภายในท่ีจะทําส่ิงตางๆ ดวยตนเอง โดยปราศจากอิทธิพลของส่ิงแวดลอม (John L. Holland, 2525) เปนผูสราง "แบบสํารวจความพอใจในอาชีพ" (The Vocational Preference Inventory) ไดสราง "ทฤษฎีการเลือกอาชีพ" ท่ีมาของทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด"ทฤษฎีการเลือกอาชีพ" ของฮอลแลนดเปนผลจากการสังเกตของเขาและของคนอ่ืนๆ เกีย่วกับความสนใจ ลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล และมีสวนสัมพนัธกับทฤษฎีของกิลฟอรด (Guilford, 1954) ซ่ึงไดวิเคราะหบุคลิกภาพและความสนใจของบุคคลออกเปน 6 ประเภท คือ ดานจักรกล ดานวทิยาศาสตร ดานบริการสังคม ดานสารบรรณ ดานธุรกิจ และดานศิลปะ ทฤษฎีเกีย่วกับเร่ืองความตองการ (Needs) และแรงกดดัน (Pressures) ของเมอรเรย (Murray, 1938) ก็เปนแรงกระตุนอีกอยางหน่ึงท่ีทําใหฮอลแลนดคิดทฤษฎีของเขาข้ึน กลาวโดยสรุป "ทฤษฎีการเลือกอาชีพ" ของฮอลแลนดมีแนวคิดพืน้ฐานดังนี ้ 1. การเลือกอาชีพเปนการแสดงออกซ่ึงบุคลิกภาพ 2. แบบสํารวจความสนใจคือแบบสํารวจบุคลิกภาพ

ฮอลแลนดไดกลาวถึง "การเลือกอาชีพ" ไววา "การเลือกอาชีพคือ การกระทําท่ีสะทอนใหเห็นถึงแรงจูงใจ ความรู บุคลิกภาพ และความสามารถของบุคคล อาชีพเปนวิถีชีวิต สวนส่ิงแวดลอมเปนส่ิงท่ีช้ีใหเห็นงานและทักษะ" การกําหนดลักษณะบุคลิกภาพฮอลแลนดไดจําแนกลักษณะบุคลิกภาพตามความสนใจอาชีพตาง ๆ 6 ประเภท โดยมีเปาหมายดังนี้

Page 15: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

20

1. บุคลิกภาพของผูมีความสนใจอาชีพประเภทงานชางฝมือและกลางแจง (Realistic) พันธุกรรมและประสบการณทําใหบุคคลกลุมนี้ชอบประกอบกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับส่ิงของ เคร่ืองมือ จักรกล และสัตวเล้ียง แตไมชอบกิจกรรมดานการศึกษาและการแพทย ดังนั้นบุคคลกลุมนี้จึงมีความสามารถทางดานการชาง เคร่ืองยนต การเกษตร ไฟฟา และเทคนิค แตดอยความสามารถทางดานสังคมและการศึกษา สรุปแลว บุคคลกลุมนี้จะมีพฤติกรรมดังนี ้

1.1 ชอบอาชีพประเภทงานชางฝมือและกลางแจง แตไมชอบอาชีพประเภทงานบริการการศึกษาและสังคม 1.2 ใชความสามารถท่ีมีในการแกปญหาเกีย่วกับการงานและเร่ืองอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของจากประสบการณ 1.3 รับรูตัวเองในฐานะผูมีความสามารถทางดานเคร่ืองยนตและกีฬาแตขาดความสามารถทางดานการเขาสังคม นิยามส่ิงท่ีเปนรูปธรรมและนิยามลักษณะภายนอกของบุคคล เชน เงิน อํานาจ สถานภาพ และโดยเหตุท่ีมีความสนใจ ความสามารถและคานิยมตาง ๆ ดังกลาวขางตน บุคคลกลุมนี้จึงมีลักษณะตอไปนี้คือ ข้ีอาย หวัออน เปดเผย จริงจัง แข็งแรง วัตถุนิยม เปนธรรมชาติ เรียบ ๆ พากเพยีร เสมอตนเสมอปลาย เก็บตัว ม่ันคง มัธยสัถ ไมคิดลึก ไมหมกมุน อาชีพท่ีบุคคลกลุมนี้สนใจ ไดแก ชางไฟฟา ชางประปา ชางวิทยุ ชางทําบล็อค คนขับรถขดุดนิ เปนตน 2. บุคลิกภาพของผูมีความสนใจอาชีพประเภทงานวิทยาศาสตรและเทคนิค (Investigative) จากอิทธิพลจากพันธุกรรมและประสบการณทําใหบุคคลกลุมนี้ชอบประกอบกิจกรรมท่ีเกีย่วของกับการสังเกตสัญลักษณ การจัดระบบ การทดลองดานกายภาพ ชีวภาพ และปรากฏการณทางวัฒนธรรม เพื่อจะไดเขาใจและควบคุมปรากฏการณนั้น ๆ แตไมชอบกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการชักชวน การเขาสังคม และการเลียนแบบ ดังนั้นบุคคลกลุมนี้จึงมีความสามารถทางดานวิทยาศาสตรและการคํานวณ แตดอยความสามารถทางดานการโฆษณาชักชวนสรุปแลว บุคคลกลุมนี้จะมีพฤติกรรมดังนี ้

2.1 ชอบอาชีพประเภทงานวิทยาศาสตรและเทคนิค และไมชอบอาชีพคาขาย

2.2 ใชความสามารถท่ีมีในการแกปญหาเกีย่วกับการงานและเร่ืองอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวของจากประสบการณ

2.3 รับรูตัวเองในฐานะนกัวชิาการ เช่ือม่ันในความคิดของตนเองมีความสามารถทางดานการคํานวณและวิทยาศาสตร แตขาความสามารถทางดานการเปนผูนํา

Page 16: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

21

2.4 มีคานิยมทางดานวิทยาศาสตร และโดยเหตุท่ีมีความสนใจความสามารถ การรับรูตนเอง และคานิยมตาง ๆ ดังกลาวขางตน บุคคลกลุมนี้จึงมีลักษณะตอไปนี้คือ ชอบวิเคราะห รอบคอบ เปนนักวจิารณ ใฝรู รักอิสระ ฉลาด เก็บตัว มีหลักการ อดทน เฉียบขาด มีเหตุผล ไวตัว อาชีพท่ีบุคคลกลุมนี้สนใจ ไดแก นกัอุตุนยิมวิทยา นักชีววิทยา นักเคม ีนักฟสิกส นกัเขียนบทความทางวิชาการ เปนตน

3. บุคลิกภาพของผูมีความสนใจอาชีพประเภทงานบริการการศึกษาและสังคม (Social) พันธุกรรมและประสบการณทําใหบุคคลกลุมนี้ชอบประกอบกิจกรรมท่ีเกีย่วของกับการใหความรู การฝกหัด การพัฒนา การอนุรักษ และการส่ังสอน แตไมชอบกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับ วัตถุเคร่ืองมือ เคร่ืองยนต ดังนั้น บุคคลกลุมนี้จึงมีความสามารถทางดานมนุษยสัมพันธ เชน งานประชาสัมพันธ งานบริการวิชาการ แตดอยความสามารถดานการชางและเทคนิค สรุปแลว บุคคลกลุมนี้จะมีพฤติกรรมดังนี ้

3.1 ชอบอาชีพประเภทงานบริการการศึกษาและสังคม แตไมชอบอาชีพประเภทงานชางฝมือและกลางแจง

3.2 ใชความสามารถท่ีมีในการแกปญหาเกีย่วกบัการงานและเร่ืองอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของจากประสบการณ

3.3 รับรูตัวเองในฐานะคนท่ีชอบชวยเหลือผูอ่ืน เขาใจผูอ่ืน มีความสามารถทางดานการสอน แตขาดความสามารถทางดานเคร่ืองยนตและวิทยาศาสตร

3.4 มีคานิยมเกีย่วกับปญหาและกิจกรรมดานสังคมและการกีฬา และ โดยเหตุท่ีมีความสนใจ ความสามารถ การรับรูตนเอง และคานิยมตาง ๆ ดังกลาวขางตน บุคคลกลุมนี้จึงมีลักษณะตอไปนี้คือ มีอํานาจ ใหความรวมมือ มีความเปนหญิง มีไมตรีจิต กวางขวาง ชอบบําเพ็ญประโยชน มีอุดมคติ มีความคิดลึกซ้ึง เมตตากรุณา จูงใจคนเกง มีความรับผิดชอบ ชอบเขาสังคม รูจักกาละเทศะ มีความเขาใจเพื่อนมนุษย อาชีพท่ีบุคคลกลุมนี้สนใจ ไดแก ครู นักจิตวิทยา จติแพทย นักสังคมสงเคราะห ท่ีปรึกษาปญหาสวนตัว เปนตน

4. บุคลิกภาพของผูมีความสนใจอาชีพประเภทงานสํานกังานและเสมยีน (Conventional) พันธุกรรมและประสบการณทําใหบุคคลกลุมนี้ชอบกิจกรรมท่ีเปนรูปธรรม เปนการจดัระบบหรือระเบียบ เชน เก็บรายงาน จัดขอมูล คัดลอกขอมูล จัดหมวดหมูรายงาน และขอมูลเกีย่วกบัตัวเลข แตไมชอบกิจกรรมท่ีเปนนามธรรม มีอิสระ ตองคนควา ไมเปนระบบแบบแผน ดังนั้น บุคคลกลุมนี้จึงมีความสามารถทางดานงานสารบรรณ การคํานวณ งานธุรกิจ แตดอยความสามารถทางดานศิลปะ สรุปแลว บุคคลกลุมนี้จะมีพฤติกรรมดังนี้

Page 17: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

22

4.1 ชอบอาชีพประเภทงานสํานักงานและเสมียน แตไมชอบอาชีพประเภทงานศิลปะ ดนตรี และวรรณกรรม

4.2 ใชความสามารถท่ีมีในการแกปญหาเกีย่วกับการงานและเร่ืองอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของจากประสบการณ

4.3 รับรูตัวเองในฐานะผูชอบเลียนแบบ ชอบขัดระเบียบ มีความสามารถทางดานงานสารบรรณและตัวเลข แตขาดความสามารถทางดานศิลปะ 4.4 คานิยมผูประสบความสําเร็จดานงานธุรกิจและเศรษฐกิจ และโดยเหตุท่ีมีความสนใจ ความสามารถ การรับรูตนเอง และคานิยมตาง ๆ ดังกลาวขางตน บุคคลกลุมนี้ จึงมีลักษณะตอไปนี้คือ ชอบเลียนแบบ ยติุธรรม วางทา มีสมรรถภาพ ไมยืดหยุน มีหิริโอตัปปะ ออนนอม เรียบรอย พากเพยีร คลองแคลว เจาระเบียบ เยอืกเย็น ไมมีจนิตนาการ อาชีพท่ีบุคคลกลุมนี้สนใจ ไดแก นักบัญชี ผูดูแลสินคาในสตอก ผูควบคุมเคร่ืองคอมพิวเตอร เสมียนจายเงิน พนักงานจดคําใหการในศาล เปนตน 4.5 บุคลิกภาพของผูมีความสนใจอาชีพประเภทงานจัดการและคาขาย ( Enterprising ) พันธุกรรมและประสบการณทําใหบุคคลกลุมนี้ชอบประกอบกิจกรรมที่เกีย่วของกับการวางแผน หรือผลประโยชนดานเศรษฐกิจ แตไมชอบกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการสังเกต เปนสัญลักษณ หรือเปนระเบียบแบบแผน ดังนั้น บุคคลกลุมนี้จึงมีความสามารถทางดานการเปนผูนํา การประชาสัมพันธ การชักชวน แตดอยความสามารดานวิทยาศาสตร 5. บุคลิกภาพของผูมีความสนใจอาชีพประเภทงานศิลปะ ดนตรีและวรรณกรรม (Artistic)พันธุกรรมและประสบการณทําใหบุคคลกลุมนี้ชอบประกอบกิจกรรมที่เกี่ยวของกับนามธรรม เปนอิสระ ไมเปนระเบียบแบบแผน แตไมชอบกิจกรรมที่เกี่ยวของกับรูปธรรม เปนระเบียบแบบแผน ดังนั้น บุคคลกลุมนี้จึงมีความสามารถทางดานศิลปะ ภาษา ดนตรี การละคร การเขียน แตดอยความสามารถดานธุรกิจ งานสารบรรณ สรุปแลว บุคคลกลุมนี้จะมีพฤติกรรมดังนี้

5.1 ชอบอาชีพประเภทงานศิลปะ ดนตรี และวรรณกรรม แตไมชอบอาชีพประเภทงานสํานักงานและเสมียน 5.2 ใชความสามารถท่ีเขามีแกปญหาเกีย่วกบัการงานและเร่ืองอ่ืน ๆ 5.3 รับรูตัวเองในฐานะคนท่ีชอบแสดงออก มีความคิดริเร่ิม มีพรสวรรค มีความเปนหญิง ไมชอบเลียนแบบ รักอิสระ มีความสามารถทางดานศิลปะและดนตรี การแสดง การเขียน การพูด

Page 18: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

23

5.4 นิยมผูมีความสามารถทางดานการศึกษา และโดยเหตุท่ีมีความสนใจ ความสามารถ การรับรูตนเอง และคานยิมตาง ๆ ดังกลาวขางตน บุคคลกลุมนี้จึงมีลักษณะตอไปนี้คือ จุกจิก ไมมีระเบียบ เจาอารมณ มีความเปนหญิง มีอุดมคติ เพอฝน ไมจริงจัง ใจรอน รักอิสระ ชางคิด ไมชอบเลียนแบบ มีความคิดริเร่ิม อาชีพท่ีบุคคลกลุมนี้สนใจ ไดแก นักดนตรี นักประพนัธ นักโฆษณา นกัรอง ผูคาศิลปวัตถุ เปนตน ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจอีกอยางหนึ่งคือ แรงจูงใจ (อางถึงใน ดลฤด ี สุวรรณคีรี, 2536, หนา 6-13) “ทฤษฎีลําดับข้ันความตองการของมาสโลว” (Maslow’s Hierarchy of Needs) ทฤษฎีของมาสโลวไดจัดลําดับข้ันความตองการขอมนุษยออกเปน 5 ประเภท 5 ระดับ ดงันี้คือ ระดับท่ี 1 ความตองการทางดานรางกาย (Physiological needs) ไดแก ความตองการ ข้ันพื้นฐานเบ้ืองตน อันเปนส่ิงจําเปนเพื่อการดํารงชีพของมนุษย ไดแก อาหาร น้ํา อากาศ การพักผอนหลับนอน และความตองการทางเพศ เปนตน ความตองการเหลานี้จะตองไดรับการตอบสนองจนเปนท่ีพอใจกอนความตองการในระดับสูงข้ึนจึงจะเกดิข้ึน ระดับท่ี 2 ความตองการความปลอดภัย (Safety needs) เปนความตองการที่เกิดขึ้นภายหลังจากความตองการในระดับท่ี 1 ไดรับการตอบสนองจนเปนท่ีพอใจแลวและมีความรูสึกอิสระไมตองเปนหวงกังวลกับความตองการทางดานรางกายอีกตอไป ความตองการความปลอดภยัจึงเกิดข้ึน ความตองการนี้จะเห็นไดชัดในเด็กเล็ก ซ่ึงตองการความอบอุนปลอดภัยจากพอแม ซ่ึงสอดคลองตามลักษณะ “ความตองการหลีกเล่ียงอันตราย” (Harmavoidance need ) ระดับท่ี 3 ความตองการทางสังคม (Social needs) บางคร้ังเรียกอีกอยางหนึ่งวา “ความตองการความรักและการเปนเจาของ” ( Love and Belongingness ) เปนความตองการท่ีจะมีความรักความผูกพันกบัผูอ่ืน เชน ความรักจากเพื่อน เพื่อนรวมงาน ครอบครัว หรือคนรัก เปนตน ซ่ึงความรักดังกลาวนี้มีความหมายรวมถึงท้ังการใหและการรับความรักดวย ซ่ึงความตองการดังกลาวนี้ เมอรเรย เรียกวา “ความตองการความรักความผูกพัน” (Affiliation need) ระดับท่ี 4 ความตองการมีเกียรติยศมีศักดิ์ศรีในสังคม (Esteem needs หรือ Egoistic needs) เปนความตองการท่ีเกี่ยวของกับความรูสึกของตนเองวาตนเองมีประโยชนมีคุณคา และตองการใหผูอ่ืนเห็นคุณคาของตน ยอมรับนับถือยกยองตนวาเปนผูมีช่ือเสียง มีเกยีรติยศ และ มีศักดิ์ศรีดวย ซ่ึงความตองการดังกลาวนี ้มีลักษณะเหมือนกับ “ความตองการประสบความสําเร็จ” (Achievement Need) ของเมอรเรย นั่นเอง ระดับท่ี 5 ความตองการสมหวังในชีวติ (Self-Actualization หรือ Self-Fulfillment needs) เปนความตองการข้ันสูงสุดท่ีบุคคลปรารถนาท่ีจะไดรับผลสําเร็จในส่ิงท่ีตนคิด และต้ังความหวังไว ซ่ึงแตละคนตางต้ังความมุงหวังของตนเองไวแตกตางกนั จึงยากท่ีจะใหคํานิยามได แตหากจะกลาว

Page 19: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

24

งายๆ ก็อาจจะกลาวไดวา ความตองการนี้เปนความตองการท่ีตนอยากจะใหตนเองเปนในชีวิต เพือ่บรรลุวัตถุประสงคท่ีไดต้ังความหวังไว สรุปไดวาการตัดสินใจนั้น มีกระบวนการตัดสินใจท่ีนักวิชาการไดแบงข้ันตอนกระบวนการตดัสินใจไว หลากหลายแตกตางกันไป ตามความเช่ือ และประสบการณของแตละบุคคล ซ่ึงสรุปไดดังนี้ 3.3 กระบวนการตัดสินใจ กาญจนา เกียรติมณีรัตน (2548, หนา 65) ไดใหความหมายของการตัดสินใจซ้ือของผูบริโภความีกระบวนการและพฤติกรรมท่ีคลายคลึงกัน ซ่ึงสามารถสรุปกระบวนการตัดสินใจซ้ือและพฤติกรรมของผูบริโภคเปนองคประกอบ 3 สวนใหญ คือ ปจจัยนําเขา (Input) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ (Output) โดยมีรายละเอียดดังนี ้ 3.3.1 ปจจัยนาํเขา (Input)

มีองคประกอบท่ีเกิดจากปจจัยภายนอก (External influence) ซ่ึงเปนแหลงขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ ปจจัยภายนอกดังกลาวมีอิทธิพลตอคานิยม (Values) ทัศนคติ (Attitudes) และพฤติกรรมของผูบริโภค โดยเฉพาะปจจัยภายนอกท่ีอิทธิพลตอผูบริโภคมาก คือ ปจจัยดานการตลาด และปจจัยดานสังคมวฒันธรรม ปจจัยดานการตลาด (Marketing inputs) เปนกิจกรรมทางการตลาดท่ีพยายามเขาถึงการแจงขอมูลขาวสารและจงูใจใหผูบริโภคใหซ้ือและใชผลิตภัณฑ เรียกวา กลยุทธสวนผสมทางการตลาด ไดแก การโฆษณา การใหขาวประชาสัมพันธสินคา และการขายตรงใหแกผูบริโภค ปจจัยดานสังคม วัฒนธรรม (Sociaocultural inputs) ปจจัยนําเขาในดานนี้เกี่ยวของกับสภาพแวดลอมดานสังคมวัฒนธรรม ซ่ึงเปนปจจยัภายนอกทีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ ไดแก สมาชิกในครอบครัว ชนชั้นทางสังคม ตลอดจนแหลงขอมูลท่ีไมเปนทางการ และแหลงขอมูลท่ีอ่ืนท่ีไมใชทางธุรกิจ ท้ังนี้ ปจจัยดานสังคมวฒันธรรมไมจําเปนตองสนับสนุนการซ้ือหรือบริโภคผลิตภัณฑนั้น แตอาจจะทําใหผูบริโภคตอตานการใชผลิตภณัฑกไ็ด 3.3.2 กระบวนการ (Process) กระบวนการตดัสินใจซ่ึงปจจัยภายในประกอบไปดวย แรงจูงใจ การรับรู การเรียนรู บุคลิกภาพ และทัศนคติ ของผูบริโภค แยกเปนองคประกอบ 3 ข้ันตอน คือ ข้ันความตองการรับรู (Need recognition) เนื่องจากผูบริโภคตระหนักถึงปญหาหรือความตองการที่เกิดข้ึน แตยังไมไดรับการตอบสนองทําใหเกิดความเครียด ความกดดัน ตองการที่จะผอนคลายความตองการที่เกิดข้ึน ซ่ึงอาจเปนความตองการพื้นฐานท่ีเกิดจากสภาพ

Page 20: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

25

รางกาย หรือความตองการที่เกิดข้ึนเม่ือไดรับการกระตุนจากส่ิงเราภายนอก เชน จากการโฆษณา เปนตน ข้ันการคนหาขอมูลกอนตัดสินใจ (Prepurchase search) ถาความตองการที่เกดิข้ึนรุนแรง และมีส่ิงซ่ึงสามารถสนองความตองการได ผูบริโภคก็จะตัดสินใจซ้ือ แตถาไมเปนไปตามความตองการ ความตองการนี้ก็จะถูกเก็บสะสมไวในความทรงจํา และอาจมีการคนหาขอมูลตอไปอยางจริงจัง หรือหยุดการคนหาขอมูล ทั้งนี้ข้ึนอยูกับระดับความตองการของผูบริโภค แหลงขอมูลอาจมาจากหลายแหลง เชน ครอบครัว เพื่อน ผูคุนเคย หรืออาจไดมาจากการโฆษณา พนักงานขาย การแสดงสินคา และการเผยแพรโดยส่ือมวลชน ตลอดจนการทดลองใชผลิตภัณฑของผูบริโภคเอง

อิทธิพลของขอมูลขาวสารที่ผูบริโภคไดรับแตกตางกันไปตามประเภทของ ผลิตภัณฑ และคุณลักษณะสวนตัวของผูบริโภค โดยท่ัวไปแลวผูบริโภคไดรับขอมูลจากแหลงการคามากท่ีสุด แตแหลงสวนตัวจะมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือมากท่ีสุด แหลงการคามักจะใหขอมูลในรูปของการแจงขาวสาร สวนขอมูลจากแหลงสวนตัวจะใชสําหรับประเมินผลิตภัณฑ เชน แมบานเรียนรูจากขาวสารเกี่ยวกับน้ํามันพืชจากโฆษณา แตจะพูดคุยกับสมาชิกในครอบครัว เพื่อประเมินคาจากขาวสารที่ไดรับการประเมินทางเลือก (Evaluation of alternative) ขอมูลท่ีได จากแหลงตางๆ

ท่ีกลาวมาแลว นักเรียนหรือผูท่ีเกี่ยวของจะนํามาประเมินทางเลือกตามขอมูลท่ีมีอยู การประเมินคาจะเปนอยางไรนัน้ข้ึนอยูกับบุคลิกภาพของผูเรียน แตอยางไรกต็ามการศึกษาพบวา มาตรฐาน 4 ประการท่ีผูเรียนหรือผูท่ีเกี่ยวของในการเลือกตัดสินใจศึกษาตอ ไดแก คาใชจาย การปฏิบัติงาน ความเหมาะสม และความสะดวก ข้ันการประเมินทางเลือก (Evaluation alternative) ขอมูลท่ีไดจากแหลงตางๆ ท่ีกลาวมาแลว ผูบริโภคจะนํามาใชในการประเมินทางเลือกตามขอมูลท่ีมีอยู การประเมินคาจะเปนอยางไรนั้นข้ึนอยูกับบุคลิกภาพของผูบริโภค การรับรูถึงความตองการ ตลอดจนอิทธิพลท่ีไดรับจากกลุมอางอิงตางๆ แตอยางไรก็ตามการศึกษาพบวา มาตรฐานพื้นฐาน 4 ประการ ที่ผูบริโภคใชประเมินคา ไดแก คาใชจาย (Cost) การปฏิบัติงาน (Performance) ความเหมาะสม (Suitability) และความสะดวก (Convenience) ซ่ึงมาตรการเหลานี้สามารถนํามาปรับใชใหเขากับคุณลักษณะของผลิตภัณฑ/สินคาได

Page 21: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

26

3.3.3 ผลลัพธ (Output) ผลท่ีไดจากการตัดสินใจจากปจจัยตางๆ ท่ีมีผลตอการตัดสินใจ วุฒิชัย จํานงค

(อางถึงใน ดลฤดี สุวรรณคีรี, 2539, หนา 8 – 10) แบงกระบวนการตัดสินใจออกเปน 6 ข้ันตอนดังตอไปนี ้ 3.3.3.1 การแยกแยะ (Problem identification) ข้ันตอนแรกของการตัดสินใจนั้น เปนเร่ืองของการสรางความแนใจ ม่ันใจโดยการคนหา ทําความเขาใจกับกับส่ิงท่ีตองการอยางท่ีแทจริง ท่ีวาเปนเร่ืองการแยกแยะส่ิงท่ีตองการออกมาแนชัดนั้น ก็เพราะกระบวนการตัดสินใจจะเร่ิมตนตามข้ันตอนแรกเม่ือผูกระทําการตัดสินใจมีความรูวาไดเกิดปญหาข้ึนมา ซ่ึงโดยท่ัวไปแลว ส่ิงท่ีตองการนี้จะเรียกรองความสนใจหรือความต้ังใจในอันท่ีจะแกปญหาเหลานัน้

3.3.3.2 การหาขาวสารที่เกี่ยวกับตัวปญหานั้น (Information seaech)ในข้ันท่ี 2 เปนการเสาะแสวงหาขาวสารท่ีเกี่ยวของกบัสาเหตุของปญหามากท่ีสุดท่ีจะมากได ท้ังนี้การเสาะหาขอมูลขาวสารควรเปนไปตามแนวความคิดท่ีวา ขาวสารนั้นจําเปนตองมีความเกีย่วของ ตลอดจนมีความเพียงพอกับการตัดสินใจมากนอยเพยีงใด

3.3.3.3 การประเมินคา (Evalution of information) การประเมินคาจําเปนตอการวิเคราะหหาความตองการวาถูกตอง เหมาะสม เพยีงพอหรือไม หลักจากการประเมินคาแลว ไมเพียงพอหรือไมเกี่ยวของเทาท่ีควร จําเปนตองตัดขอมูลบางอยางออกไป ถาเห็นวาไมเกี่ยวของกับส่ิงท่ีตองการเผ่ือเปนขอมูลในการตัดสินใจ

3.3.3.4 การกาํหนดทางเลือก (Listing of alternatives) ในข้ันนี้เองท่ีโดยท่ัวไป มักจะเห็นเปนข้ันสําคัญมากของกระบวนการตัดสินใจ คือการกําหนดทางเลือกมากที่สุดเทาท่ีจะมากได แตไดกลาวแลวในกระบวนการตัดสินใจตามข้ันตอนการกําหนดทางเลือกหรือเลือกทางใดนั้น เปนการท่ีพยายามครอบคลุมวิถีทางท่ีจะแกปญหาไดหลายๆ ถามีขาวสารสมบูรณและสําหรับปญหาแตละเร่ือง อาจจะกําหนดทางเลือกไดเหมาะสมและครอบคลุมอยางแทจริงวาในบรรดาทางเลือกท่ีกําหนดออกมานัน้ยังไมสมบูรณ เพราะเหตุวาขาวสารที่ไดมานั้นไมสมบูรณนั้นมีความสําคัญหรือจําเปนมากนอยเพยีงใด

3.3.3.5 การเลือกทางเลือก (Selection of alternative) เม่ือไดกําหนดทางเลือกตางๆ ออกมาแลวพรอมท้ังกําหนดความสําคัญ และความเหมาะสมในการแกปญหาแลว ข้ันตอไปคือการเลือกทางเลือกท่ีจะปฏิบัติการตอไป ข้ันตอนนี้เองท่ียอมรับกันท่ัวไป วาเปนการตัดสินใจโดยแทจริง

Page 22: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

27

3.3.3.6 การปฏิบัติตามการตัดสินใจ (Implement of decision) เม่ือทางเลือกได ถูกเลือกข้ึนมาแลว ก็เปนการปฏิบัติกามผลของการตัดสินใจทางเลือกนัน้ เราจะทราบการตัดสินใจนั้นถูกตองเหมาะสมเพียงใด หรือไม ก็ข้ึนอยูกับผลของการตัดสินใจนั้น หมายถึงวาสามารถที่จะ แกปญญาหรือสนองความตองการในข้ันตอนแรกไดหรือไม การศึกษาเปนการบริโภคท่ีกลาวมาขางตนวา การศึกษาเปนการลงทุน เพราะมีผลตอบแทน การลงทุนยอมมีสวนหนึ่งท่ีเปนการบริโภค การลงทุน และการบริโภคจึงแยกออกจากกันยาก แตท่ีเปนขอแตกตาง คือ การบริโภคไมมีผลตอบแทน บริโภคแลวส้ินเปลืองไป หมดไป การบริโภค ไดแก การใชส่ิงของ และบริการ เพื่อสนองความตองการของมนุษย เปนการส้ินเปลือง หมดไป การศึกษา เปนการบริโภคตามความหมายนี้ คือ การศึกษาเปนบริการท่ีสนองความตองการของผูใฝเรียน ผูตองการท่ีจะรูทีจ่ะฉลาด นับเปนผูบริโภค เพราะการศึกษาคลายยาบํารุงสมอง ถาหากผูศึกษาไมไดนําความรูไปใชตอ ก็จะเปนการบริโภคท่ีส้ินเปลือง หมดไป ไมไดนําความรูท่ีไดรับจากการศึกษาไปประกอบอาชีพ การศึกษาถือเปนการบริโภค (ไพรินทร แยมจนิดา, 2547, หนา 214) ไดแบงข้ันตอนของการศึกษาท่ีถือเปนการบริโภค ดังตอไปนี ้ 1. การบริโภคเปนการบริโภคสินคา และบริการ สินคายอมรวมถึงบริการ บริการในท่ีนี่ เปนการศึกษา ดังนั้นผูเรียนหนังสือจึงเปนผูบริโภค เราไมเรียกบริโภคการศึกษา แตเรียกวาเราไดรับ (บริการ) การศึกษา ดวยการมานั่งเรียนเพ่ือมีความรู และมีฝมือ มีนักเศรษฐศาสตรบางคนถือวาการศึกษาเปนสินคาทางสังคม แทนท่ีจะเรียกวาเปนบริการ กลาวคือเปนสินคาท่ีกอใหเกิดประโยชนไมเฉพาะตัวผูรับการศึกษาเทานั้น แตเกิดประโยชนแกสังคมอ่ืนดวย เชน คนรูหนังสือสามารถหาเงินไดมาก ตองเสียภาษแีกรัฐบาลมาก เปนตน 2. การศึกษาเปรียบเทียบกับการบริโภคอาหาร ยิ่งเรียนก็อยากเรียนมากข้ึน ยิ่งรูก็อยากรูมากข้ึน คนท่ีไมไดเรียนก็อยากจะเรียน ผูศึกษาอาจเรียนวชิาใดก็ไดตามที่ตนอยากเรียน 3. การบริโภคสามารถที่จะบริโภคไดหลายคร้ัง และไมส้ินเปลือง หรือหมดไปทันที การบริโภคแตละคร้ังก็ทําความพอใจใหกับผูบริโภค ปจจัยท่ีกําหนดรายจายเพื่อการบริโภค การที่ประชาชนจะสามารถมรีายจายเพื่อการบริโภคมาก หรือนอยเพยีงใดนั้น ข้ึนอยูกบัปจจัยตาง ๆ ท่ีมีอิทธิพลตอการบริโภค ดังตอไปนี ้ 1. รายไดสุทธิสวนบุคคล เปนปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอคาใชจายในการบริโภคมากท่ีสุด กลาวคือ รายไดสุทธิสวนบุคคล เปนรายไดท่ีภาคครัวเรือนไดรับหลังจากหักภาษเีงินไดบุคคล

Page 23: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

28

ธรรมดา บุคคลสามารถนํารายไดสวนนี้ไปใชจายในการบริโภค ผูท่ีมีรายไดสวนนีม้ากยอมสามารถใชจายในการบริโภคมากกวาผูท่ีมีรายไดสุทธินอย 2. สินทรัพยท่ีบุคคลมีอยู เนื่องจากสินทรัพยท่ีครัวเรือนถือครองอยูมีสภาพคลองสูง หรือตํ่าไมเทากัน ซ่ึงสินทรัพยท่ีมีสภาพคลอง ไดแก เงินสด เงินฝากกระแสเงินสดรายวนั เงินฝากประจํา พันธบัตร ทองคํา หุน และท่ีดิน ในกรณีท่ีประชาชนถือสินทรัพยสภาพคลองสูงไวมาก ประชาชนจะรูสึกวามีฐานะทางการเงินท่ีม่ันคง สามารถใชจายเพ่ือการบริโภคไดมากกวาประชาชนถือสินทรัพยสภาพคลองตํ่า เพราะไมแนใจวาจะสามารถเปล่ียนสินทรัพยเปนเงินสดไดตามเวลาท่ีตองการ และไดรับมูลคาท่ีตนพอใจ มากนอยเพียงใด จึงตองชะลอการบริโภคบางสวนไวกอน 3. สินทรัพยถาวรท่ีบุคคลมีอยูแลว ถาประชาชนมีสินทรัพยถาวร เชน รถยนต บาน เปนตน อยูแลว ความจาํเปนในการซ้ือสินคาเหลานี้จะอยูในระดับตํ่า ทําใหลดการใชจายลงไดมาก เพราะสินคาเหลานี้มีความคงทนถาวร และอายุการใชงานนาน 4. รายไดในอนาคต เกี่ยวกับรายไดในอนาคตนี้จะมีผลตอการบริโภคในปจจุบันหากประชาชนคาดการณวาจะมีรายไดเพิ่มข้ึนในอนาคต เขาก็จะเพิ่มการบริโภคในปจจุบัน และเขาจะลดการบริโภคในปจจุบันลง ถาคาดการณวาจะมีรายไดในอนาคตนอยลง 5. การคาดคะเนระดับราคาสินคา ถาหากประชาชนคาดวาราคาสินคาในอนาคตจะสูงข้ึนเขาจะรีบซ้ือสินคามากกวาปกติเพื่อกกัตุนไว ท้ังนี้เปนพฤติกรรมของบุคคลโดยท่ัวไปท่ีไมอยากซ้ือของแพง โดยเฉพาะสินคาประเภทคงทนถาวร ทําใหคาใชจายในการบริโภคขณะน้ันเพิ่มข้ึน แตถาลดลงในอนาคต คาใชจายในการบริโภคในระยะส้ันลดลง 6. อัตราดอกเบ้ีย เม่ือประชาชนมีรายได สวนหน่ึงจะถูกใชไปในการบริโภค สวนท่ีเหลือจะเก็บออมไว และการท่ีประชาชนจะมีการออมมากนอยแคไหนข้ึนอยูกับอัตราดอกเบี้ย ถาอัตราดอกเบ้ียเงินฝากสูงก็จะจูงใจใหบุคคลเก็บออมมากข้ึน และใชจายเพื่อการบริโภคนอยลง แตถาอัตราดอกเบ้ียเงินฝากตํ่า บุคคลจะมีการออมลดลง และมีใชจายเพื่อการบริโภคมากขึ้น 7. คานิยมทางสังคม เปนคุณคาท่ีสังคมไดกําหนดไววาเปนส่ิงท่ีนาประพฤติปฏิบัติโดยไมคํานึงถึงความเหมาะสม และความสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจ และสังคม หากคานิยมทางสังคมใหความสําคัญยิ่งตอวัตถุ กจ็ะทําใหบุคคลบางกลุมมีการใชจายในสินคา และบริการท่ีฟุมเฟอย และมีราคาสูง ทําใหสังคมนั้นมีการบริโภคอยูในระดับสูง สวนสังคมท่ียึดคานิยมการประหยัดสังคมนัน้จะมีการบริโภคในระดับตํ่ากวา

Page 24: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

29

จากเหตุผลท่ีกลาวมาพอสรุปไดวารายจายสําหรับการบริโภค เปนรายจายเพื่อการศึกษา เนื่องจาก 1. รายไดสุทธิสวนบุคคลท่ีแตกตางกัน หากฐานะทางครอบครัวของผูปกครองแตกตางกันนั้นก็คือความสามารถในการจายท่ีไมเทากัน กจ็ะสงใหบุตร หลาน เรียนในสถานท่ีแตกตางกัน 2. รายไดในอนาคต ในเร่ืองนี้เปนการคาดการณของผูเรียนเองท่ีตองการจะมีอาชีพในอนาคต เม่ือสําเร็จการศึกษาแลว วาจะสามารถทํารายไดในอนาคตไดมาก หรือนอย และพอกับความตองการ หรือการคาดหวังในอนาคตหรือไม 3. สินเช่ือเพื่อการบริโภค เนื่องจากสินเช่ือเพือ่การบริโภคปจจุบันมีครอบคลุมไปถึงการบริโภคท้ังสินคา และการบริการ โดยเฉพาะสินเช่ือในดานการบริการการศึกษา ท่ีทางรัฐบาลใหการสนับสนุนสงผลใหผูปกครองสามารถสงบุตร หลาน เขาเรียนไดแมวาฐานะทางครอบครัวจะไมดี ก็ตาม ปจจัยภายนอกของผูบริโภค (กาญจนา เกียรติมณีรัตน, 2548, หนา 55 - 62) (External influences) หมายถึง ส่ิงท่ีมีอิทธิพลเกี่ยวกับการบริโภคของบุคคลซ่ึงเปนพฤติกรรมท่ีแสดงออกใหบุคคลอ่ืนสามารถมองเห็นได ไดแก วัฒนธรรม สังคม ครอบครัว 1. ดานวัฒนธรรม (Culture) วฒันธรรม หมายถึงรูปแบบหรือวิถีทางในการดํารงชีวิตของประชาชนแตละสังคม วฒันธรรมมีคุณลักษณะ คือ การเรียนรู ส่ิงท่ีเกิดรวมกัน การถายทอดจากชนรุนหนึ่งสูรุนหนึ่ง ลักษณะรูปแบบ และ การเปล่ียนแปลง วัฒนธรรมจึงเปนตัวกําหนดพื้นฐานสําคัญท่ีสุดของความตองการของบุคคลและมีผลตอพฤติกรรมการซ้ือของบุคคล รวมท้ัง คานิยม ทัศนคติ ความชอบ การรับรู 2. ดานสังคม (Social) พฤติกรรมการซ้ือของบุคคลไมไดข้ึนอยูกับรายไดเพียงอยางเดียว แตบุคคลจะไดรับอิทธิพลอยางมาก จากการท่ีผูนั้นอยูในชนช้ันทางสังคมใดดวย คนจะมีความคดิ ความเช่ือ ทัศนคติท่ีมีตอตนเอง แบบแผนการบริโภคคลายคลึงกับบุคคลอ่ืนๆ ในช้ันทางสังคมเดียวกัน ส่ิงท่ีนํามากําหนดช้ันทางสังคม ไดแก รายได การศึกษา อาชีพ ตําแหนงหนาท่ีทางการงาน วงศตระกูล ตลอดจนบุคลิกภาพของบุคคลนั้น 3. ดานครอบครัว ( Family ) ครอบครัวเปนหนวยหนึ่งของสังคมท่ีมีการซ้ือมากท่ีสุด ครอบครัวยังเปนสถาบันแรกท่ีสอนใหบุคคลรูจักใชจาย และบริโภคสินคาและบริการ พฤติกรรมการบริโภคของบิดา มารดา ในครอบครัวจะมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการบริโภคของลูก ท้ังนี้เพราะลูกไดรับการเลี้ยงดูและถายทอดพฤติกรรมตางๆ จากพอแม 4. ดานเศรษฐกิจ (Economic) จากแนวทางการพัฒนาประเทศ โดยยึดแผนพฒันาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติฉบับท่ี 9 ท่ีผานมามีอัตราการเจริญเติบโตท่ี 2 % เพราะอยูในชวงการปรับปรุง

Page 25: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

30

โครงสรางของประเทศหลายๆ อยาง แตจากการที่ระบบเศรษฐกิจโลกเขาสูระบบเศรษฐกิจเสรี และการตั้งเขตการคาระหวางประเทศ ทําใหประเทศไทยตองเผชิญกับเง่ือนไขทางการคาดานตางๆ เชน ดานส่ิงแวดลอม การใชแรงงานเด็ก สิทธิมนุษยชนและอ่ืนๆ ( สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ , 2551, ระบบออนไลน ) ภาคอุตสาหกรรมหรือบริษัทตางๆ ไดเร่ิมพัฒนาข้ึนและตองการแรงงานท่ีมีความรูพื้นฐานสูงข้ึนในการทํางาน เปนการเปล่ียนจากอุตสาหกรรมท่ีใชแรงงานระดับกลาง มาเปนการใชแรงงานท่ีมีความรูพื้นฐานสูงข้ึนและขยายตัวอยางรวดเร็ว เชนอุตสาหกรรมท่ีใชเทคโนโลยี อุตสาหกรรมบริการ และบริษัทตางๆ แนวโนมดังกลาวแสดงวาประเทศไทยจะตองพัฒนากําลังคนท่ีมีความรูทางดานอาชีพทั้งระดับกลางและระดับสูงเพิ่มข้ึน Easton and Allan (1976, p. 56) กลาววารูปแบบพฤติกรรมผูบริโภค เปนการศึกษาเหตุ จูงใจท่ีทําใหเกิดการตัดสินใจ โดยมีจุดเร่ิมตนจากการเกิดส่ิงกระตุน ทําใหเกิดความตองการ ส่ิงกระตุนผานเขามาในความรูสึกนึกคิดของผูตัดสินใจ ซ่ึงไดรับอิทธิพลจากปจจยัตาง ๆ แวดลอมตัวของผูตัดสินใจ แลวจึงมีการตอบสนอง หรือการท่ีผูตัดสินใจมีการตัดสินใจมากข้ึน นิคม สุวัตถี (2541,หนา 9-10) (อางถึงใน ฐิตากร สุรินทร, 2549,หนา 22) ไดกลาววาการตัดสินใจเปนกระบวนการเลือกในระหวางทางเลือกตางๆ และไดอธิบายข้ันตอนการตัดสินใจไวดังนี ้ 1. การแยกแยะตัวปญหา ข้ันตอนแรกของการตัดสินใจนัน้เปนเร่ืองของการสรางความ ม่ันใจและแนใจโดยคนหา เปนเร่ืองของการแยกแยะตัวปญหาออกมาอยางแนชัด หรือตัวปญหาอยางแนนอน นั่นคือขบวนการตัดสินใจจะเร่ิมตนข้ันตอนแรก 2. การหาขาวสารท่ีเกี่ยวของกบัตัวปญหานัน้ คือการเสาะแสวงหาส่ิงท่ีเปนสาเหตุหรือ ส่ิงท่ีกอใหเกิดปญหานั้น ซ่ึงไมอาจจะไมใชสาเหตุโดยตรงก็เปนไดความสามารถท่ีจะหาขาวสารขอมูลท่ีครอบคลุมมากท่ีสุดหรือขาวสารที่สมบูรณนั้นอาจเปนไปไมได แตการเสาะหาตัวขาวท่ีเกี่ยวของกับสาเหตุของปญหามากท่ีสุดเทาท่ีจะมากได ท้ังนี้การเสาะหาขาวสารควรจะเปนไปตามแนวคิดท่ีวาขาวสารสรรหามาน้ันจําเปนตองมีความเกีย่วของและจําเปนกับตัวปญหา ตลอดจนมีความเพียงพอในการแกปญหา 3. การประเมินคาขาวสาร ในบรรดาขาวสารที่แสวงหามานั้นเราตองยอมรับความจริง ประการหน่ึงวามิไดความหมายความวาขาวสารทุกชนิดท่ีหามานั้นเกี่ยวของกับตัวปญหาและมีคุณคากับตัวปญหาอยางแทจริงเสมอไป ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการประมาณคาวาขาวสารนั้นถูกตองเหมาะสมเพียงพอกบัเวลาและความสามารถท่ีจะนําไปวิเคราะหปญหาไดหรือไม ซ่ึงจะมีการเสาะหา

Page 26: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

31

ขอมูลเพิ่มเติม หลังจากประเมินขาวสารแลวไมเพยีงพอหรือ ไมเกี่ยวของเทาท่ีควร ก็จาํเปนตองตัดขาวสารบางอยางออกไป ถาเห็นวาไมเกี่ยวของกับตัวปญหาท่ีจะทําการแกปญหา หรือตัดสินใจนั้น 4. การกําหนดทางเลือก เปนข้ันตอนสําคัญของการตัดสินใจ คือกําหนดทางเลือกท่ี สามารถครอบคลุมวิธีการที่แกปญหาไดมากท่ีสุด ถาเรามีขาวสารสมบูรณสําหรับปญหาแตละเร่ือง เราอาจจะกําหนดทางเลือกไดเหมาะสมและครอบคลุมอยางแทจริง ถาขาวสารไมสมบูรณก็กําหนดทางเลือกท่ีมีลําดับความสําคัญของการแกปญหา 5. การเลือกทางเลือก เม่ือกําหนดทางเลือกแลว ข้ันตอนตอไปคือ การเลือกท่ีปฏิบัติการ ตอไป ขั้นนี้เองที่เปนท่ียอมรับวาเปนการตัดสินใจแทจริง การเลือกทางนั้นเกิดจากผลของการตัดสินใจแตยังไมสมบูรณ 6. การปฏิบัติการตัดสินใจ เปนการปฏิบัติตามผลข้ันขบวนการตัดสินใจ หรือทางเลือก การตัดสินใจนั้นถูกตองเหมาะสมเพียงใดหรือไมข้ึนอยูกับผลการตัดสินใจนัน้ การประเมินผลของการตัดสินใจเปนการตรวจดวูา ผลการตัดสินใจท่ีปฏิบัติไปเหมาะสมกบัการแกปญหาน้ันหรือไม 3.3.4 กระบวนการตัดสินใจศึกษาตอระดับอาชีวศึกษา

การเลือกตัดสินใจศึกษาตอของนักเรียนทุกระดับช้ัน (วิทยา วิสูตรเรืองเดช, 2545, หนา 9-10) ไดสรุปกระบวนการตัดสินใจศกึษาตอระดับอาชีวศึกษา จากทฤษฏีการตดัสินใจเลือกอาชีพของ ฮอพพอค (Hoppock) ซ่ึงเปนทฤษฎีท่ีกลาวถึงความตองการของบุคคล และความสําคัญของขอสนเทศเก่ียวกับบุคคลและส่ิงแวดลอมท่ีเปนปจจยัสําคัญในการเลือกและพัฒนาอาชีพ ไวดังนี ้ 3.3.4.1 บุคคลเลือกอาชีพเพื่อสนองความตองการของตนเอง และความตองการที่สําคัญท่ีสุดคือความตองการที่จะปฏิบัติตามคานิยมของตน 3.3.4.2 อาชีพท่ีบุคคลเลือก เปนอาชีพท่ีบุคคลเช่ือวาสามารถตอบสนองความตองการของแตละบุคคลได 3.3.4.3 บุคคลมีความรับรูและความตองการของตนอยางชัดเจน แตไมวาบุคคลจะรับรูความตองการของตนเองไดชัดเจนหรือไมเพียงใด ความตองการดงักลาวยังมีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกอาชีพ 3.3.4.5 พัฒนาการทางอาชีพของบุคคลคือ อาชีพท่ีสามารถชวยตอบสนองความตองการของตนเองได 3.3.4.6 พัฒนาการทางอาชีพ บุคคลสามารถคาดคะเนอาชีพท่ีเลือกวา สามารถตอบสนองความตองการของตนเองไดดีเพยีงใด

Page 27: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

32

3.3.4.7 ขอมูลเกี่ยวกับกับบุคคล เชน ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ บุคลิกภาพ คานิยม และฐานะทางเศรษฐกิจ มีผลตอการเลือกอาชีพ เพราะชวยใหบุคคลตระหนักถึงความตองการของตน และชวยใหบุคคลสามารถคาดคะเนไดวา อาชีพท่ีเลือกจะสามารถตอบสนองความตองการเขาไดมากนอยเพียงใด 3.3.4.8 ขอสนเทศทางอาชีพ สงผลตอการเลือกอาชีพ โดยชวยใหบุคคลคนพบอาชีพตางๆ ท่ีสามารถตอบสนองความตองการของตนเอง และใหบุคคลสามารถคาดคะเนไดวาอาชีพใดท่ีสามารถตอบสนองความตองการไดดีกวาอาชีพอ่ืน 3.3.4.9 ความพึงพอใจในอาชีพ ข้ึนอยูกับงานท่ีบุคคลวาสามารถตอบสนองความตองการที่คาดหวังมากนอยเพียงใด และระดับความพึงพอใจมีการพจิารณาไดจากอัตราสวนของความตองการที่ไดรับการตอบสนอง และความตองการทีค่าดหวังวาจะไดรับจะไดรับการตอบสนอง 3.3.4.10 ความพึงพอใจสงผลจากงานซ่ึงสามารถตอบสนองความตองการของบุคคลในปจจบัุน หรือเปนผลการวิจัยจากงานซ่ึงสามารถตอบสนองความตองการของบุคคลนั้นในอนาคต 3.3.4.11 การเลือกอาชีพของบุคคล จะเปล่ียนไดเสมอ ถาบุคคลนั้นเช่ือวาการเปล่ียนนั้นๆ จะสนองความตองการของเขาไดดีกวา 4. งานวิจัยท่ีเก่ียวของ ดลฤดี สุวรรณคีรี (2539) ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจ เลือกศึกษาตอระดับอาชีวศึกษาระหวางสถานศึกษาของรัฐบาลและเอกชน จังหวัดนครปฐม พบวา ปจจัยส่ิงแวดลอมท่ีสงผลตอการตัดสินใจเลือกสถานศึกษารัฐบาลเรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ คาใชจายในการศึกษา ช่ือเสียงของสถานบัน ความพรอมทางดานอุปกรณการศึกษา การนําความรูไปใช การประชาสัมพันธของสถานศึกษา อาคารสถานท่ี ความยากงายในการสอบเขา และช่ือเสียงของอาจารยผูสอน ปจจัยส่ิงแวดลอมท่ีสงผลตอการตัดสินใจเลือกสถานศึกษาเอกชนเรียงลําดับจาก มากไปหานอย คือ การสอบเขางาย ความพรอมดานอุปกรณการศึกษา คาใชจายในการศึกษา ช่ือเสียงของสถานศึกษา การนําความรูไปใช การประชาสัมพันธของสถานศึกษา อาคารสถานท่ี และช่ือเสียงของอาจารยผูสอนความคิดเห็นของบิดามารดา หรือผูปกครองเปนปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจ สําหรับนักศึกษาในสถานศึกษาของรัฐบาลมากกวาเอกชนผลการทดสอบทางสถิติเพื่อหาความแตกตางระหวางตัวแปร พบวา ปจจยัท่ีมีผลตอการตัดสินใจท่ีแตกตางกันตอการเลือกเรียนสถานศึกษา ณ ระดับนยัสําคัญ .05 ไดแก ปจจัยดานความพรอมของสถานท่ีอาคาร

Page 28: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

33

การเรียน ช่ือเสียงของสถาบัน การนําไปสูการใชไดจริง คาใชจายในการศึกษา และความงายในการสอบเขา พิมพมาส ตัณฑเจริญรัตน (2540) ศึกษาความตองการในการเลือกศึกษาวิชาชีพ ศึกษาความรูความเขาใจในลักษณะวิชาชีพ และศึกษาแรงจงูใจหรืออิทธิพลในการเลือกศึกษาตอวิชาชีพและประกอบอาชีพของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 จังหวัดตาก พบวา การเลือกเรียนวิชาชีพของนักเรียน ตัดสินใจเลือกเรียนดวยตนเอง โดยเลือกเรียนสาขาท่ีเรียนจบแลวมีงานทํา มีรายไดดี มีโอกาสกาวหนา และจะตองมีความรูวิชาอ่ืนประกอบดวย โดยผูปกครองยินดีสนับสนุนใหเรียนจนสําเร็จการศึกษา กําธร ธรรมพิทักษ (2541) ไดศึกษาปจจัยท่ีผลกระทบตอการตัดสินใจศึกษาตอใน ระดับ อาชีวศึกษาในจังหวัดพะเยา สําหรับปจจัยทางเศรษฐกิจพบวาการท่ีตองเสียคาใชจายสูงในการเรียนอาชีวศึกษาเกีย่วกับเทคโนโลยใีนการศึกษา ซ่ึงเปนรายจายท่ีสะทอนใหเหน็ถึงความสามารถท่ีจะไดรับจากการเรียน จะทําใหนกัเรียนตัดสินใจเรียนตอระดับอาชีวศึกษา และการท่ีครอบครัวมีฐานะเศรษฐกจิ เชน รายไดนอยทําใหตัดสินใจเรียนตอดานอาชีวศึกษา เพื่อจบมาจะไดมีงานทํา ขนบ รอดอรินทร (2546) ไดทําการศึกษาการตัดสินใจเลือกศึกษาตอระดับประกาศนีย บัตรวิชาชีพ ในโรงเรียนกองทพับกอุปถัมภ ชางกล ขส.ทบ. พบวา ปจจัยในการตัดสินใจเลือกศึกษาตอ มีภาพรวมอยูในระดับมากทุกดาน โดยเฉพาะ ดานชื่อเสียงและคุณภาพของโรงเรียน และดานคาใชจาย สวนดานทําเลที่ต้ัง มีระดับการตัดสินใจอยูในระดบักลาง ท้ังนี้เพราะการท่ีโรงเรียนท่ีมีช่ือเสียงดานกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมการแขงขันทักษะวิชาชีพไดรับเหรียญทอง การไดรับรางวัลเหรียญทองการประกวดมารยาท สงผลใหโรงเรียนมีช่ือเสียงทางดานวิชาการและความประพฤติดีของนักเรียน จึงทําใหมีนักเรียนสมัครเรียนเขามาเรียนเปนจํานวนมากกวาท่ีโรงเรียนจะรับไวไดท้ังๆ ท่ีเปนโรงเรียนเอกชน จนสงผลใหนักเรียนท่ีจะเขาศึกษาตอตองมีการสอบแขงขันกนั สวนดานคาใชจาย จะเก็บคาใชจายถูกวาโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนโดยท่ัวไป และดานท่ีต้ังทําเลของโรงเรียนต้ังอยูในทําเลท่ีดี คืออยูใจกลางเมือง เดินทางไดหลากหลายเสนทาง ดังนั้น มีแรงจงูใจและการตดัสินใจโดยรวมคือ ดานช่ือเสียงของสถานศึกษา ดานอิทธิพลการชักจูงจากบุคคลอ่ืน ดานคาใชจายในการศึกษา และดานความรูพื้นฐานความรูความสามารถสวนบุคคล ปญญา บุญเลิศลํ้า (2547) ไดศึกษาปจจัยท่ีเกี่ยวของกับการตัดสินใจเลือกศึกษาตอหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยีเชียงใหม พบวา ปจจัยท่ีศึกษา มี 5 ปจจัย คือ ดานความคาดหวังในการศึกษาตอหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ดานความคาดหวังในการประกอบอาชีพและรายได ดานสังคมและเศรษฐกิจของครอบครัว ดานความถนดัและเหตุผลสวนตัว ดานเกียรติยศช่ือเสียงของวิชาชีพและของสถานศึกษา โดยรวม

Page 29: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

34

พบวา ท้ัง 5 ปจจัย เปนปจจยัท่ีเกี่ยวกับการตัดสินใจในระดับมาก เม่ือพจิารณาปจจัยพบวา ปจจยัดานเกียรติยศช่ือเสียงของวิชาชีพและสถานศึกษา ดานความคาดหวังในการศึกษาตอหลักสูตรประกาศนยีบัตรวิชาชีพช้ันสูง และดานความคาดหวังในการประกอบอาชีพและรายได เปนปจจยัเกี่ยวของกับการตัดสินใจในระดับมาก สวนปจจยัดานความถนัดและเหตุผลสวนตัว และดานสังคมและเศรษฐกิจของครอบครัว เปนปจจยัท่ีเกีย่วของกับการตัดสินใจในระดับปานกลาง ณัฏฐกา ไชยสลี (2548) จากผลการวิจัยจากโรงเรียนอาชีวศึกษาของรัฐกวา 60 แหง ท่ัวประเทศ ในปการศกึษา 2547 พบวา สถานศึกษาในระดบัอาชีวศึกษาของรัฐสวนใหญต้ังอยูในเขตอําเภอเมือง มีระยะเวลาในการเปดการสอนมามากวา 65 ป มีอาคารเรียนท่ีเปนตึกถาวร ดานขอมูลท่ัวไปของบุคลากร พบวาครูผูสอนสวนใหญจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ดานคุณภาพผูเรียน พบวา การเรียนการสอนและผลเฉล่ียจากการเรียนการสอนอยูในระดบัคอนขางดี ดานเศรษฐกจิและสังคมของนักเรียน พบวา ผูปกครองมีความสัมพันธเปนบิดามารดา และอยูดวยกัน สวนใหญจะจบการศึกษาระดับปฐมศึกษา มีอาชีพเกษตรกร รองลงมาคืออาชีพรับจาง โดยมีรายไดเฉล่ียตํ่ากวา 100,000 บาทตอป ผลการคํานวณประสิทธิภาพทางเทคนิคของการจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาของรัฐ ปการศึกษา 2547 พบวา ระดับประสิทธิภาพทางเทคนิคเฉล่ียของการจัดการศึกษาท่ัวประเทศ มีคาเทากับ 0.940 ซ่ึงถือวาอยูในระดับท่ีสูง สวนประสิทธิภาพทางเทคนิคของการจัดการเรียนการสอนภาคตะวันออกมีคาสูงสุด รองลงมาไดแก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต ภาคกลาง และตํ่าสุดคือภาคเหนือ เมื่อนําปจจัยท่ีสงผลตอความไมมีประสิทธิภาพทางเทคนิคของการจัดการศึกษา พบวา ไมมีปจจัยใดที่สามารถนํามาอธิบายความไมมีประสิทธิภาพไดอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ ละเอียด ศรีหาเหงา (2549) ไดสรุปผลอธิปรายออกเปนท้ังหมด 3 สวนดวยกนั ดังตอไปนี ้ 1. ขอมูลท่ัวไปของนักศึกษา นกัเรียนสวนใหญเปนนักศึกษาผูหญิง มีอายุเฉล่ีย 19 ป สาขาท่ีนักเรียนสวนมากเลือกเรียนมากท่ีสุด คือ สาขาการบัญชี รองลงมา คือ การตลาด และสาขาคอมพิวเตอร ผูปกครองของนักเรียนมีอาชีพรับจางมากกวาท่ีสุด 2. พฤติกรรมของนักศึกษาในการเลือกศึกษาตอในโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนนักเรียนสวนใหญรับทราบขาวสารขอมูลจากเพ่ือนมากท่ีสุด สวนเหตุผลในการเลือกศึกษาตอในโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน พบวา เกดิจากการชอบสวนบุคคลมากท่ีสุด รองลงมาเกิดจากญาติ พี่นอง หรือคนรูจัก เปนผูแนะนําใหศึกษาตอ สําหรับเหตุผลในการตัดสินใจเลือกศึกษาตอในโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน พบวา สามารถผอนชําระคาเลาเรียนได และรองลงมา สามารถกูกองทุนกูยืมเพื่อ

Page 30: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

35

การศกึษาไดงายกวาโรงเรียนอ่ืนๆ เม่ือนกัศึกษาสําเร็จการศึกษาแลว สามารถนําความรูท่ีไดสวนใหญไปประกอบอาชีพหรือเปนผูประกอบการได 3. สภาพปญหาในการศึกษาของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนโดยภาพรวมแลวความสําคัญของปญหาท้ัง 3 ดานอยูในระดับปานกลาง สามารถสรุปไดดังนี้ ดานครูผูสอน พบวา นักเรียน สวนใหญใหความสําคัญของปญหาในระดบัปานกลาง ครูประพฤติตนดีเปนแบบอยางท้ังในและนอกเวลาเรียน พรอมกับตองมีการเตรียมการเรียนการสอนไวลวงหนา และเปนปจจุบันและมีวุฒิการศึกษาตรงกับสาขาท่ีสอน ดานสภาพแวดลอมของโรงเรียน นกัเรียนสวนใหญใหเปนปญหาสําคัญในระดับปานกลาง คือ มีโรงอาหารท่ีกวางขวางและเพยีงพอตอจํานวนนกัเรียน มีอาคาร สถานท่ีของโรงเรียนท่ีสวยงาม นาอยู พรอมท้ังมีสภาพแวดลอมภายในโรงเรียนเปนอยางดี มีความปลอดภัยตอนักเรียน และดานสุดทายคือดานการบริหารจดัการโรงเรียน โดยสถานศึกษามีการชี้แจงเกี่ยวกับหลักสูตรตามสาขาใหกับนักเรียนทราบอยางชัดเจน พรอมท้ังการจัดการหลักสูตรใหตรงกบัความตองการของผูเรียนและตลาดแรงงาน มีอุปกรณส่ือการเรียนการสอนท่ีทันสมัย เพยีงพอตอนักเรียนทุกคน การเก็บคาธรรมเนียมการศึกษาและคาวัสดุอุปกรณ คากิจกรรมในอัตราท่ีเหมาะสมเปนธรรม มีการจัดระบบการจดัสรรเงินกูเพือ่การศึกษาจากภาครัฐท่ีเหมาะสมและเพียงพอ

Page 31: บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edvoc0952kn_ch2.pdf8 น กบร หารอาช วศ

36

5. กรอบแนวคิดในการวิจัย เร่ือง กระบวนการเลือกศึกษาตอระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพของนักเรียนโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร

กระบวนการตัดสินใจ

ความตองการรับรู • ครอบครัว • สังคม • วัฒนธรรม • เศรษฐกิจ

การคนหาขอมูลกอนตัดสินใจ • ตัวบุคคล • บุคคลแวดลอม

(พอแม ผูปกครอง เพื่อน หรือบุคคลท่ีเกี่ยวของ)

• การโฆษณาประชาสัมพันธ

การเลือกศึกษาตอ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.)

การประเมินทางเลือก • คาใชจายในการศึกษา • ช่ือเสียงของสถาบันฯ • อาคารสถานท่ี • ช่ือเสียงของสถาบันฯ • เคร่ืองแบบ • ความสะดวกสบายในการเดินทาง • ความตองการสวนตัว