Top Banner
5 บทที2 ทฤษฏีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2.1 ข้อมูลทั่วไป กลุ่มบริษัท ดิทโต้ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2542 เพื่อดาเนินธุรกิจจาหน่ายให้เช่าเครื่องถ่ายเอกสารมัลติ ฟังก์ช่น และได้พัฒนาความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านการวางระบบด้านการบริหารจัดการงานด้านเอกสาร ( Document solutions) เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าองค์กรต่างๆ มากกว่า 3,000 แห่ง โดยทีมงานที่มีความ เชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงที่มุ่งหวังให้ลูกค้าองค์กรและบุคคล สามารถบริหารเอกสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ ด้วยความตระหนักว่า งานเอกสารเป็นอีกหนึ่งต้นทุนที่มีความสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจดิทโต้ จึงพัฒนา ระบบด้านการบริหารงานเอกสารที่มีประสิทธิภาพสูง DDS (Ditto Document Solutions) เพื่อตอบสนอง เป้าหมายสาคัญขององค์การยุคใหม่ คือการเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจและลดต้นทุนค่าใช้จ่าย ดิทโต้ได้พัฒนาระบบและบริการใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ในการสร้างความได้เปรียบในการดาเนินธุรกิจของลูกค้า อาทิ ระบบ Smart Print สาหรับผู้ใช้บริการห้องสมุด มหาวิทยาลัย ที่สามารถใช้บัตรเติมเงินสิ่งพิมพ์ เอกสาร ผ่าน Touch Screen ได้ Online Print การสั่งพิมพ์งานเอกสารผ่านเครือข่าย Wireless ขององค์กรหรือสถานศึกษาขนาดใหญ่ เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการจัดการงานเอกสาร Mobile Counter Alert บริการแจ้งซ่อมหรือขัดข้องของเครื่องถ่ายเอกสาร ผ่านเครื่องถ่ายเอกสาร Digital intelligent Count ระบบการนับจานวนการใช้งานและคานวณค่าใช้จ่ายอัตโนมัติ
42

บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

Feb 23, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

5

บทที่ 2

ทฤษฏีและวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง

2.1 ข้อมูลทั่วไป

กลุ่มบริษัท ดิทโต้ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2542 เพ่ือด าเนินธุรกิจจ าหน่ายให้เช่าเครื่องถ่ายเอกสารมัลติ

ฟังก์ชั่น และได้พัฒนาความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านการวางระบบด้านการบริหารจัดการงานด้านเอกสาร

(Document solutions) เพ่ือให้บริการแก่ลูกค้าองค์กรต่างๆ มากกว่า 3,000 แห่ง โดยทีมงานที่มีความ

เชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงที่มุ่งหวังให้ลูกค้าองค์กรและบุคคล สามารถบริหารเอกสารได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ

ด้วยความตระหนักว่า “งานเอกสาร” เป็นอีกหนึ่งต้นทุนที่มีความส าคัญต่อการด าเนินธุรกิจดิทโต้ จึงพัฒนา

ระบบด้านการบริหารงานเอกสารที่มีประสิทธิภาพสูง DDS (Ditto Document Solutions) เพ่ือตอบสนอง

เป้าหมายส าคัญขององค์การยุคใหม่ คือการเพ่ิมประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจและลดต้นทุนค่าใช้จ่าย

ดิทโต้ได้พัฒนาระบบและบริการใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ในการสร้างความได้เปรียบในการด าเนินธุรกิจของลูกค้า

อาท ิ

ระบบ Smart Print ส าหรับผู้ใช้บริการห้องสมุด มหาวิทยาลัย ที่สามารถใช้บัตรเติมเงินสิ่งพิมพ์

เอกสาร ผ่าน Touch Screen ได ้

Online Print การสั่งพิมพ์งานเอกสารผ่านเครือข่าย Wireless ขององค์กรหรือสถานศึกษาขนาดใหญ่

เพ่ือให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการจัดการงานเอกสาร

Mobile Counter Alert บริการแจ้งซ่อมหรือขัดข้องของเครื่องถ่ายเอกสาร ผ่านเครื่องถ่ายเอกสาร

Digital intelligent Count ระบบการนับจ านวนการใช้งานและค านวณค่าใช้จ่ายอัตโนมัติ

Page 2: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

6

บริการของดิทโต้

สินค้าและบริการของดิทโต้มุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้าหลายกลุ่ม อาทิ หน่วยงานราชการ

ภาคเอกชน โรงเรียน ศูนย์ถ่ายเอกสาร กลุ่มผู้เช่าระยะสั้นและระยะยาว ตลอดจนกลุ่มผู้ประกอบธุรกิจขายส่ง

ปัจจุบัน ดิทโต้ได้รับความไว้วางใจจากองค์กรภาครัฐและเอกชนชั้นน ากว่า 3,000 แห่งทั่วประเทศ ให้ดูแล

ระบบงานเอกสารและการใช้เครื่องใช้ส านักงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อองค์กร โดยมีลูกค้ารายหลัก

ปรัชญาการด าเนินงาน

ดิทโต้มุ่งมั่นพัฒนาความเชี่ยวชาญในการบริหารจัดการต้นทุนงานถ่ายเอกสารอย่างมีประสิทธิภาพ โดย

ยึดแนวคิด Eco – Copy ซึ่งหมายถึง

Ecology : ระบบการบริหารจัดการงานเอกสารที่ดีต่อสภาวะแวดล้อมของโลก เช่น การใช้เครื่องถ่าย

เอกสารและอะไหล่รีคอนดิชั่น ที่เป็นส่วนหนึ่งของการลดขยะอิเล็กทรอนิกส์และเป็นการใช้อุปกรณ์

อิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดประโยชน์สูงสุด

Economy : ระบบการบริหารจัดการงานเอกสารที่ค านึงถึงการลดต้นทุนการด าเนินงานขององค์กร

ธุรกิจ เพ่ือเพ่ิมศักยภาพการแข่งขันในธุรกิจให้กับลูกค้า

สถานที่ตั้งหน่วยงาน

Page 3: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

7

2.2 นิยามค าศัพท์

สินค้าคงคลัง หมายถึงวัสดุหรือสินค้าต่างๆ ที่เก็บไว้เพ่ือใช้ประโยชน์ในการด าเนินงาน อาจเป็น การ

ด าเนินงานผลิต ด าเนินการขาย หรือด าเนินงานอื่นๆ

การสั่งซื้อ หมายถึง การด าเนินงานตามขั้นตอนต่าง ๆ เพ่ือให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบ วัสดุ และสิ่งของ

เครื่องใช้ต่าง ๆ ที่จ าเป็นโดยมีคุณสมบัติ ปริมาณ ราคา ช่วงเวลา แหล่งขาย และการน าส่ง ณ สถานที่

ถูกต้อง

การรับสินค้า หมายถึง การตรวจสอบความถูกต้องถูกต้องในเรื่องของ ชื่อ แบบ หมายเลข หรือข้อมูล

อ่ืนๆ รวมถึงการตรวจสภาพ ซึ่งหมายถึงการตรวจสภาพ จ านวน และคุณสมบัติของสินค้าที่จะได้รับเข้ามานั้น

ว่าถูกต้องตรงตามเอกสารการส่งหรือไม่

การจัดเก็บสินค้า หมายถึง การขนย้ายสินค้าจากพ้ืนที่รับสินค้าเข้าไปยังต าแหน่งเก็บที่ได้ไว้ก าหนด

ไว้ล่วงหน้า และจัดวางสินค้านั้นไว้อย่างเป็นระเบียบรวมทั้งการบันทึกเอกสารเก็บรักษา

การตัดจ าหน่าย หมายถึง การตัดสินค้าออกจากระบบสินค้าคงคลัง เนื่องจากสินค้าอาจเกิดการช ารุด

หรือหมดอายุ ไม่สามารถใช้งานได้

การช าระเงิน หมายถึง กระบวนการส่งมอบหรือโอนสื่อการช าระเงินเพ่ือช าระราคา โดยมี

องค์ประกอบ องค์กรหรือบุคคล กระบวนการด าเนินการภายใต้กฎหมาย และสื่อการช าระเงินประเภทต่างๆ

เช่น เงินสด ตราสารการเงิน เป็นต้น

สินค้า หมายถึง สิ่งของที่ซื้อขายกันตามท้องตลาดเพ่ือแลกมาซึ่งเงินตรา เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร

กระดาษ หมึกสี เป็นต้น

ใบเสร็จ หมายถึง เป็นเอกสารที่ผู้รับเงินออกให้เพื่อเป็นหลักฐานแสดงว่าได้รับเงินเป็นการถูกต้องแล้ว

การออกเอกสารดังกล่าวบางกรณีอาจออกเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ในใบเสร็จรับเงินทั่วไปมักระบุ

รายการสินค้าหรือบริการที่ซื้อขายกันและราคาที่ตกลงช าระ ซึ่งอาจระบุข้อมูลภาษีที่เกี่ยวข้องที่ผู้รับช าระเงิน

เก็บและน าส่งรัฐบาลอีกด้วย

ใบสั่งซ้ือ หมายถึง หนังสือแจ้งความประสงค์ขอซื้อสินค้าและบริการจากผู้ขายหรือตัวแทนจ าหน่าย

Page 4: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

8

ใบรับสินค้า หมายถึง เอกสารที่แสดงรายละเอียดรายการสินค้า เพ่ือยืนยันว่าได้รับสินค้าจริงตาม

รายการดังกล่าวถูกต้อง

2.2.1 ทฤษฎีเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง

การจัดการสินค้าหรือการจัดการวัสดุ ท าเพ่ือให้มีวัสดุและสินค้ารองรับงานผลิตและการตลาด ทั้งการ

บริการลูกค้าที่ดีและมีต้นทุนสินค้าคงคลังรวมที่อยู่ระดับต่ าสามารถท าได้หลายวิธีการขึ้นอยู่กับลักษณะของ

ความต้องการสินค้า ทรัพยากรองค์การความพร้อมของบุคลากรที่เกี่ยวข้องการจัดการโซ่อุปทานซัพพลายเชน

(Supply Chain) ตลอดจนลักษณะของกระบวนการผลิตสินค้าประกอบเข้าด้วยกัน นอกจากนั้น

ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารและคอมพิวเตอร์ยังช่วยให้การสร้างระบบการจัดการสินค้าคงคลังมี

ความหลากหลายมากขึ้น ท าให้ผู้บริหารสามารถเลือกใช้ระบบที่เหมาะสมกับกิจการของตนได้มากขึ้นด้วย

เช่นกัน ระบบการจัดการสินค้าคงคลังที่เป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายในธุรกิจอุตสาหกรรม มีดังต่อไปนี้

1.Economic Order Quantity หรือ EOQ

2.Material requirements planning หรือ MRP

3.Just-in-Time Production Systems หรือ JIT

ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัด เป็นระบบสินค้าคงคลังที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมานาน โดยทีระบบนี้ใช้

กับสินค้าคงคลังที่มีลักษณะของความต้องการที่เป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องต่อเนื่องกับความต้องการของสินค้าคง

คลังตัวอ่ืน จึงต้องวางแผนพิจารณาความต้องการอย่างเป็นเอกเทศด้วยวิธีการพยากรณ์อุปสงค์ของลูกค้า

โดยตรง ระบบขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดจะพิจารณาต้นทุนรวมของสินค้าคงคลังที่ต่ าสุดเป็นหลักเพ่ือก าหนด

ระดับปริมาณการสั่งซื้อต่อครั้งที่เรียกว่า “ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัด”

Page 5: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

9

2.2.1.1 การใช้ระบบขนาดการสั่งซ้ือที่ประหยัดมีท้ัง 4 สภาวการณ์ดังต่อไปนี้

ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่อุปสงค์คงที่และสินค้าคงคลังไม่ขาดมือ โดยมีสมมติฐานที่ก าหนดเป็น

ขอบเขตไว้ว่า

1) ทราบปริมาณอุปสงค์อย่างชัดเจน และอุปสงค์คงที่

2) ได้รับสินค้าที่สั่งซื้อพร้อมกันทั้งหมด

3) รอบเวลาในการสั่งซื้อ ซึ่งเป็นช่วงเวลาตั้งแต่สั่งซื้อจนได้รับสินค้าคงที่

4) ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าและต้นทุนการสั่งซื้อคงที่

5) ราคาสินค้าที่สั่งซื้อคงท่ี

6) ไม่มีสภาวะของขาดมือเลย

ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดมีอุปสงค์คงที่และมีสินค้าขาดมือบ้าง เนื่องจากการที่ของขาดมือ

ก่อให้เกิดความประหยัดบางประการ อันจะท าให้ต้นทุนการสั่งซื้อหรือต้นทุนการตั้งเครื่องใหม่ลดต่ าลง เพราะ

ผลิตหรือสั่งซื้อของล็อตใหญ่ขึ้น สินค้านั้นมีต้นทุนการเก็บรักษาสูงมากจึงไม่มีการเก็บของไว้เลย เช่น ในร้าน

ตัวแทนจ าหน่ายรถยนต์มักจะเกิดสภาวการณ์นี้ เพราะรถยนต์แต่ละคันมีราคาแพง จึงมีการจอดแสดงอยู่เพียง

คันละรุ่น เมื่อลูกค้าตกลงใจเลือกซื้อรถแบบที่ต้องการแล้ว ก็จะเลือกสีรถจากตัวอย่างสีในใบรายการ ตัวแทน

จ าหน่ายจะรับค าสั่งซื้อนี้ไปสั่งรถจากบริษัทผลิตและติดตั้งอุปกรณ์แต่งรถตามความต้องการของลูกค้าซึ่งจะใช้

เวลารอคอยสักระยะหนึ่ง โดยที่ต้องระวังมิให้นานเกินไป ข้อสมมติฐานของกรณีนี้มีดังต่อไปนี้

1.เมื่อของล็อตใหม่ซึ่งมีจ านวนเท่ากับ Q มาถึง จะต้องรีบส่งตามจ านวนที่ขาดมือ (S) ที่ค้างไว้ก่อน

ทันที ส่วนของที่เหลือซึ่งเท่ากับ (Q-S) จะเก็บเข้าคลังสินค้า

2.ระดับสินค้าคงคลังต่ าสุดเท่ากับ –S ระดับสินค้าคงคลังสูงสุดเท่ากับQ-S

3.ระยะเวลาของสินค้าคงคลัง (T) จะแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ

T1 คือ ระยะเวลาช่วงที่มีสินค้าจะขายได้ T2 คือ ระยะเวลาช่วงที่สินค้าขาดมือ

Page 6: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

10

ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่ทยอยรับทยอยใช้สินค้า สินค้าคงคลังไม่ได้ถูกส่งมาพร้อมกันในคราว

เดียวแต่ทยอยส่งมาและในขณะนั้นมีการใช้สินค้าไปด้วย โดยที่อัตราการรับ (p) ต้องมากกว่าอัตราการใช้ (d)

ทั้งสองอัตรามีค่าเฉลี่ยคงที่และไม่มีของขาดมือ สินค้าคงคลังจะสะสมส่วนที่เหลือจากการใช้มากขึ้นเรื่อยๆ

จนถึงจุดสูงสุด

ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่มีส่วนลดปริมาณ (Quantity Discount) เมื่อซื้อของจ านวนมากฝ่าย

จัดซื้อมักจะต่อรองให้ราคาสินค้าต่อหน่วยลดลงซึ่งได้มีสมมติฐานว่า ยิ่งจ านวนที่ซื้อมากเท่าไร ราคาต่อหน่วย

ของสินค้ายิ่งลดลงเท่านั้น นอกจากนั้นปริมาณสั่งซื้อที่เปลี่ยนแปลงไปจะมีผลท าให้ต้นทุนการเก็บรักษาเปลี่ยน

ถ้าขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่ค านวณได้อยู่ในช่วงปริมาณที่สั่งซื้อได้ในระดับราคาต่ าสุด ขนาดการ

สั่งซื้อท่ีประหยัดที่ค านวณได้คือ ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด

ถ้าขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่ค านวณได้ ไม่อยู่ในช่วงปริมาณที่สามารถสั่งซื้อได้ในระดับราคาต่ าสุด

ให้ค านวณต้นทุนรวมของการเก็บสินค้าคงคลังที่ปริมาณการสั่งซื้อต่ าสุดของระดับราคาสินค้าที่ต่ ากว่าระดับ

ราคาของขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่ค านวณได้ แล้วเปรียบเทียบกับต้นทุนรวมที่ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัด

เพ่ือหาต้นทุนต่ าสุดแล้วก าหนดปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด

2.2.1.2 จุดสั่งซ้ือใหม่ (Reorder Point)

ในการจัดซื้อสินค้าคงคลัง เวลาก็เป็นปัจจัยที่ส าคัญอย่างยิ่งตัวหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าระบบการ

ควบคุมสินค้าคงคลังของกิจการเป็นแบบต่อเนื่อง จะสามารถก าหนดที่จะสั่งซื้อใหม่ได้เมื่อพบว่าสินค้าคงคลัง

ลดเหลือระดับหนึ่งก็จะสั่งซื้อของมาใหม่ในปริมาณคงที่เท่ากับปริมาณการสั่งซื้อที่ก าหนดไว้ ซึ่งเรียกว่า Fixed

order Quantity System จุดสั่งซื้อใหม่นั้นมีความสัมพันธ์แปรตามตัวแปร 2 ตัว คือ อัตราความต้องการใช้

สินค้าคงคลังและรอบเวลาในการสั่งซื้อ (Lead Time) ภายใต้สภาวการณ์ 4 แบบ ดังต่อไปนี้

1. จุดสั่งซื้อใหม่ในอัตราความต้องการสินค้าคงคลังคงที่และรอบเวลาคงที่ เป็นสภาวะที่ไม่เสี่ยงที่จะ

เกิดสินค้าขาดมือเลย เพราะทุกสิ่งทุกอย่างแน่นอน

1.1 สต็อคเพ่ือความปลอดภัย (Safety Stock) เป็นสต็อคที่ต้องส ารองไว้กันสินค้าขาดเมื่อสินค้าถูกใช้

และปริมาณลดลงจนถึงจุดสั่งซื้อ (Reorder point) เป็นจุดทีใ่ช้เตือนส าหรับการสั่งซื้อรอบถัดไป เมื่ออุปสงค์สูง

กว่าสินค้าคงคลังที่เก็บไว้ เป็นการป้องกันสินค้าขาดมือไว้ล่วงหน้า หรืออีกค าอธิบายหนึ่งเป็นการเก็บสะสม

สินค้าคงคลังในช่วงของรอบเวลาในการสั่งซื้อ

Page 7: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

11

1.2 ระดับการให้บริการ (Service Level) เป็นวิธีการวัดปริมาณสต็อกเพ่ือความปลอดภัย เพ่ือให้

สอดคล้องกับข้อก าหนดในด้านคุณภาพ โดยปกติในระบบคุณภาพลูกค้าจะมีการคาดหวังในระดับที่ก าหนดเป็น

ร้อยละของการสั่งซื้อว่าสามารถจัดส่งได้หรือไม่ ซึ่งขึ้นกับนโยบายที่ป้องกันสต็อกขาดมือ โดยขึ้นอยู่กับต้นทุน

ส าหรับสต็อกเพ่ิมเติม และเสียยอดขายเนื่องจากไม่สอดคล้องกับอุปสงค์

2. จุดสั่งซื้อใหม่ในอัตราความต้องการสินค้าคงคลังที่แปรผันและรอบเวลาคงที่ เป็นสภาวะที่อาจเกิด

ของขาดมือได้เพราะว่าอัตราการใช้หรือความต้องการสินค้าคงคลังไม่สม่ าเสมอ จึงต้องมีการเก็บสินค้าคงคลัง

เผื่อขาดมือ (Cycle-Service Level) ซ่ึงจะเป็นโอกาสที่ไม่มีของขาดมือ

3. จุดสั่งซื้อในอัตราความต้องการสินค้าคงคลังคงที่และรอบเวลาแปรผัน เป็นสภาวะที่รอบเวลามี

ลักษณะการกระจายของข้อมูลแบบปกติ

4. จุดสั่งซื้อใหม่ในอัตราความต้องการสินค้าแปรผันและรอบเวลาแปรผัน โดยที่ทั้งอัตราความต้องการ

สินค้าและรอบเวลามีลักษณะการกระจายของข้อมูลแบบปกติทั้งสองตัวแปร

ส่วนการพิจารณาจุดสั่งซื้อใหม่ในกรณีที่การตรวจสอบสินค้าคงคลังเป็นแบบสิ้นงวดเวลาที่ก าหนดไว้ (Fixed

Time Period System) จะแตกต่างกับการตรวจสอบสินค้าคงคลังแบบต่อเนื่องตรงที่ปริมาณการสั่งซื้อแต่ละ

ครั้งจะไม่คงที่ และข้ึนอยู่กับว่าสินค้าพร่องลงไปเท่าใดก็ซ้ือเติมให้เต็มระดับเดิม

2.2.1.3 ระบบการจัดการสินค้าคงคลังในปัจจุบันมีสองชนิด

คือ แบบต่อเนื่อง และแบบสินค้าปลายงวด ซึ่งระบบการสั่งซื้อมีหลายตัวแบบในการค านวณ ขึ้นกับ

สภาวการณ์ต่างๆ เพื่อก าหนดจ านวนที่สั่งซื้อ เวลาในการสั่งซื้อ และจุดสั่งซื้อใหม่ ที่นิยมใช้มากที่สุดคือ การสั่ง

แบบต่อเนื่องเมื่อสินค้าถูกใช้ และการสั่งซื้อเมื่อจ านวนสินค้าเหลือตามจ านวนที่ก าหนด ซึ่งนิยมการสั่งซื้อโดย

ใช้แบบจ าลองปริมาณการสั่งซื้อแบบประหยัด (EOQ) เพ่ือใช้เป็นทางเลือกระหว่างต้นทุนค่าจัดเก็บและต้นทุน

การสั่งซื้อสินค้า

นอกจากนั้นยังสามารถใช้ในการตัดสินใจในการพิจารณาเลือกในการลงทุนให้มีต้นทุนการสั่งซื้อต่ าสุด

และสามารถลดต้นทุนสินค้าคงคลังทั้งระบบในซัพพลายเชนต่ าสุด

Page 8: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

12

2.2.1.4 ต้นทุนของสินค้าคงคลัง (Inventory Cost)

ต้นทุนสินค้าคงคลังมี 4 ชนิด คือ

1) ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ (Ordering Cost) เป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายเพ่ือให้ได้มาซึ่งสินค้าคงคลังที่ต้องการ

ซึ่งจะแปรตามจ านวนครั้งของการสั่งซื้อ แต่ไม่แปรตามปริมาณสินค้าคงคลัง เพราะสั่งซื้อของมากเท่าใดก็ตาม

ในแต่ละครั้ง ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อก็ยังคงที่ แต่ถ้ายิ่งสั่งซื้อบ่อยครั้งค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อจะยิ่งสูงขึ้น ค่าใช้จ่าย

ในการสั่งซื้อได้แก่ ค่าเอกสารใบสั่งซื้อ ค่าจ้างพนักงานจัดซื้อ ค่าโทรศัพท์ ค่าขนส่งสินค้า ค่าใช้จ่ายในการตรวจ

รับของและเอกสาร ค่าธรรมเนียมการน าของออกจากศุลกากร ค่าใช้จ่ายในการช าระเงิน เป็นต้น

2) ค่าใช้จ่ายในการตั้งเครื่องจักรใหม่ (Setup Cost) เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการที่เครื่องจักรจะต้อง

เปลี่ยนการท างานหนึ่งไปท างานอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งจะเกิดการว่างงานชั่วคราว สินค้าคงคลังจะถูกทิ้งให้รอ

กระบวนการผลิตที่จะตั้งใหม่ ค่าใช้จ่ายในการตั้งเครื่องจักรใหม่นี้จะมีลักษณะเป็นต้นทุนคงที่ต่อครั้ง ซึ่งจะ

ขึ้นอยู่กับขนาดของล็อตการผลิต ถ้าผลิตเป็นล็อตใหญ่มีการตั้งเครื่องใหม่นานครั้ง ค่าใช้จ่ายในการตั้งเครื่อง

ใหม่ก็จะต่ า แต่ยอดสะสมของสินค้าคงคลังจะสูง ถ้าผลิตเป็นล็อตเล็กมีการตั้งเครื่องใหม่บ่อยครั้ง ค่าใช้จ่ายใน

การตั้งเครื่องใหม่ก็จะสูง แต่สินค้าคงคลังจะมีระดับต่ าลง และสามารถส่งมอบงานให้แก่ลูกค้าได้เร็วขึ้น

3) ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา (carrying Cost) เป็นค่าใช้จ่ายจากการมีสินค้าคงคลังและการรักษาสภาพให้

สินค้าคงคลังนั้นอยู่ในรูปที่ใช้งานได้ ซึ่งจะแปรตามปริมาณสินค้าคงคลังที่ถือไว้และระยะเวลาที่เก็บสินค้าคง

คลังนั้นไว้ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ได้แก่ ต้นทุนเงินทุนที่จมอยู่กับสินค้าคงคลังซึ่งคือค่าดอกเบี้ยจ่ายถ้า

เงินทุนนั้นมาจากการกู้ยืมหรือเป็นค่าเสียโอกาสถ้าเงินทุนนั้นเป็นส่วนของเจ้าของ ค่าคลังสินค้า ค่าไฟฟ้าเพ่ือ

การรักษาอุณหภูมิ ค่าใช้จ่ายของสินค้าที่ช ารุดเสียหายหรือหมดอายุเสื่อมสภาพจากการเก็บนานเกินไป ค่าภาษี

และการประกันภัย ค่าจ้างยามและพนักงานประจ าคลังสินค้า ฯลฯ

4) ค่าใช้จ่ายเนื่องจากสินค้าขาดแคลน (Shortage Cost หรือ Stock out Cost) เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น

จากการมีสินค้าคงคลังไม่เพียงพอต่อการผลิตหรือการขาย ท าให้ลูกค้ายกเลิกค าสั่งซื้อ ขาดรายได้ที่ควรได้

กิจการเสียชื่อเสียง กระบวนการผลิตหยุดชะงักเกิดการว่างงานของเครื่องจักรและคนงาน ฯลฯ ค่าใช้จ่ายนี้จะ

แปรผกผันกับปริมาณสินค้าคงคลังที่ถือไว้ นั่นคือถ้าถือสินค้าไว้มากจะไม่เกิดการขาดแคลน แต่ถ้าถือสินค้าคง

คลังไว้น้อยก็อาจเกิดโอกาสที่จะเกิดการขาดแคลนได้มากกว่า และมีค่าใช้จ่ายเนื่องจากสินค้าขาดแคลนนี้ขึ้นอยู่

กับปริมาณการขาดแคลนรวมทั้งระยะเวลาที่ เกิดการขาดแคลนขึ้นด้วย ค่าใช้จ่ายเนื่องจากสินค้าขาดแคลน

Page 9: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

13

ได้แก่ ค าสั่งซื้อของล็อตพิเศษทางอากาศเพ่ือน ามาใช้แบบฉุกเฉิน ค่าปรับเนื่องจากสินค้าให้ลูกค้าล่าช้า ค่าเสีย

โอกาสในการขาย ค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึนจากการเสียค่าความนิยม ฯลฯ

ในบรรดาค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงคลังต่างๆ เหล่านี้ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาจะสูงขึ้นถ้ามีระดับ

สินค้าคงคลังสูง และจะต่ าลงถ้ามีระดับสินค้าคงคลังต่ า แต่ส าหรับค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายเนื่องจาก

สินค้าขาดแคลน และค่าใช้จ่ายในการตั้งเครื่องจักรใหม่ จะมีลักษณะตรงกันข้าม คือ จะสูงขึ้นถ้ามีระดับสินค้า

คงคลังต่ าและจะต่ าลงถ้ามีระดับสินค้าคงคลังสูง ดังนั้นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงคลังที่ต่ าสุด ณ ระดับที่

ค่าใช้จ่ายทุกตัวรวมกันแล้วต่ าสุด

2.2.2 ทฤษฎีการวิเคราะห์และออกแบบระบบ

ระบบ คือ กลุ่มขององค์การต่างๆ ที่ท างานร่วมกันเพ่ือจุดประสงค์อันเดียวกัน ระบบอาจจะประกอบด้วย

บุคคลากร เครื่องมือ เครื่องใช้ พัสดุ วิธีการ ซึ่งทั้งหมดนี้จะต้องมีระบบจัดการอันหนึ่งเพ่ือให้บรรลุจุดประสงค์

อันเดียวกัน

2.2.2.1 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบ ( System Analysis and Design)

การวิเคราะห์และออกแบบระบบ คือ วิธีการที่ใช้ในการสร้างระบบสารสนเทศขึ้นมาใหม่ในธุรกิจใดธุรกิจ

หนึ่ง หรือระบบย่อยของธุรกิจ นอกจากการสร้างระบบสารสนเทศใหม่แล้ว การวิเคราะห์ระบบช่วยในการ

แก้ไขระบบสารสนเทศเดิมที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้นด้วยก็ได้ การวิเคราะห์ระบบคือ การหาความต้องการ (

Requirements) ของระบบสารสนเทศว่าคืออะไร หรือต้องการเพ่ิมเติมอะไรเข้ามาในระบบและการออกแบบ

ก็ คือ การน าเอาความต้องการของระบบมาเป็นแบบแผนหรือเรียกว่าพิมพ์เขียว ในการสร้างระบบสารสนเทศ

นั้นให้ใช้ในงานได้จริง ผู้ที่ท าหน้านี้ก็คือ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ( System Analysis : SA )

นักวิเคราะห์ระบบคือใคร? คอมพิวเตอร์เป็นเพียงเครื่องมือที่ใช้ส าหรับเก็บรวบรวมและประมวลผลให้กับผู้ใช้

โดยให้ประโยชน์ต่อผู้ใช้คือ ความรวดเร็วและความถูกต้องของข้อมูล ซึ่งเป็นหัวใจส าคัญต่อการบริหารของ

ธุรกิจในปัจจุบันที่มีการแข่งขันสูง

ผู้ใช้ ( Users ) จึงเป็นผู้ก าหนดปัญหาและแนวทางของระบบงานที่น ามา แก้ไขซึ่งปัญหาแต่ผู้ใช้เอง

ไม่ทราบวิธีจะน าเอาคอมพิวเตอร์มาใช้แก้ปัญหา หรือช่วยเหลือในการบริหาร ในทางตรงกันข้ามโปรแกรมเมอร์

( programmers)และช่างเทคนิค ( technicians)เป็นผู้ที่สามารถจะใช้เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์และป้อน

ค าสั่งให้คอมพิวเตอร์ท างานได้ต้องการ แต่โปรแกรมเมอร์หรือช่างเทคนิคมักจะไม่เข้าใจถึงระบบธุรกิจมากนัก

Page 10: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

14

ดังนั้น ช่องว่างระหว่างนักธุรกิจหรือระบบงานในหน่วยงานต่างๆ กับโปรแกรมเมอร์หรือกับช่างเทคนิคจึงอาจ

เกิดข้ึนได้

นักวิเคราะห์ระบบจึงท าหน้าที่เป็นผู้สมานช่องว่างนี้ นักวิเคราะห์ระบบเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงที่จะน าเอา

ความเข้าใจและเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์มาใช้ ในการพัฒนาระบบงานข้อมูลเพ่ือช่วยแก้ปัญหาให้กับงานใน

หน่วยงานต่างๆ

บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้ที่ศึกษาถึงปัญหาและความต้องการของ

นักธุรกิจ โดยน าเอาปัจจัย 3 ประการ คือ คน ( people ) วิธีการ ( method ) และคอมพิวเตอร์เทคโนโลยี (

computer technology ) ใช้ในการปรับปรุงหรือแก้ปัญหาให้กับนักธุรกิจ เมื่อได้มีการน าเอาพัฒนาการทาง

เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์มาใช้ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องรับผิดชอบถึงการก าหนดลักษณะของข้อมูล ( data

) ที่จะจัดเก็บเข้าสู่ระบบงานคอมพิวเตอร์ การหมุนเวียน การเปลี่ยนแปลงของข้อมูลและระยะเวลาเพ่ือให้เกิด

ประโยชน์สูงสุดต่อผู้ใช้หรือธุรกิจ ( business users ) นักวิเคราะห์ระบบไม่ได้เพียงวิเคราะห์หรือดีไซน์

ระบบงานเท่านั้น หากแต่ยังขายบริการทางด้านระบบงานข้อมูล โดยน าเอาประโยชน์จากเทคโนโลยีล่าสุดมาใช้

ควบคู่กันไปด้วย จากบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ท าให้นักวิเคราะห์ระบบจะต้องมี

ความรู้ทั้งทางภาคธุรกิจหรือการด าเนินงาน ในหน่วยงานต่างๆ และคอมพิวเตอร์ควบคู่กัน นักวิเคราะห์ระบบ

โดยส่วนใหญ่สามารถที่จะดีไซน์ระบบงานและเขียนโปรแกรมขึ้นได้ด้วยตัวเอง ส่วนนี้ เองกลับท าให้

บุคคลภายนอกเกิดความสับสนระหว่างโปรแกรมเมอร์กับนักวิเคราะห์ระบบ

การวิเคราะห์ (Analysis) เริ่มเข้าสู่การวิเคราะห์ระบบ การวิเคราะห์ระบบเริ่มตั้งแต่การศึกษาระบบ

การท างานของธุรกิจนั้น ในกรณีที่ระบบเราศึกษานั้นเป็นระบบสารสนเทศอยู่แล้วจะต้องศึกษาว่าท างาน

อย่างไร เพราะเป็นการยากที่จะออกแบบระบบใหม่โดยที่ไม่ทราบว่าระบบเดิมท างานอย่างไร หรือธุรกิจ

ด าเนินการอย่างไร หลังจากนั้นก าหนดความต้องการของระบบใหม่ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบจะต้องใช้เทคนิคใน

การเก็บข้อมูล (Fact-Gathering Techniques) ดังรูป ได้แก่ ศึกษาเอกสารที่มีอยู่ ตรวจสอบวิธีการท างานใน

ปัจจุบัน สัมภาษณ์ผู้ใช้และผู้จัดการที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบ เอกสารที่มีอยู่ได้แก่ คู่มือการใช้งาน แผนผังใช้

งานขององค์กร รายงานต่างๆที่หมุนเวียนใน ระบบการศึกษาวิธีการท างานในปัจจุบันจะท าให้นักวิเคราะห์

ระบบรู้ว่าระบบจริงๆท างานอย่างไร ซึ่งบางครั้งค้นพบข้อผิดพลาดได้ ตัวอย่าง เช่น เมื่อบริษัทได้รับใบเรียกเก็บ

เงินจะมีขั้นตอนอย่างไรในการจ่ายเงิน ขั้นตอนที่เสมียนป้อนใบเรียกเก็บเงินอย่างไร เฝ้าสังเกตการท างานของ

ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้เข้าใจและเห็นจริงๆ ว่าขั้นตอนการท างานเป็นอย่างไร ซึ่งจะท าให้นักวิเคราะห์ระบบค้นพบ

จุดส าคัญของระบบว่าอยู่ที่ใด

Page 11: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

15

การสัมภาษณ์เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่นักวิเคราะห์ระบบควรจะต้องมีเพ่ือเข้ากับผู้ใช้ได้ง่าย และสามารถดึงสิ่ง

ที่ต้องการจากผู้ใช้ได้ เพราะว่าความต้องการของระบบคือ สิ่งส าคัญที่จะใช้ในการออกแบบต่อไป ถ้าเรา

สามารถก าหนดความต้องการได้ถูกต้อง การพัฒนาระบบในขั้นตอนต่อไปก็จะง่ายขึ้น เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูล

แล้วจะน ามาเขียนรวมเป็นรายงานการท างานของ ระบบซึ่งควรแสดงหรือเขียนออกมาเป็นรูปแทนที่จะร่ายยาว

ออกมาเป็นตัวหนังสือ

การแสดงแผนภาพจะท าให้เราเข้าใจได้ดีและง่ายขึ้น หลังจากนั้นนักวิเคราะห์ระบบ อาจจะน าข้อมูลที่

รวบรวมได้น ามาเขียนเป็น "แบบทดลอง" (Prototype) หรือตัวต้นแบบ แบบทดลองจะเขียนขึ้นด้วย

ภาษาคอมพิวเตอร์ต่างๆ และที่ช่วยให้ง่ายขึ้นได้แก่ ภาษายุคที่ 4 (Fourth Generation Language) เป็นการ

สร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นมาเพ่ือใช้งานตามที่เราต้องการได้ ดังนั้นแบบทดลองจึงช่วยลดข้อผิดพลาดที่

อาจจะเกิดขึ้นได้

เมื่อจบขั้นตอนการวิเคราะห์แล้ว นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเขียนรายงานสรุปออกมาเป็น ข้อมูลเฉพาะของ

ปัญหา (Problem Specification) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

รายละเอียดของระบบเดิม ซึ่งควรจะเขียนมาเป็นรูปภาพแสดงการท างานของระบบ พร้อมค าบรรยาย ,

ก าหนดความต้องการของระบบใหม่รวมทั้งรูปภาพแสดงการท างานพร้อมค าบรรยาย, ข้อมูลและไฟล์ที่จ าเป็น,

ค าอธิบายวิธีการท างาน และสิ่งที่จะต้องแก้ไข. รายงานข้อมูลเฉพาะของปัญหาของระบบขนาดกลางควรจะมี

ขนาดไม่เกิน 100-200 หน้ากระดาษ

2.2.2.2 วิธีรวบรวมข้อมูล

วิธีการรวบรวมข้อมูลอาจท าได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดข้อมูลที่เราต้องการ การรวบรวมข้อมูลแยกได้

ดังต่อไปนี้2.2.2.2.1 การรวบรวมจากเอกสาร (Documents)

แหล่งข้อมูลจากเอกสารที่มีอยู่ในองค์กรที่นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ควรจะศึกษาและรวบรวมข้อมูล

มีดังต่อไปนี้

• โครงสร้างขององค์กร (Organization Charts)

• นโยบาย (Policy Manuals)

• คู่มือวิธีการปฏิบัติงาน (Methods and Procedures Manuals)

• หน้าที่ความรับผิดชอบ (Job Descriptions)

• แบบฟอร์มรายงานต่าง ๆ (Forms and Reports)

• การรับ/ส่งเอกสารและกระบวนการท างาน (Document Flow and Work Flow Diagrams)

Page 12: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

16

• ระบบงาน (System Flowchart)

กรณีท่ีองค์กรมีระบบงานคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว เอกสารที่ต้องศึกษาเพ่ิมเติมคือ

• เอกสารเกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program Documentation)

• ค าอธิบายข้อมูล (Data Dictionary listing)

• คู่มือการใช้ระบบงานคอมพิวเตอร์ (Computer Operations Manuals)

2.2.2.3 แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบสอบถามเป็นเอกสารที่ท าขึ้นเพ่ือถามค าถามที่ให้ผู้ตอบตอบค าถาม ที่ผู้ออกแบบสอบถามต้องการ เมื่อเปรียบเทียบกับการสัมภาษณ์ แบบสอบถามจะเป็นแบบ Impersonal ซึ่งเป็นการหาข้อมูลได้ทีละมาก ๆ จากจ านวนมาก เหมาะกับการที่ต้องหาข้อมูลจากคนจ านวนมาก

2.2.2.3.1 คุณสมบัติของแบบสอบถามมีดังต่อไปนี้ 1. แบบสอบถามที่ตรงประเด็น (Validity) 2. มีความเชื่อถือได้ (Reliability) 3. มีเหตุมีผล (Face validity)

2.2.2.3.2 การวางแผนส าหรับการใช้แบบสอบถาม 1. ก าหนดวัตถุประสงค์ท่ีแน่นอนส าหรับการรวบรวมข้อมูลที่ต้องการ แบบสอบถามที่ได้นั้นต้องก าหนดทางเลือกข้อคิดเห็น เป็นทั้งค าถามปิดและค าถามเปิดเพ่ือ ขอความคิดเห็นจากผู้ตอบ 2. ก าหนดผู้ตอบแบบสอบถาม ถ้ามีจ านวนผู้ตอบมากกว่าควรใช้การสุ่ม 3. ก าหนดแบบสอบถามเพ่ือให้ผู้ตอบยอมรับแบบสอบถามนั้น 4. ก าหนดรูปแบบ (Forms) ของแบบสอบถามและวิธีการประเมินผล

2.2.2.3.3 การสัมภาษณ์ (Interview)

เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการพูดคุยซักถามบุคลากร เพ่ือให้ได้ข้อมูล ตามที่นักวิเคราะห์ระบบต้องการ ซึ่งเป็นวิธีหาข้อมูลที่ส าคัญอีกวิธีหนึ่ง นักวิเคราะห์ต้องเตรียมตัวสัมภาษณ์ โดยศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรบางส่วนเพื่อเตรียมค าถามในการสัมภาษณ์ ผู้ที่จะสัมภาษณ์จะเป็นผู้บริหารระดับสูง ระดับกลาง ระดับล่าง เรื่องมาจนถึงพนักงาน

การสัมภาษณ์เริ่มจากผู้บริหารระดับสูงนั้น เพ่ือต้องการทราบถึงวัตถุประสงค์ ขององค์กรและความต้องการของระบบของผู้บริหารแต่ละระดับ สิ่งที่ควรค านึงถึงกาสัมภาษณ์นั้นคือ ควรท าให้ผู้ถูกสัมภาษณ์รู้สึกว่าเป็นการสนทนากันตามปกติ โดยมิให้เขามีความรู้สึกว่าเขาจะถูกแย่งงาน และพยายามเปิดโอกาสให้เขาออกความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการออกแบบระบบ เพ่ือให้เขา มีความรู้สึกที่ดีต่อระบบใหม่ที่ก าลังพัฒนาขึ้น

Page 13: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

17

2.2.2.3.4 ขั้นตอนการสัมภาษณ์

1. ก าหนดแหล่งที่มาของข้อมูล โดยทั่วไปนักวิเคราะห์ควรสัมภาษณ์ตั้งแต่ ผู้บริหารระดับสูงลงมา เพื่อทราบวัตถุประสงค์ขององค์การ ปัญหาความต้องการสารสนเทศและความต้องการระบบ ซึ่งการสัมภาษณ์ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูงลงมาจนถึงผู้ปฏิบัติงานนั้น ท าให้ผู้ปฏิบัติงานให้ความร่วมมือมากยิ่งข้ึน เพราะเขาได้รู้ว่าผู้บริหารเป็นผู้ต้องการให้มีการวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. เตรียมตัวสัมภาษณ์ก่อนการสัมภาษณ์นั้น ผู้สัมภาษณ์ต้องก าหนด ความต้องการโดยการเขียนวัตถุประสงค์ในการสัมภาษณ์ จากนั้นก็เขียน Outline เพ่ือให้ครอบคลุม สิ่งที่ควรสัมภาษณ์หลังจากนั้นต้องท าการนัดหมายผู้ที่จะสัมภาษณ์ นักวิเคราะห์ระบบต้องศึกษาข้อมูล เกี่ยวกับผู้ที่เขาจะสัมภาษณ์ เช่น หน้าที่ความรับผิดชอบในองค์กร

2.2.2.3.5 ขั้นตอนการด าเนนิการสัมภาษณ์

การด าเนินการสัมภาษณ์เป็นขั้นตอน ที่ส าคัญที่สุดซึ่งจะต้องท าให้การสัมภาษณ์เป็นไปตามความต้องการหรือไม่นั้น นักวิเคราะห์ควรจะมีทักษะ ในการสัมภาษณ์ โดยต้องให้การสัมภาษณ์เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ควรสัมภาษณ์ตัวต่อตัว ยิ่งไปกว่านั้น นักวิเคราะห์ระบบควรจะพยายามพูดให้น้อยที่สุด เพ่ือจะได้เปิดโอกาสให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ได้แสดงความคิดเห็น ให้มากที่สุด

2.2.2.3.6 การสังเกต (Observation)

การสังเกตเป็นการรวบรวมข้อมูล โดยการดูกระบวนการท างานจริง ๆ ของระบบอย่างเดียว โดยไม่มีการสอบถามใด ๆ อาจใช้แบบสอบถามเป็นแนว ผู้สังเกตการณ์ต้องรู้ว่า จะสังเกตอะไร และต้องท าการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในขณะสังเกต สรุปการสังเกต ข้อมูลที่ได้จะถูกต้องแม่นย าเพียงใด ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้สังเกตการณ์ ซึ่งผู้สังเกตการณ์ ต้องมีความละเอียดรอบคอบมีไหวพริบและความยุติธรรมการสังเกตการปฏิบัติการในองค์การ อาจกระท าโดยให้ผู้สังเกตรู้ตัว หรือสังเกต โดยไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัวก็ได้

Page 14: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

18

2.2.2.3.7 ข้อดีของการสังเกต

1. ข้อมูลที่ได้จากเหตุการณ์จริง ๆ (System-related tasks) ซ่ึงเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้ 2. ข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูล จากการสังเกตโดย ไม่มีการเตรียมตัว เหมือนการท าแบบสอบถาม หรือการสัมภาษณ์ 3. ข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลที่น่าเชื่อมาก เนื่องจากผู้สังเกตการณ์เป็นผู้เห็นเหตุการณ์จริงๆด้วยตาข้อเสียของการสังเกต 3.1 ไม่สะดวก กรณีท่ีกระบวนการเกิดขึ้นไม่บ่อยก็ต้องใช้เวลา 3.2 กรณีท่ีบุคลากรรู้ว่ามีคนสังเกตการท างานของเขา เขาอาจจะไม่ได้ท าเหมือนปกติ ที่เคยท า ท าให้ได้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความจริง 3.3 ต้องใช้คนที่มีความสามารถสูงในการสังเกต

2.2.2.3.8 การสุ่ม (Sampling) การสุ่มใช้การการหาข้อมูลที่มีบุคลากรจ านวนมาก เหตุการณ์มากและ มีการเปลี่ยนแปลง การท างานมากไม่สามารศึกษาจากทุกกลุ่ม ทุกกระบวนการได้ ซึ่งท าให้เสียเวลา และค่าใช้จ่ายมาก จึงต้องน าเอาวิธีทางสถิติ เข้ามาช่วยโดยการใช้การสุ่มเอาข้อมูลบางส่วน วิธีนี้เป็นวิธีที่ได้ผลดีอีกวิธีหนึ่ง

2.3 การเขียนภาพแสดงกระแสข้อมูลหรือ (Data Flow Diagram : DFD) Data Flow Diagram เป็นเครื่องมือของนักวิเคราะห์ระบบที่ช่วยให้สามารถเข้าใจกระบวนการท างานของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งทราบถึงการรับ / ส่งข้อมูล การประสานงานระหว่างกิจกรรมต่าง ๆ ในการด าเนินงาน ซึ่งเป็นแบบจ าลองของระบบ แสดงถึงการไหลของข้อมูลทั้ง INPUT และ OUTPUT ระหว่างระบบกับแหล่งก าเนิดรวมทั้งปลายทางของการส่งข้อมูล ซึ่งอาจเป็นแผนก บุคคล หรือระบบอ่ืน โดยขึ้นอยู่กับระบบงานและการท างานประสานงานภายในระบบนั้น นอกจากนี้ยังช่วยให้รู้ถึงความต้องการข้อมูลและข้อบกพร่อง (ปัญหา) ในระบบงานเดิม เพ่ือใช้ในการออกแบบการปฏิบัติงานในระบบใหม่

รูปที่ 2-1 แสดงตัวอย่างDFD ต่างระดับ (คลิกท่ีรูปถ้าต้องการดูรูปที่ชัดเจน)

Page 15: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

19

จากรูปที่ 2-1 ลูกศรแสดงถึงข้อมูลซึ่งต้องมีชื่อก ากับ ลูกศรนี้จะเคลื่อนที่ผ่านระบบตรงกลาง คือ การสร้างระบบวานใหม่ แสดงถึงการกระท าสิ่งหนึ่งสิ่งใดกับข้อมูลที่วิ่งเข้ามา และลูกศรที่วิ่งออกจากระบบตรงกลางแสดงถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการกระท าบนข้อมูลนั้นๆ แต่จากรูปนี้เราไม่อาจทราบว่าระบบใหม่สร้างขึ้นมาได้อย่างไร เอให้ได้รายละเอียดในการสร้างระบบใหม่ เราก็แตกระบบนี้ลงอีกระดับหนึ่ง ในรูปที่ 1 ส่วนล่างที่แตกออกไปเป็น 3 กิจกรรม มีกิจกรรมอยู่ 3 ขั้นตอนในการสร้างระบบใหม่ การแยกย่อยหน้าที่หนึ่งให้ได้รายละเอียดมากขึ้น ท าให้เราเข้าใจระบบนั้นได้ดีขึ้น และอาจจะแตกกิจกรรมทั้ง 3 กิจกรรมลงให้มีรายละเอียดมากขึ้นอีกก็เป็นได้ จนกว่าจะได้รายละเอียดเหมาะสมตามจุดประสงค์ของเรา วิธีการเขียนนี้ เหมือนกันกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งมีหลาย ๆ โปรแกรมย่อยนั่นเอง ดังนั้นการเขียน DFD ละเอียดเท่าใดก็ท าให้การออกแบบที่ตามมาง่ายข้ึนเท่านั้น

โมเดลทางกายภาพและทางตรรกะภาพ (physical and Logical Model) ในการเขียนแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) เราอาจเขียนได้ใน 2 รูปแบบ คือ แผนภาพการไหลของข้อมูลทางกายภาพ และแผนภาพการไหลของข้อมูลทางตรรกะภาพ ซึ่งทั้ง 2 แบบนี้จะแตกต่างกันคือ เมื่อเราพูดถึงลอจิคัลหรือตรรกะภาพจะหมายถึง การกระท าอย่างใดอย่างหนึ่งที่เราพูดถึงโดยไม่สนใจว่าจะท าอย่างไร เช่น เราพูดว่าเรียงล าดับข้อมูล เราจะไม่สนใจว่าจะเรียงล าดับข้อมูลนั้นได้อย่างไร เราเรียกการกระท าแบบนี้ว่า ลอจิคัลหรือตรรกภาพ หรืออีกนัยหนึ่งลอจิคัลก็คือ "ท าอะไร" ในขณะที่ฟิสิคัลหรือกายภาพจะมีความหมายตรงข้ามคือ จะต้องการทราบว่า การจะท าอะไรนั้นจะต้องท าอย่างไร เช่น การเรียงล าดับข้อมูลต้องทราบว่า จะต้องใช้โปรแกรม Utility ช่วยในการเรียงล าดับ

สรุปก็คือ ลอจิคัลหรือตรรกะภาพจะไม่สนใจว่า "จะท าอะไร" ส่วนฟิสิคัลหรือกายภาพนอกจากจะต้องทราบว่าจะท าอะไรแล้วยังต้องค านึงด้วยว่า "จะท าอย่างไร"

ตัวอย่างแผนภาพลอจิคัลและฟิสิคัลส าหรับการพิมพ์รายงานเพ่ือเตรียมเงินสด

รูปที ่2-2 ตัวอย่างแผนภาพลอจิคัล ส าหรับการพิมพ์รายงานเพื่อเตรียมเงินสด

รูปที ่2 -3 ภาพแสดงการพิมพเ์พื่อเตรียมพิมพเ์งินสด

Page 16: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

20

2.3.1 ส่วนประกอบของ DFD

เพ่ือให้การเขียนแผนภาพการไหลของข้อมูลเป็นมาตรฐานและมีแบบแผนที่ถูกต้อง ในที่นี้จะใช้

สัญลักษณ์ในการเขียน DFD ตามทฤษฎีของ SSADM (Structure Systems Analysis and Design Method)

ซึ่งมีองค์ประกอบ 4 สัญลักษณ์ ดังต่อไปนี้

1. สัญลักษณ์แทนการประมวลผล (Process)

รูปที่ 2-4 ภาพสัญลักษณ์แทนการประมวลผล (Process)

2. สัญลักษณ์แทนกระแสข้อมูลเป็นลูกศร (Data Flow)

รูปที ่2-5 ภาพสัญลักษณ์แทนกระแสข้อมูลเป็นลูกศร (Data Flow)

3. สัญลักษณ์แทนแหล่งเก็บข้อมูล (Data Store) เป็นเส้นขนาน 2 เส้น ปลายปิด 1 ด้าน

รูปที ่2-6 ภาพสัญลักษณ์แทนแหล่งเก็บข้อมูล (Data Store) เป็นเส้นขนาน 2 เส้น ปลายปิด 1 ด้าน

Page 17: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

21

4. สัญลักษณ์แทนสิ่งที่อยู่นอกระบบ (External หรือ Terminators)

รูปที่ 2-7 แสดงสัญลักษณ์ในการเขียน DFD

เราจะใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ข้างต้นนี้เพ่ือเขียนแผนการไหลของข้อมูล เพ่ืออธิบายกระบวนการท างานเป็น

แผนภาพ ให้ง่ายต่อการท าความเข้าใจ

2.3.1 สัญลักษณ์แทนการประมวลผล (Process)

รูปสี่เหลี่ยมมีหมายเลขและชื่อก ากับ เป็นสัญลักษณ์แทนขั้นตอนในกระบวนการท างาน จะกระท าให้ลักษณะ

ของข้อมูลเปลี่ยนแปลงไป ดังตัวอย่าง

รูปที ่2-8 ภาพตัวอย่างสัญลักษณ์แทนการประมวลผล (Process)

Page 18: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

22

การประมวลผลจะเปลี่ยนแปลงข้อมูลขาเข้าเป็นผลลัพธ์ นั่นหมายความว่า จะต้องมีการกระท า

บางอย่างต่อข้อมูลท าให้เกิดผลลัพธ์ขึ้นมา โดยปกติแล้วข้อมูลที่เข้าสู่โพรเซสจะแตกต่างจากข้อมูลเมื่ออกจาก

โพรเซส

โพรเซสเป็นตัวอย่างอันหนึ่งของ "กล่องด า" หมายถึง เราทราบว่าข้อมูลเป็นอะไร ผลลัพธ์อะไรที่เรา

ต้องการ และหน้าที่โดยทั่วๆไปของโพรเซส แต่จะไม่ทราบว่าโพรเซสนั้นท างานอย่างไร หลักการของกล่องด ามี

ประโยชน์ในการเขียนแผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล โดยที่ยังไม่ต้องการทราบในรายละเอียดว่าโพ

รเซสนั้นมีรายละเอียดอะไรบ้าง ซึ่งสามารถหารายละเอียดเหล่านั้นได้ในภายหลัง

ชื่อโพรเซสเป็นตัวบอกว่าโพรเซสนั้นท าหน้าที่อะไร ค าที่ใช้ควรมีความหมายที่แน่นอน ควรจะใช้

ค ากริยา เช่น แก้ไข พิมพ์ ค านวณ เป็นต้น ถ้าการท างานใดที่เราไม่สามารถหาค าแทนได้อย่างเหมาะสม

อาจจะหมายความว่า งานนั้นๆ ไม่ใช่โพรเซสก็ได้ โพรเซสใดไม่สามารถแยกย่อยออกไปได้อีก จะมีสัญลักษณ์ *

ก ากับอยู่ด้วย จะปรากฏที่โพรเซสในระดับล่างสุดของ DFD

รูปที่ 2-9 ตัวอย่างสัญลักษณ์แทนการประมวลผล (Process)แสดงว่าโพรเซส ค านวณภาษี เป็นกระบวนการ

หรือกิจกรรมสุดท้ายในการท างาน ไม่สามารถแยกย่อยออกไปได้อีก

2.3.2 กระแสข้อมูล (Data Flow)

กระแสข้อมูลแทนด้วยลูกศร โดยที่มีชื่อก ากับบนลูกศร

รูปที ่2-10 ภาพสัญลักษณ์แทนกระแสข้อมูลเป็นลูกศร (Data Flow)

ข้อมูลจะไหลระหว่างโพรเซสต่างๆ และอาจจะเคลื่อนที่มาจากสิ่งที่อยู่นอกระบบก็ได้ ข้อมูลที่เคลื่อนที่อาจจะ

เป็นเพียงข้อมูลเดี่ยวๆ เช่น เลขที่สินค้า หรือกลุ่มของข้อมูล เช่น ข้อมูลพนักงาน ข้อมูลลูกค้า เป็นต้นกลุ่มของ

ข้อมูลควรจะเป็นเรื่องเดียวกัน หรือสัมพันธ์กัน ถ้าต้องการอ้างถึงข้อมูลทั้งสองที่ไม่เกี่ยวข้องกันให้เขียนแยก

เป็นลูกศร 2 อัน เช่น

Page 19: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

23

รูปที่ 2-11 ข้อมูล 2 รายการไม่เหมือนกันจะต้องแยกลูกศรออกจากกัน(ซ้ายเป็นภาพที่ผิด),(ขวาเป็นภาพที่ถูก)

2.3.3 แหล่งเก็บข้อมูล (Data Store)

แทนด้วยเส้นขนาน 2 เส้น ปลายปิด 1 ด้าน และมีชื่อและหมายเลขก ากับ ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในไฟล์

และถูกเรียกใช้เมื่อต้องการ โดยปกติแล้วไฟล์ไม่อาจจะอยู่ในจานแม่เหล็ก หรือเทปแม่เหล็ก ถ้าหัวลูกศรวิ่งเข้า

สู่ไฟล์แสดงว่า มีการเขียนข้อมูล หรือการแก้ไขข้อมูลในไฟล์ การตั้งชื่อไฟล์ควรเป็นค านาม

รูปที่ 2-12 การแก้ไขข้อมูลในไฟล์

ประเภทของแฟ้มข้อมูล คือ

1. Manual File

2. Digital File

3. Transaction File

ในการเขียน DFD แหล่งเก็บข้อมูลต้องไม่เชื่อมต่อกันโดยตรง โดยปราศจากโพรเซสใดโพรเซสหนึ่งก่อน

Page 20: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

24

รูปที่ 2-13 แสดงการเชื่อม Data Store (ด้านบนเป็นภาพที่ผิด),(ด้านล่างเป็นภาพที่ถูก)

2.3.4 แหล่งเก็บข้อมูลนอกระบบ (Terminator)

สิ่งที่อยู่นอกระบบแทนวงรี ซึ่งจะมีชื่อ และชื่อกระบวนการก ากับอยู่ด้วย ส่วนใหญ่จะเป็นตัวบุคคล

หรือองค์การต่างๆ สิ่งที่อยู่นอกระบบอาจจะเป็นที่ส่งข้อมูลเข้าระบบ หรืออาจเป็นตัวรับข้อมูลจากระบบก็ได้

รูปที ่2-14 สัญลักษณ์แหล่งเก็บข้อมูลนอกระบบ(Terminator)

การที่ใน DFD เดียวกันมีแหล่งเก็บข้อมูลภายนอกเดียวกันปรากฏอยู่มากกว่า 1 ที่ จะมีสัญลักษณ์เพ่ิม ดังรูป

รูปที ่2-15 สัญลักษณ์แหล่งเก็บข้อมูลนอกระบบ(Terminator)ใน DFD เดียวกันมีแหล่งเก็บข้อมูล

ภายนอกเดียวกันปรากฏอยู่มากกว่า 1 ที่ จะมีสัญลักษณ์เพ่ิม

Page 21: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

25

ในการเขียนแผนภาพการไหลของข้อมูล เราไม่สามารถเขียนเชื่อมโยงระหว่าง External Entity 2 ตัว เชื่อมต่อ

กันได้โดยตรง จ าเป็นต้องผ่านโพรเซสอย่างน้อย 1 โพรเซส ดังรูป

รูปที่ 2-16 แสดงการเชื่อมโพรเซส 2 โพรเซส (ด้านบนเป็นภาพที่ผิด),(ด้านล่างเป็นภาพที่ถูก)

2.3.5 ค าอธิบายข้อมูล (Data Dictionary)

ในการเขียนแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram DFD) เป็นการเขียนกระบวนการ

ท างานต่างๆ ในระบบงาน แต่รายละเอียดของข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฏในระบบงาน แผนภาพการไหลของข้อมูล

(DFD) ไม่สามารถน าเสนอได้ทั้งหมด ดังนั้นในการวิเคราะห์และออกแบบระบบจึงต้องมีการเขียนค าอธิบาย

ข้อมูล (Data Description) หรือพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ซึ่งเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมด

รายละเอียด ค าอธิบายข้อมูลต่างๆ ในระบบงาน พจนานุกรมข้อมูลอาจแยกเขียนได้ดังต่อไปนี้

• พจนานุกรมโครงสร้างข้อมูล (Data Structure Dictionary)

• พจนานุกรมกระแสการไหลของข้อมูล (Data Flow Dictionary)

• พจนานุกรมแหล่งการเก็บข้อมูล (Data Store Dictionary)

• พจนานุกรมหน่วยงานภายนอกระบบ (External Entity Dictionary)

Page 22: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

26

2.3.6 Data Structure Dictionary

พจนานุกรมโครงสร้างข้อมูลเป็นการเขียนค าอธิบายหรือรายละเอียดของข้อมูลโครงสร้าง (Data

Structure) ว่าประกอบไปด้วยข้อมูลย่อยหรือข้อมูลเดี่ยว(Data Element) อะไรบ้าง เพ่ือความเข้าใจใน

ระบบงานให้ชัดเจนมากขึ้น

สัญลักษณ์ท่ีใช้ในพจนานุกรมโครงสร้างข้อมูล

รูปที่ 2-17 แสดงสัญลักษณ์ในการเขียนพจนานุกรมข้อมูล

ตวัอย่าง

สัญลักษณ์เท่ากับ ใช้เขียนอธิบายว่าข้อมูลที่อยู่ทางซ้ายมือแยกย่อยลงได้เป็นข้อมูลย่อยๆ ทางขวามือ โดยมี

เครื่องหมาย "+" หมายถึง"และ" ตัวอย่างเช่น

ที่อยู่ผู้ขาย = ถนน + จังหวัด + รหัสไปรษณีย์

สัญลักษณ์ [ ] หมายถึงให้เลือกหนึ่งจากตัวเลือกท่ีมีมากกว่าหนึ่ง เช่น

เกรด = [A B+ B C+ C D+ D E I]

* เกรดหมายถึงผลการเรียนในแต่ละวิชา *

สัญลักษณ์ { } การท าซ้ าส าหรับข้อมูลตัวหนึ่ง หรือกลุ่มของข้อมูลชุดหนึ่งนอกจากนั้นจะมีข้อความก ากับว่า

"max" และ "min" หมายความว่าท าซ้ าจากจ านวนน้อยที่สุด (min) ไปถึงจ านวนมากท่ีสุด (max) ครั้ง

ตัวอย่างเช่น

ใบสั่งซื้อ = ชื่อบริษัทที่ชื้อสินค้า + {ชื่อสินค้า+หน่วยสินค้า+จ านวน+ราคา}

Page 23: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

27

2.3.7 Data Flow Dictionary

พจนานุกรมส าหรับการไหลของข้อมูลเป็นการเขียนอธิบายรายละเอียดของข้อมูลที่ปรากฏในแต่ละเส้นการไหล

ของข้อมูล (Data Flow) ในแผนภาพการไหลของข้อมูล เช่น

รูปที ่2-18 ภาพแสดงพจนานุกรมส าหรับการไหลของข้อมูลเป็นการเขียนอธิบายรายละเอียดของข้อมูล

2.3.8 Data Store Dictionary

พจนานุกรมส าหรับการเก็บข้อมูล เป็นการเขียนค าอธิบายแหล่งเก็บข้อมูลที่เกิดข้ึนในระบบงานซึ่งจะ

รวมทั้งแฟ้มที่เป็นเอกสาร และแฟ้มที่จัดเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะดูได้จากแผนภาพการไหลของข้อมูล

(Data Flow Dictionary : DFD) ตัวอย่างการเขียนพจนานุกรมส าหรับการเก็บข้อมูลดังตัวอย่าง

รูปที่ 2-19 แสดงตัวอย่างพจนานุกรมส าหรับการเก็บข้อมูลในระบบงานวางแผนการผลิต

Page 24: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

28

2.3.8 หลักของการดีไซน์เอาต์พุต

เอาต์พุตคือ ข้อมูลที่ถูกส่งมอบให้กับผู้ใช้ระบบ โดยระบบงานข้อมูล ( Information System) ซึ่ง

ข้อมูลเหล่านี้ บางครั้งก็ต้องผ่านกระบวนการต่างๆ มากมายภายในระบบงานเสียก่อนที่จะถูกส่งออกมาให้กับ

ผู้ใช้ระบบหรือในบางครั้ง ข้อมูลบางประเภทก็อาจจะไม่จ าเป็นต้องผ่านกระบวนการภายในระบบเลย หรือหาก

มีก็น้อยมากซ่ึงก็อาจเป็นไปได้ เอาต์พุตส าหรับระบบงานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีหลายรูปแบบ ซึ่งอาจแบ่งได้

เป็น 2 ลักษณะ คือแบบฮาร์ดก๊อปปี้ (Hard Copy) ซึ่งก็ได้แก่รายงานต่างๆ ที่ออกมาทางเครื่องพิมพ์ และแบบ

ซอฟต์ก๊อปปี้ (Sofy Copy) ซึ่งมักหมายถึงข้อมูลที่แสดงผลออกทางจอภาพชนิดต่างๆ และไมโครฟอร์ม

(Microform) เป็นต้น

เนื่องจากเอาต์พุตเป็นสิ่งส าคัญที่จะเรียกการยอมรับหรือเรียกคะแนนนิยม ให้กับระบบงานที่

นักวิเคราะห์ก าลังพัฒนาและดีไซน์อยู่ นักวิเคราะห์ระบบจึงควรทราบหลักการส าคัญ 6 ข้อในการดีไซน์

เอาต์พุต ดังนี้

2.3.8.1 ดีไซน์เอาต์พุตเพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ระบบ

ทุกครั้งที่ระบบจะต้องออกเอาต์พุต ไม่ว่าจะเป็นการออกรายงานต่างๆ ทางเครื่องพิมพ์ หรือการแสดง

ข้อมูลออกทางจอภาพ (CRT) นักวิเคราะห์ระบบควรทราบว่า ทุกเอาต์พุตที่กล่าวมานั้นจะต้องมีจุดประสงค์

ของมันเองอยู่ โดยจุดประสงค์ของการออกรายงานหรือ เอาต์พุตนั้นเกิดขึ้นเพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของ

ผู้ใช้ระบบในแง่ใดแง่หนึ่ง

ดังนั้น การดีไซน์เอาต์พุตจึงจะต้องค านึงถึงจุดประสงค์และความต้องการของผู้ใช้ระบบ ไม่ใช่เอาความ

สวยงามของการจัดรายงานหรือจอภาพเป็นหลัก หากว่าการดีไซน์เอาต์พุตไม่สามารถครอบคลุมวัตถุประสงค์

และความต้องการของผู้ใช้ระบบได้ นักวิเคราะห์ระบบก็ไม่ควรจะดันทุรังท าต่อ เพราะเป็นการสิ้นเปลืองทั้ง

เวลาและแรงงานโดยใช่เหตุ

Page 25: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

29

2.3.8.2 ดีไซน์เอาต์พุตให้เหมาะสมต่อผู้ใช้ระบบ

ในลักษณะที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ที่นักวิเคราะห์ระบบก าลังพัฒนาเป็นระบบที่ใหญ่ มีผู้ใช้ระบบอยู่

หลายระดับหรือจ านวนมาก ซึ่งแต่ละคนอาจมีความต้องการเอาต์พุตที่ไม่เหมือนกัน ดังนั้นจึงเป็นการยากที่จะ

ดีไซน์เอาต์พุตออกมาให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ระบบทุกคนได้ แต่นั่นก็ไม่ใช่ว่า "ยาก" จะเท่ากับค าว่า

"เป็นไปไม่ได้" เพียงแต่นักวิเคราะห์อาจจะต้องเพ่ิมจ านวนเอาต์พุตให้เท่ากับจ านวนความต้องการ ที่แตกต่าง

ออกไปของผู้ใช้ระบบแต่ละคนนั่นเอง ซึ่งอาจจะมีเอาต์พุตหรือรายงานบางอย่างที่มีลักษณะคล้ายกันเกิดขึ้น

ดังนั้น เพ่ือที่จะลดลักษณะของเอาต์พุตที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งในบางครั้งอาจจะเป็นการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย

เนื่องจากความซ้ าซ้อนกันของเอาต์พุต นักวิเคราะห์ควรท าหน้าที่ไกล่เกลี่ยและหาข้อยุติของเอาต์พุตกับกลุ่ม

ผู้ใช้ระบบที่สามารถใช้เอาต์พุตร่วมกันได้ โดยข้อยุติของเอาต์พุตนั้นๆ จะต้องให้ความเหมาะสมต่อกลุ่มผู้ใช้

ทั้งหมดด้วย

2.3.8.3 ส่งมอบเอาต์พุตตามจ านวนที่ผู้ใช้ระบบต้องการ

งานที่นักวิเคราะห์ระบบจะต้องท าก็คือ การดีไซน์เอาต์พุตให้มีจ านวนที่เหมาะสมและคล้องจองกันกับ

ผู้ใช้ระบบ สิ่งนี้ดูๆ ไปก็ไม่ยากนัก แต่เวลาปฏิบัติจริงแล้วมักไม่เป็นเช่นนั้นเนื่องจากความต้องการของผู้ใช้

ระบบเกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลท าให้เอาต์พุตเกิดการขยายตัวสะสมมากขึ้นๆ เช่นกัน และในที่สุดก็

จะเกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่า Information Overload ซึ่งหมายถึงระบบงานส่งมอบเอาต์พุตมากเกินกว่า

ความจ าเป็นหรือเกินกว่าความสามารถท่ีผู้ใช้ระบบจะใช้ได้หมดนั่นเอง

2.3.8.4 ให้แน่ใจว่าเอาต์พุตได้อยู่ในต าแหน่งที่เหมาะสม

ในระบบงานคอมพิวเตอร์นั้นเอาต์พุตมีอยู่ด้วยกันหลายรูปแบบ เช่น พิมพ์ออกเป็นรายงานบน

กระดาษด้วยเครื่องพิมพ์ (Printer) แสดงผลออกทางจอภาพ (CRT) และเก็บอยู่ในรูปของไมโครฟอร์ม

(microform) หรือแม้กระทั่งในรูปของเสียงที่ออกจากทางล าโพงที่ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้

โดยทั่วไป เอาตพุ์ตจะถูกสร้างขึ้น ณ ที่ใดที่หนึ่ง เช่น หน่วยงานประมวลผล (Data Processing department)

แล้วค่อยถูกกระจายส่งต่อไปยังแผนกหรือหน่วยงานต่างๆ ซึ่งเป็นผู้ใช้ระบบอีกทอดหนึ่ง แม้ว่าในปัจจุบันการ

ประมวลผลแบบ On-Line จะช่วยลดปัญหาการกระจายเอาต์พุตออกไปได้บ้าง แต่อย่างไรก็ตาม การกระจาย

เอาต์พุตไปยังผู้ใช้ระบบที่ถูกต้องเหมาะสม เป็นสิ่งที่นักวิเคราะห์ระบบจะต้องค านึงถึง เพราะว่าไม่ว่าเอาต์พุต

หรือรายงานต่างๆ ที่นักวิเคราะห์ระบบจะดีไซน์นั้นดีเพียงใด หากไม่ได้อยู่ในมือของบุคคลหรือผู้ใช้ระบบที่

เหมาะสมกับมัน รายงานหรือเอาต์พุตนั้นก็ย่อมไม่เกิดคุณค่าอะไรเลย

Page 26: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

30

2.3.8.5 เอาต์พุตถูกส่งมอบให้กับผู้ใช้ระบบตามเวลา

หนึ่งในสาเหตุส าคัญท่ีระบบงานนั้นไม่ได้รับการยอมรับจากผู้ใช้ระบบก็คือ ระบบงานไม่สามารถจะให้

ข้อมูลหรือเอาต์พุตกับผู้ใช้ระบบได้ตามเวลาอย่างทันท่วงทีที่เขาต้องการ เวลาจึงเป็นสิ่งส าคัญต่อเอาต์พุตอย่าง

มาก โดยเฉพาะผู้บริหารที่ต้องการข้อมูลจากเอาต์พุตเพ่ือมาใช้ในการตัดสินใจ

2.3.8.6 เลือกวิธีการที่เหมาะสมส าหรับเอาต์พุตแต่ละแบบ

เอาต์พุตมีได้หลายรูปแบบ เช่น ออกทางเครื่องพิมพ์ ออกทางจอภาพ หรือไมโครฟอร์ม ฯลฯ การ

เลือกวิธีการออกแบบเอาต์พุตที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งที่นักวิเคราะห์ระบบจะต้องค านึงถึงด้วย

การเลือกวิธีการที่เหมาะสมส าหรับเอาต์พุตจะยังผลให้ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายของระบบงาน แตกต่างออกไป

เช่นกัน ตัวอย่างเช่น ต้นทุนของการออกรายงานทางเครื่องพิมพ์สูงกว่าการแสดงผลทางจอภาพ เนื่องจาก

ต้นทุนของกระดาษท่ีใช้ในการพิมพ์เริ่มสูงขึ้นทุกขณะ

ในสหรัฐอเมริกา เริ่มมีแนวความคิดของการพัฒนาระบบงานในลักษณะที่เรียกว่า Paperless System ซึ่งหาก

แปลกันเป็นภาษาไทยคงจะได้ค าแปลกๆ ว่า "ระบบงานไร้กระดาษ" ซึ่งระบบงานชนิดนี้จะพยายามให้เอาต์พุต

ที่ได้เก็บอยู่ในลักษณะอ่ืน โดยพยายามให้สิ้นเปลืองกระดาษน้อยที่สุด เช่น ให้เอาต์พุตเก็บอยู่ในแฟ้มข้อมูลที่

เก็บอยู่ในออปติคัลดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์แทน ซึ่งเมื่อผู้ใช้ระบบต้องการใช้ ก็จะดึงข้อมูลนั้นออกมาดูทางจอภาพ

แทน เป็นต้น

Page 27: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

31

2.4 ทฤษฎีเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล

2.4.1 ระบบจัดการฐานข้อมูล สาเหตุที่ฐานข้อมูลมีคุณลักษณะเด่น ๆ หลายประการซึ่งเราไม่สามารถพบได้ในไฟล์ก็เนื่องจาก

ฐานข้อมูลมีระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ควบคุมดูแลและจัดการเกี่ยวกับฐานข้อมูล ซึ่งรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการจัดการฐานข้อมูลจะได้กล่าวดังต่อไปนี้

ความหมายของระบบจัดการฐานข้อมูล

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System หรือ DBMS) หมายถึงซอฟต์แวร์ที่ดูแล

จัดการเกี่ยวกับฐานข้อมูล โดยอ านวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ทั้งในด้านการสร้าง การปรับปรุงแก้ไข การเข้าถึง

ข้อมูล และการจัดการเก่ียวกับระบบแฟ้มข้อมูลทางกายภาพ (physical file organization)

รูปที ่2-20 แสดงโครงสร้างของ ระบบจัดการฐานข้อมูลและ ระบบปฏิบัติการ

จากรูปที่ 2-19 จะเห็นได้ว่า ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลโดยผ่าน DBMS โดยที่ผู้ใช้อาจจะ

เขียนโปรแกรมประยุกต์หรือใช้ภาษาเรียกค้น ดังนั้น DBMS จะเป็นตัวแยกโปรแกรมออกจากโครงสร้างข้อมูล

ทางกายภาพ โดย DBMS จะท าหน้าที่ติดต่อติดต่อกับระบบปฏิบัติการ (Operating system) ในส่วนของ file

management เพ่ือดึงฐานข้อมูลในฐานข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ใน buffer ส าหรับการประมวลผล แต่ก็มีข้อเสียคือ

DBMS ประกอบด้วยสิ่งอ านวยความสะดวกและเทคนิคต่าง ๆ มากมาย ท าให้ DBMS มีขนาดใหญ่ใช้ทรัพยากร

มาก ท าให้มีราคาแพง และยังต้องอาศัยคนที่มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีของระบบจัดการฐานข้อมูลด้วย

ฐานข้อมูล

เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์

ระบบปฏิบัติการ ระบบจัดการฐานข้อมูล

Page 28: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

32

รูปที ่2-21 แสดงโครงสร้างระบบ การจัดฐานข้อมูล แฟ้มข้อมูล และดิสก์

เป้าหมายของ DBMS เพ่ือช่วยให้การพัฒนาโปรแกรมสามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น รวดเร็วขึ้น มีความถูก

ต้อง และลดค่าใช้จ่าย ระบบจัดการฐานข้อมูลมีตั้งแต่ระดับมาตรฐานที่มีครบตามสถาปัตยกรรม ISO มีระบบ

ดูแลความปลอดภัยที่มีความสามารถสูง มีระบบควบคุมความถูกต้อง มีความเป็นอิสระของข้อมูล ดูแลการ ใช้

ข้อมูลร่วมกันในช่วงเวลาเดียวกัน (concurrency control) มีระบบส ารองข้อมูลและการฟ้ืนสภาพที่มี

ประสิทธิภาพ เป็นต้น จนถึงระบบจัดการฐานข้อมูลขนาดเล็กบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส าหรับผู้ใช้คนเดียว

และมีสถาปัตยกรรมที่พัฒนาจากระบบจัดการแฟ้มข้อมูล (file management) ส่วนใหญ่แล้ว DBMS ที่ใช้กัน

ในปัจจุบันจะน าเสนอความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบของตาราง (relation) ซึ่งใช้ง่ายเนื่องจาก

โครงสร้างข้อมูลไม่สลับซับซ้อนและมีภาษาที่เหมาะสม เช่น SQL เป็นต้น และเนื่องจากไมโครคอมพิวเตอร์มี

ความสามารถสูงขึ้นจนสามารถใช้ระบบปฏิบัติการของเครื่องระดับมินิคอมพิวเตอร์ขึ้นไปดังเช่น unix ดังนั้น

DBMS ที่มีความสามารถสูง เช่น ORACLE, SYBASE หรือ INFORMIX เป็นต้น จึงเป็นที่นิยมใช้กันในปัจจุบันนี้

ระบบจดัการ

ฐานข้อมูล

ระบบจดัการ

แฟ้มข้อมลู

ระบบจดัการ

ดิสก ์

ขอขอ้มูล 1 เรคอร์ด

อ่านขอ้มูลจากดิสก ์ท าการดึงขอ้มูลจากดิสก ์

ส่งขอ้มูล 1 เพจ ขอขอ้มูล 1 เพจ

ส่งขอ้มูล 1 เรคอร์ด

ฐานข้อมูล

Page 29: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

33

2.4.2 ความจ าเป็นในการใช้ระบบการจัดการฐานข้อมูล สาเหตุที่ต้องใช้ DBMS ในการดูแลจัดการฐานข้อมูล เพราะเหตุผลดังต่อไปนี้

1 DMBS ควบคุมความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence Control) ท าให้โปรแกรมเป็นอิสระจากโครงสร้างข้อมูลทางกายภาพและตรรกะภาพ ลดค่าใช้จ่ายในการบ ารุงรักษา

2 DBMS ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล (Integrity Control) ในระบบไฟล์เดิมความถูกต้องของข้อมูล จะถูกควบคุมโดยโปรแกรม แต่แนวความคิดใหม่จะถูกควบคุมโดย

DBMS กฎเกณฑ์ความถูกต้อง (Integrity Rule) นี้จะเก็บไว้ในฐานข้อมูลทุกครั้งที่มีการเรียกข้อมูลมาแก้ไข

DBMS จะตรวจสอบความเป็นไปได้ของข้อมูลก่อนที่จะเก็บลงในฐานข้อมูล เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องตรงตาม

กฎเกณฑ์ใน stored procedure ส าหรับ DBMS ชั้นดี stored procedure จะเป็น compile stored

procedure จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบงาน เนื่องจากกฎเกณฑ์ต่าง ๆ จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล ไม่ได้

เก็บไว้ในโปรแกรม

3 DBMS มีระบบควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล (Security Control)

DBMS จะไม่ยอมให้โปรแกรมใดเข้าถึงข้อมูลในระดับล่างได้โดยไม่ผ่าน DBMS ดังนั้น DBMS จะตรวจสอบ

รหัสผ่านก่อนทุกครั้ง นอกจากนี้ข้อมูลในหนึ่งตารางจะกระจายอยู่ในหลาย ๆ ไฟล์ (logical/physical

mapping) ท าให้ความปลอดภัยของข้อมูลดีขึ้น นอกจากนี้ DBMS ยังตรวจสอบด้วยว่าผู้ใช้มีสิทธิใช้ข้อมูลได้

มากน้อยแค่ไหนรวมถึงการเข้าถึงข้อมูล

4 DBMS มีวิธีการเข้าถึงข้อมูลด้วยเส้นทางท่ีดีที่สุด (Query Optimization) DBMS query optimizer ตัดสินใจเลือกเส้นทางเข้าถึงข้อมูลโดยผู้ใช้ไม่ต้องกังวลเรื่อง performance ซึ่ง

โปรแกรมเมอร์จะเขียน logic อย่างเดียว ในการใช้ SQL เพ่ือดึงข้อมูลมาใช้นั้นจะมองไม่เห็น index เพราะว่า

เป็น physical index ซึ่งจะเก็บอยู่ในระดับล่างสุด แต่จะมองเห็นเป็นตารางเท่านั้น การเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด

จะช่วยท าให้ลดค่าใช้จ่ายในการบ ารุงรักษาและค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบ เช่น ถ้าต้องการรายชื่อของ

พนักงานที่เป็น Engineer และมีเงินเดือน = 25000 ถ้าเขียนด้วยโปรแกรมธรรมดาจะต้อง open ตารางดัชนี

ต าแหน่ง หรือตารางดัชนีเงินเดือน และเลือกว่าจะใช้ดัชนีต าแหน่งหรือดัชนีเงินเดือนนั้น ต้องดูที่ความเร็วว่า

แบบใดจะเร็วกว่า แต่ถ้าใช้ SQL จะเท่ากับค าสั่งดังต่อไปนี้

SELECT * FROM E WHERE EJOB=’Engineer’ AND ESALARY=25000 หรือ

SELECT * FROM E WHERE ESALARY=25000 AND EJOB=’Engineer’

Page 30: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

34

ผลที่ได้จะเหมือนกันเพราะว่า DBMS ใช้ query optimizer ในการตัดสินใจว่าควรจะเลือกเส้นทางใด

ที่เร็วที่สุด

Job index Employee file (E) Salary index

Analyst

Clerk

Clerk

Engineer

Engineer

E1

E2

E3

E4

E5

Anan

Chaiyo

Prasit

Manee

Supapor

n

8000

32000

31000

9500

25000

Clerk

Engineer

Engineer

Clerk

Analyst

8000

9500

25000

31000

32000

รูปที่ 2-22 แสดงการเข้าถึงข้อมูลด้วยเส้นทางที่ดีที่สุด

ถ้าตารางพนักงาน (E) มีขนาดเล็กควรใช้ sequential scan จะเร็วกว่าการใช้ดัชนี คราวนี้ ลองมาดู

ตัวอย่างต่อไป สมมติว่าต้องการรายชื่อของพนักงานที่เป็น Engineer ที่รับผิดชอบโครงการ P2 ในตาราง EP

(Employee-Project) ซึ่งเป็นตารางที่แสดงให้เห็นถึงผลงานที่ท าไปแล้ว (PW%) ของพนักงานแต่ละคนที่

รับผิดชอบโครงการนั้น ๆ อยู่

Page 31: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

35

E EP

การ join

SELECT ENAME

FROM E, EP

WHERE E.ENO=EP.ENO

AND EJOB=’Engineer’

AND PNO=’P2’

แปลงเป็นภาษา algorithm machine

ENO ENAME ESALARY EJOB ENO PNO PW(%)

E1

E2

E3

E4

E5

Anan

Chaiyo

Prasit

Manee

Supaporn

8000

32000

31000

9500

25000

Clerk

Engineer

Engineer

Clerk

Analyst

E1

E1

E2

E2

E2

P1

P2

P1

P2

P3

20

30

50

20

40

E3

E3

.

.

.

P4

P5

.

.

.

70

10

.

.

.

รูปที่ 2-23 แสดงถึงผลงานที่ท าไปแล้วของพนักงาน

แต่ละคนที่รับผิดชอบโครงการนั้นๆ

Page 32: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

36

5 DBMA มีระบบควบคุมการใช้ข้อมูลร่วมกันในช่วงเวลาเดียวกัน (Concurrency Control) DBMS มีระบบควบคุมการใช้ข้อมูลร่วมกันในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งมีอยู่หลายวิธี เช่น lock-based protocols

เป็นต้น ส าหรับขนาดของ data item ที่จะถูกล็อตมีตั้งแต่ DB space, page, table, row และ column

ส าหรับ item ที่ถูกล็อตถ้าเป็น item ยิ่งเล็กจะได้ throughput สูง แต่จัดการยาก และใช้ทรัพยากรมาก โดย

ปกติ DBMS ที่มีคุณภาพดีจะล็อต unit ที่เล็กก่อนอันได้แก่ column แล้วตรวจสอบว่า row มี conflict

หรือไม่ ถ้าไม่มีก็จะล็อต row แล้วท าต่อไปถึง table ถ้าใช้ระบบคนเดียวก็อาจจะไม่ต้องล็อตเลย

6 DBMS มีระบบการฟื้นสภาพข้อมูล (Recover Control) DBMS จะท าการดึงเอาตารางต่าง ๆ เข้ามาในหน่วยความจ าหลัก การเปลี่ยนแปลงข้อมูลก็จะท าที่

หน่วยความจ าหลักแล้วจึงน าไปเก็บยังตาราง ถ้าเกิดไฟดับข้อมูลที่ท าการเปลี่ยนแปลงแล้วแต่ยังไม่ได้น าไปเก็บ

ยังตารางจะสูญหายได้ แต่เนื่องจาก DBMS มีระบบการ lock, recovery และ charging memory ท าให้

ข้อมูลที่ท าการแก้ไขไปแล้วก่อนหน้าไฟดับไม่สูญหาย

7 DBMS เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบงานได้รวดเร็วในเวลาอันสั้น (High Productivity Tools) ช่วยลดค่าใช้จ่ายในพัฒนา (development cost) ลงได้ แต่อาจจะไม่ลดค่าใช้จ่ายในการบ ารุงรักษา

(maintenance cost)

2.5 ภาษาที่ใช้กับฐานข้อมูล

ภาษาฐานข้อมูล แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนคือ

2.5.1 ภาษาส าหรับก าหนดโครงสร้างหรือนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) เป็นภาษาที่ใช้นิยามโครงสร้างของข้อมูลทั้งหมด ซึ่ง DBA เป็นผู้ก าหนดผลจากการแปลงภาษาของ DDL

จะท าให้ได้ตารางที่จัดเก็บพจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) ซึ่งจะท าหน้าที่เก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับโครงสร้าง

ที่ได้จากการออกแบบฐานข้อมูลนั้น ๆ และถ้าต้องการเปลี่ยนแปลงหรือเรียกใช้ข้อมูล DBMS จะต้องอาศัย

ข้อมูลจากโครงสร้างของตาราง DDL เสมอ โดยก าหนดหลักเกณฑ์ ดังนี้

1. ส่วนสร้างตารางเป็นโครงสร้างข้อมูลทางตรรกะภาพ 2. ส่วนสร้างวิวส าหรับผู้ใช้ถือว่าเป็นโครงสร้างภายนอก 3. ส่วนในการสร้าง index ส าหรับการปรับปรุงการเข้าถึงข้อมูลในบางคอลัมน์ หรือบางกลุ่มของคอลัมน์

ให้รวดเร็วขึ้น 4. ส่วนของการดึงชื่อตารางหรือวิวที่มีอยู่ให้มีชื่ออ่ืนอีก 5. ส่วนของการรักษาความปลอดภัย โดยการก าหนดสิทธิ์ในการใช้ข้อมูล

Page 33: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

37

DBMS จะสร้างข้อมูลตาม logical structure ที่ก าหนดโดย DDL ซ่ึงจะคล้ายกับการก าหนดข้อมูลในภาษา

COBOL คือต้องบอกชื่อ ความยาว ส าหรับในภาษา COBOL นั้น logical structure ของข้อมูลในโปรแกรมจะ

เรียงล าดับเช่นเดียวกับข้อมูลที่เก็บจริง ๆ ในดิสก์ ซึ่งเป็น physical structure แต่ DDL จะก าหนดลักษณะ

ของข้อมูลที่ปรากฏจะมี logical sequence แตกต่างจาก physical sequence ของข้อมูลที่เก็บจริง ๆ ทาง

กายภาพ และ DBMS สามารถดึงข้อมูลออกมาได้ตาม logical sequence โดยผู้ใช้ไม่ต้องค านึงถึง physical

sequence เลย

2.5.2 ภาษาส าหรับการใช้ข้อมูล (Data Manipulation Language : DML)

เป็นภาษาที่ใช้ติดต่อกับ DBMS เพ่ือเข้าถึงข้อมูล เป็นส่วนของการค้นหาข้อมูลตามเงื่อนไข และ

รูปแบบต่าง ๆ หรือเพ่ือการแก้ไขข้อมูล การลบข้อมูล และการเพ่ิมเติมข้อมูลในระดับของผู้ใช้อาจจะไม่ต้อง

ทราบและสนใจว่าวิธีการจัดเก็บข้อมูลจริง ๆ นั้นเป็นอย่างไร ดังนั้น การจะใช้ข้อมูลในระบบสามารถกระท าได้

ด้วยภาษา DML ซึ่งแบ่งเป็น 2 ชนิด

1. Procedural DML ผู้ใช้จะก าหนดและระบุว่าต้องการข้อมูลอะไร จะเอาข้อมูลเหล่านั้นมาได้ด้วยวิธีใด เช่น ภาษา COBOL ซึ่งเป็น record-at-a-time language หมายถึง ค าสั่ง 1 ค าสั่ง จะได้ข้อมูลมา 1 record เช่น ค าสั่ง READ เป็นต้น

2. Nonprocedural DML ผู้ใช้เพียงแต่ระบุว่าต้องการข้อมูลอะไร โดยไม่ต้องบอกวิธีการที่จะได้ข้อมูล เช่น ภาษา SQL ซึ่งเป็น set-oriented language กล่าวคือ 1 ค าสั่งของ SQL จะได้ข้อมูลเป็น set เช่น ค าสั่ง SELECT เป็นต้น

Page 34: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

38

2.5.2 Data Dictionary หรือ System catalog

หมายถึง ตารางหรือไฟล์ที่เก็บข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับฐานข้อมูล เช่น ชื่อ ขนาด และชนิดของ

ฐานข้อมูลว่าฐานข้อมูลประกอบด้วยตารางอะไรบ้าง มีใครเป็นผู้ใช้ และแต่ละคนมีสิทธิ์ใช้ข้อมูลมากน้อย

เพียงใด คล้ายกับเป็นตัวก ากับการใช้ข้อมูลเหมือนพจนานุกรม ซึ่งเป็นข้อมูลก ากับข้อมูล (data about data

หรือ meta data) ส าหรับฐานข้อมูลแบบตารางจะเก็บรายละเอียด ดังนี้

1) ชื่อตาราง (relations name) 2) ชื่อของ attribute ของแต่ละตาราง 3) ขอบเขตของ attribute (domains of attributes) 4) ชื่อของ views และนิยามของ views 5) เงื่อนไขความถูกต้อง (integrity constrains) ส าหรับแต่ละตาราง เช่น เงื่อนไขของคีย์ เป็นต้น

นอกจากนี้ยังเก็บชื่อและรายละเอียดของผู้ใช้ที่มีสิทธิ์ใช้ฐานข้อมูล แต่ส าหรับระบบที่ใช้โครงสร้างที่

สลับซับซ้อนสูงขึ้น จะเก็บตารางข้อมูลเกี่ยวกับสถิติและรายละเอียดเกี่ยวกับจ านวนของ row ในแต่ละตาราง

วิธีของ storage ที่ใช้เก็บแต่ละตาราง รวมถึงการจ ากัดการเข้าไปใช้ข้อมูลใน data dictionary ด้วย

2.5.3 ประเภทแบบจ าลองระบบฐานข้อมูล ในปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ (Grouped) ได้ 5 กลุ่ม หรือ แบบจ าลอง (Models) ดังนี้

1) File Management System

2) Hierarchical database system

3) Network Database System

4) Relational Database system model

5) OODBMS (Object-Oriented Database Management System)

ทุกแบบจ าลองคือการอธิบายการท างานของระบบฐานข้อมูลว่าท างานอย่างไร แบบจ าลองที่ได้รับ

ความนิยมอย่างมากในปัจจุบันก็คือ RDBMS (Relational Database Management System) และ

OODBMS (Object-Oriented Database Management System) ในปัจจุบัน Software ทั้งหมดของ

DBMS ถูกออกแบบให้ใช้ RDBMS Model ทั้งสิ้นเพราะมีโครงสร้างตามที่มนุษย์คุ้นเคย แต่ภายหลังเริ่มมี

การน าเอา OODMBS มาใช้แต่ยังไม่ได้รับการยอมรับมากนัก

Page 35: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

39

2.5.4 ประโยชน์ของระบบจัดการฐานข้อมูล ประโยชน์จากการใช้ฐานข้อมูลในการประมวลผลมีมากมาย (โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเราเลือกใช้ DBMS

ที่มีคุณภาพ) ซึ่งส่วนใหญ่เราก็ได้กล่าวถึงไปแล้วแต่ในที่นี้จะสรุปไว้ให้เห็นเด่นชัดอีกครั้งหนึ่งดังต่อไปนี้

2.5.4.1 ลดความซ้ าซ้อนของข้อมูล ข้อมูลชนิดเดียวกันถูกเก็บไว้หลายๆ ที่จะเกิดความซ้ าซ้อน การที่น าข้อมูลทั้งหมดมาเก็บไว้ที่เดียวกัน

ภายในระบบการจัดการ เดียวกันจะเป็นการ “ลด” ความซ้ าซ้อนลงไปได้

2.5.4.2 สามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ในระดับหนึ่ง การเก็บข้อมูลไว้หลายๆ แห่งอาจจะก่อให้เกิดปัญหาว่า การแก้ไขข้อมูลเดียวกันนี้ท าไม่เหมือนกันในทุก ๆ

แห่งท าให้เกิดปัญหาว่า ข้อมูลชุดเดียวกันอาจมีค่าในแต่ละแห่งไม่ตรงกัน ดังนั้นถ้าการใช้ระบบฐานข้อมูลท าให้

เราสามารถสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ โดยมี DBMS เป็นตัวควบคุมดูแลว่า เมื่อเกิดการแก้ไข

ข้อมูลขึ้นเมื่อใดจะต้องแก้ให้เหมือนกันครบทุกแห่ง

2.5.4.3 สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ โปรแกรมประยุกต์ใดๆ ที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ สามารถจะใช้ข้อมูลที่มีอยู่ได้ทันที

โดยไม่จ าเป็นต้องกรอกข้อมูลเข้าไปในระบบอีก

2.5.4.4 สามารถควบคุมความเป็นมาตรฐานได้ ผู้ที่มีหน้าที่ควบคุมดูแลการใช้ระบบฐานข้อมูลสามารถก าหนดมาตรฐานเดียวกันทั้งระบบได้ ท าให้การ

แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบเป็นไปอย่างสะดวกและถูกต้อง เรามีศัพท์ที่ใช้เรียกผู้ควบคุมระบบว่าผู้บริหาร

ฐานข้อมูล (data base administrator) หรือ DBA โดยที่ DBA นี้อาจจะเป็นบุคคลผู้เดียว หรือกลุ่มบุคคลก็

ได ้

2.5.4.5 สามารถจัดหาระบบความปลอดภัยท่ีรัดกุมได้ สามารถจัดหาระบบความปลอดภัยที่รัดกุมได้ ซึ่งหมายถึง การป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิ์มาใช้

ข้อมูลในระบบได้ เนื่องจาก DBA เป็นผู้ที่ควบคุมการใช้ข้อมูล เขาจึงสามารถก าหนดสิทธิการใช้ให้แก่ผู้ใช้คน

ใดก็ได้ตามความเหมาะสม และผู้ใช้แต่ละคนก็อาจจะใช้ข้อมูลได้ในระดับที่ต่างกัน หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ

ผู้ใช้แต่ละคนจะมองฐานข้อมูลด้วยวิวที่ต่างกัน โดยที่ถ้า DBA ไม่ได้รวมข้อมูลใดไว้ในวิวของผู้ใช้แล้วผู้ใช้คนนั้น

ก็จะไม่มีสิทธิเรียกใช้ข้อมูลส่วนนั้น นอกจากนี้ DBA ยังสามารถก าหนดรหัสลับในการเรียกใช้ข้อมูลบางส่วนได้

อีกด้วย

Page 36: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

40

2.5.4.6 สามารถควบคุมความคงสภาพของข้อมูลได้ สามารถควบคุมความคงสภาพของข้อมูลได้ ในหลายกรณีที่แม้ว่าข้อมูลไม่ขัดแย้ง แต่ไม่ส ามารถคง

สภาพอยู่ได้ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลเกี่ยวกับอายุของพนักงานในบริษัทอาจจะมีค่า 300 แทนที่จะเป็น 30 ซึ่ง

ความผิดพลาดแบบนี้เกิดขึ้นได้ง่าย ๆ จากความสะเพร่าในการพิมพ์ข้อมูลก็ได้ ในลักษณะของความไม่ถูกต้อง

เช่นนี้ ผู้ที่ออกแบบระบบฐานข้อมูลสามารถ ใส่กฎเกณฑ์เพ่ือควบคุมความคงสภาพไว้ จากตัวอย่างที่กล่าว

มาแล้วอาจจะใส่กฎว่า ค่าของอายุจะต้องเป็นตัวเลขระหว่าง 16 ถึง 60 เป็นต้น ดังนั้น เมื่อมีการใส่ข้อมูลใหม่

หรือแก้ไขข้อมูล DBMS ก็จะควบคุมดูแลให้ข้อมูลดังกล่าวถูกต้องตามกฎเกณฑ์

2.5.2.7 สามารถสร้างสมดุลในความขัดแย้งของความต้องการได้

เนื่องด้วย การที่ผู้ใช้ทั้งหมดขององค์กรใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลร่วมกันเช่นนี้ ท าให้ DBA ทราบถึง

ความต้องการและความส าคัญของผู้ใช้งานทั้งหมด จึงสามารถก าหนดโครงสร้างของฐานข้อมูลเพ่ือให้บริการที่

ดีที่สุดได้ เช่นเลือกเก็บข้อมูลที่จะต้องใช้บ่อยๆ ไว้ในสื่อข้อมูลที่มีความเร็วเป็นพิเศษ เป็นต้น เป็นการสร้าง

สมดุลของความต้องการไม่ให้เกิดความขัดแย้งในหมู่ผู้ใช้ เพราะการออกแบบนั้น กระท าบนแนวทางที่มุ่งจะให้

ประโยชน์ส่วนรวมดีที่สุดแล้ว

2.5.4.8 สามารถช่วยเกิดความเป็นอิสระของข้อมูล

ข้อมูลทั่วไปมักจะขึ้นอยู่กับโปรแกรมประยุกต์นั้นๆ คือ ข้อมูลที่ถูกน ามาประยุกต์ใช้ยังมีความผูกพัน

อยู่กับวิธีการจัดเก็บและเรียกใช้ข้อมูล ซึ่งในลักษณะการเขียนโปรแกรมประยุกต์บางประเภท เราอาจ

จ าเป็นต้องใส่เทคนิคการจัดเก็บและเรียกใช้ข้อมูลไว้ในตัวโปรแกรมเสียด้วย นั่นก็หมายความว่า ถ้าเกิดต้อ งมี

การเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดเก็บ หรือการเรียกใช้ข้อมูลแล้ว ผู้ใช้ก็จ าเป็นที่จะ ต้องสร้างวิธีการประยุกต์ใช้ขึ้นมา

ใหม่ ซึ่งเป็นความไม่สะดวกอย่างยิ่ง และท าให้เราหมดโอกาสที่ จะปรับปรุงโครงสร้างของข้อมูล เพ่ือให้ใช้งาน

ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ระบบฐานข้อมูลนั้นจะช่วยให้ โปรแกรมประยุกต์แยกจากข้อมูลอย่างอิสระ

Page 37: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

41

2.6 หลักการเลือกระบบจัดการฐานข้อมูล

ส าหรับหลักการ เลือกซื้อ หรือเลือกใช้ ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (DBMS) ให้พิจารณาถือราคา และขนาดของ

ฐานข้อมูลที่เราต้องการเป็นส าคัญ ถ้าระบบฐานข้อมูลที่ราคาย่อมเยาว์ก็คงนี้ไม่พ้นที่รันอยู่บน เครื่องพีซี

(PC) ที่นับวันจะมีสมรรถสูงขึ้นเรื่อยๆ แต่สิ่งที่อันตรายๆคือ ความปลอดภัยและความมั่นคงของข้อมูล

เพราะแน่นอนศักยภาพของซอฟต์แวร์บนเครื่องแบบนี้จะท างานตามศักยภาพของเครื่องเสมอ ซอฟต์แวร์

ระบบปฏิบัติการบนเครื่องขนาดใหญ่ย่อมมีความมั่นคงและปลอดภัยมากกว่า โดยมากจะรันบน

ระบบปฏิบัติการ UNIX ดังนั้นจึงให้ดูที่งบประมาณ และความต้องการที่จะใช้ ในกรณีที่ข้อมูลส าคัญมากๆ

แนะน าให้ใช้ ผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงและมีการใช้งานในวงกว้างมาแล้วอย่างน้อย 5 ปีเพราะได้รับผ่านการ

พัฒนามาแล้วระยะหนึ่ง ถ้ายังตัดสินใจไม่ได้ให้พิจารณาคุณสมบัติบางอย่าง เป็นกรณีพิเศษ เช่น

1. ระบบฐานข้อมูล ส่วนใหญ่จะมี SQL เป็นภาษามาตรฐานที่กระท าการเหล่านี้ได้ดีอยู่แล้ว ดังนั้นถ้าไม่มี คิดว่าน่าจะพิจารณาทีหลัง

2. คุณสมบัติเกี่ยวกับการส ารองข้อมูล เช่น บางระบบบังคับว่าเราสามารถเปลี่ยน นิยามของตารางได้ในลักษณะออฟไลน์ ท่านั้น กล่าวคือต้องให้ผู้ใช้คนอ่ืน ๆ เลิกใช้ระบบก่อน

3. การควบคุมความถูกต้องของการอ้างอิง (referential integrity) 2.7 ทฤษฎีเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft SQL Server 2008

Microsoft SQL Server 2008 เป็นแพลตฟอร์มข้อมูลแบบเบ็ดเสร็จที่สามารถเติบโตได้พร้อมกับ

ธุรกิจของคุณ SQL Server 2008 เต็มไปด้วยเทคโนโลยีต่างๆมากมาย ที่ท าให้เซิร์ฟเวอร์มีประสิทธิภาพสูงขึ้น

และขยายขอบเขตของ ดาต้าเบสขนาดใหญ่มากได้ เป็นอย่างดี รวมทั้งมีเครื่องมือที่ใช้ในการปรับแต่ง

ประสิทธิภาพอีกด้วย

1. ประสิทธิภาพ ใช้ประโยชน์จากประสิทธิภาพระดับสูงของ SQL Server 2008 เพ่ือสนองตอบต่อ

เงื่อนไขมากเป็นพิเศษของดาต้า เบสแอฟพลิเคชันและระบบโครงสร้างพ้ืนฐานด้านไอที

2. เพ่ิมประสิทธิภาพ ใช้ประโยชน์จากการปรับปรุงต่างๆในเรื่องเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ที่มีอยู่ใน SQL

Server 2008 เพ่ือรองรับการเติบ โตของธุรกิจของคุณเอง

Page 38: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

42

3. ขยายขอบเขตการท างาน รองรับการท างานของระบบดาต้าเบสที่มีขนาดใหญ่มากเป็นพิเศษ โดยใช้

ประโยชน์จากเทคโนโลยีที่ขยายขอบเขต การท างานได้ของ SQL Server 2008 เพ่ือกระจายงานและ

ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ

คุณสมบัติ

1. ใช้ Resource Governer เพ่ือควบคุมการจัดสรรทรัพยากร

2. แยกแยะปัญหา ปรับแต่ง และเฝ้าดู SQL Server 2008 instance ทั่วทั้งองค์กรใช้โดย

Performance Data Collector

3. สร้างโซลูชันวิเคราะห์ประสิทธิภาพสูง โดยใช้คุณสมบัติเรื่องการขยายขอบเขตของระบบและ

ประสิทธิภาพที่ได้รับ การปรับปรุงให้ดีขึ้นใน SQL Server Analysis Services ชมเดโมสั้นๆ

4. ใช้ประโยชน์จากระบบประมวลผลตามความต้องการและประสิทธิภาพที่ดีกว่าเดิม อันเป็นผลมาจาก

กลไกท ารายงานที่ ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นของ SQL Server Reporting Services ชมเดโมสั้นๆ

5. เพ่ิมประสิทธิภาพในเรื่อง extract, transform and load (ETL) ใน SQL Server Integration

Services ที่มี lookup tasks ซึ่งขยายขอบเขตได้

2.8 ทฤษฎีเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Visual Studio 2008

Microsoft Visual Studio คือโปรแกรมชุดพัฒนาที่ออกแบบมาเพ่ือช่วยให้นักพัฒนา ทั้งมือใหม่

และมืออาชีพสามารถเผชิญกับความท้าทายที่ซับซ้อนของการสร้างโซลูชั่ นสมัยใหม่ ซึ่งในทุกๆวันนักพัฒนา

ต้องแก้ปัญหายากๆเพ่ือสร้างซอฟต์แวร์ที่ช่วยให้การใช้ชีวิตของผู้ใช้พัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นกว่าเดิม บทบาท

ของ Visual Studio ก็คือการปรับปรุงขั้นตอนการพัฒนาที่ช่วยให้การแก้ปัญหาเหล่านี้ท าให้ง่ายขึ้นและเป็น ที่

น่าพึงพอใจมากขึ้นกว่าเดิม

Visual Studio ช่วยปรับปรุงขั้นตอนการพัฒนาได้อย่างไร

2.8.1 เพิ่มผลผลิต เครื่องมือตระกูล Visual Studio ยังคงสร้างสรรค์วิธีการที่ดีกว่าเดิมอย่าง

ต่อเนื่อง เพ่ือช่วยให้นักพัฒนาซอฟต์แวร์ ท างานได้มากขึ้น โดยใช้เวลาน้อยลงกับงานหนักที่น่าเบื่อที่ต้อง

ท าซ้ าๆ คุณสมบัติต่างๆมากมายอาทิโค้ด อิดิเตอร์ประสิทธิภาพสูง ระบบ IntelliSense ระบบ Wizards และ

ภาษาเขียนโปรแกรมหลายชนิดที่รวมอยู่ ในสภาพแวดล้อมการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ ( integrated

development environment - IDE) เพียงหนึ่งเดียว ไปจนถึงผลิตภัณฑ์ระบบบริหารวงจรชีวิตแอฟพลิเคชัน

Page 39: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

43

(application life - cycle management - ALM) ระดับไฮเอนต์มีอยู่พร้อมสรรพใน Microsoft Visual

Studio Team System แล้ว Visual Studio เวอร์ชันใหม่ มีการน าเอาเครื่องมือรุ่นใหม่ๆมาช่วยให้นักพัฒนา

เน้นไปที่การแก้ปัญหาให้กับผู้ใช้ได้มากข้ึน และเสียเวลากับ เรื่องปลีกย่อยลดลง

2.8.2 ผสานการท างาน Visual Studio ท าให้นักพัฒนาซอฟต์แวร์ได้รับประโยชน์จากผลิตภัณฑ์

แบบครบวงจรที่มีเครื่องมือ เซิร์ฟเวอร์ และเซอร์วิสต่างๆอย่างครบถ้วน ผลิตภัณฑ์ต่างๆในชุด Visual Studio

ท างานร่วมกันได้เป็นอย่างดี แถมไม่ เพียงแต่ท างานร่วมกันได้ดีเท่านั้น แต่ยังท างานร่วมกับซอฟต์แวร์อ่ืนๆของ

ไมโครซอฟท์ได้อีกด้วย อาทิเช่น ผลิตภัณฑ์เซิร์ฟเวอร์ของไมโครซอฟท์และระบบ Microsoft Office เป็นต้น

2.8.3 เครื่องมือเบ็ดเสร็จ Visual Studio มีเครื่องมือให้เลือกส าหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์ในทุกระยะ

ตั้งแต่การพัฒนา การทดสอบ การติดตั้ง การผสานระบบ และการบริการเป็นต้น แถมยังเหมาะกับนักพัฒนา

ทุกประเภทตั้งแต่นักพัฒนามือ ใหม่ไปจนถึงนักพัฒนาระดับผู้เชี่ยวชาญเป็นต้น นอกจากนั้น Visual Studio

ยังถูกปรับแต่งมาให้รองรับ การพัฒนาซอฟต์แวร์ส าหรับอุปกรณ์ทุกประเภทตั้งแต่พีซี เซิร์ฟเวอร์ เว็บ และ

อุปกรณ์โมไบล์เป็นต้น

2.8.4 มีเสถียรภาพ Visual Studio ได้รับการพัฒนาและทดสอบจนกลายเป็นเครื่องมือที่เชื่อใจได้

ปลอดภัย ท างานร่วมกันได้ และคอมแพตทิเบิลอีกด้วย นอกจากนั้น Visual Studio ยังมีคุณสมบัติการรักษา

ความปลอดภัย ความ สามารถในการขยายระบบ และความสามารถในการท างานร่วมกันที่ยากจะหาเครื่องมือ

อ่ืนๆมาเทียบได้ แม้ว่า Visual Studio มักจะเน้นคุณสมบัติใหม่ๆที่รองรับการใช้งานในอนาคตก็ตาม แต่

เครื่องมือนี้ก็ยัง ถูกออกแบบให้มีความคอมแพตทิเบิลย้อนหลังทุกจุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้อีกด้วย

2.8.5 Visual Studio และ Microsoft Application Platform

Microsoft Application Platform ประกอบด้วยเทคโนโลยีต่างๆ ผลิตภัณฑ์หลักต่างๆ และแนวทาง

ปฏิบัติ ที่ดีที่สุดที่เน้นไปที่การช่วยให้แผนกไอทีและแผนกพัฒนาร่วมมือกับแผนกธุรกิจสร้างผลผลิตสูงสุดให้แก่

บริษัทได ้

Page 40: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

44

ผลิตภัณฑ์หลักอย่างหนึ่งของ Microsoft Application Platform ก็คือ Visual Studio สามารถช่วย

ให้คุณ ด าเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ เสริมสร้างความสัมพันธ์กับลุกค้า และพัฒนาบริการมูลค่าเพ่ิม ผ่าน

การใช้ สภาพแวดล้อมการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จเพียงหนึ่งเดียว ส าหรับการพัฒนาทุกประเภท อาทิเช่น

Microsoft Windows, Microsoft Office, เว็บ และอุปกรณ์โมไบล์เป็นต้น การใช้โซลูชันพัฒนาของ Visual

Studio จะช่วยให้ทีมพัฒนาของคุณท างานต่างๆเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

1. เพ่ิมผลผลิตและคุณภาพโดยใช้เครื่องแบบเบ็ดเสร็จที่นักพัฒนาคุ้นเคย

2. ติดตั้ง รักษาความปลอดภัยและให้บริการเว็บแอฟพลิเคชันและระบบโครงสร้างพ้ืนฐานส าคัญ

3. ลดค่าใช้จ่ายผ่านขั้นตอนการพัฒนาที่โปร่งใสกว่าเดิม

4. คาดการณ์และวางแผนได้ดีข้ึนผ่านขั้นตอนแบบเบ็ดเสร็จและวิธีการท างานที่เป็นมาตรฐาน

2.9 ทฤษฎีเกี่ยวกับโปรแกรม Crystal report 2008

Crystal Report เพ่ือใช้สร้างรายงานพัฒนาโดยบริษัทซีเกต ซึ่งปัจจุบันรองรับเวอร์ชั่น Crystal

Report 2008 ปัจจุบันมีฟีเจอร์ที่รองรับการติดต่อกับฐานข้อมูลชนิดต่างๆ และรองรับการท างานในการ

วิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบ Business Intelligent

การใช้งาน Crystal Reports มีทั้งในรูปแบบที่ท างานร่วมกับ .NET และเครื่องมือพัฒนาโปรแกรม

รายงานส าหรับ Crystal Report เอง ในโปรแกรม Crystal Report จะใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Expert ในการ

ด าเนินการเช่น Select export, Group Expert, Database Expert เป็นต้น

ประเภทของรายงานที่รองรับใน Crystal Reports

รายงานของ Crystal Report จะสร้างไฟล์รายงาน rpt ซึ่งสามารถน าไปใช้กับ Visual Studio .NET

ได้ และยังสามารถใช้กับโปรแรกมส าเร็จรูปด้านต่างๆได้อีกด้วย

ในกรณีที่ผู้พัฒนาใช้เครื่องมือ Visual Studio .NET พัฒนารายงานโดยตรงจะได้เป็นไฟล์นามสกุล

.sln ตามความสามารถโปรแกรม Vistual Studio

การใช้งาน Crystal Report กับเวอร์ชั่นก่อนๆ อย่างทีทราบโปรแกรม Crystal Report จะสร้างไฟล์

.rpt ซึ่งในไฟล์เวอร์ชั่นที่สร้างก่อนหน้าจะสามารถที่จะใช้กับเวอร์ชั่นใหม่ได้ แต่ไฟล์ที่สร้างจากเวอร์ชั่นใหม่จะ

ไม่สามารถท่ีจะน าไปใช้กับเวอร์ชั่นเก่าได้

Page 41: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

45

2.10 วรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง

นายศุภชัย นุตาดี และนางสาวอิสริยาภรณ์ บูรณ์โภคา (2547) ชื่อเรื่อง “โปรแกรมระบบจัดการสินค้าคง

คลังร้านแต้หน่ ากี่” โครงงานโปรแกรมระบบจัดการสินค้าคงคลังร้านแต้หน่ ากี่ ได้ถูกพัฒนาขึ้นตามลักษณะ

งาน และความต้องการของระบบของร้านแต้หน่ ากี่โดยเฉพาะ

ซึ่งสามารถน าโปรแกรมเข้ามาช่วยในระบบการจ าหน่ายสินค้า และขั้นตอนการตรวจรับสินค้า การตัด

สต๊อกสินค้า การตรวจสอบรายละเอียดและจ านวนสินค้าในคลัง การเก็บข้อมูลลูกค้า และประวัติการซื้อของ

ลูกค้า รวมทั้งยอดขายของร้าน และโปรแกรมสามารถน าเอายอดขายมาประมวลผล และแสดงในรูปแบบของ

ยอดขายสะสมและคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ตามวิธีการวิเคราะห์ความส าคัญของสินค้าคงคลังแบบ ABC เพ่ือน าไป

ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการก าหนดระดับการควบคุมของสินค้าแต่ละชนิด

ชานนท์ ตระกูลเลศิยศ (2552) ชื่อเรื่อง “การเพ่ิมขีดความสามารถการจัดการสินค้าคงคลัง

กรณีศึกษา บริษัท สิน เบฟเวอเรจ จ ากัด” การจัดการสินค้าคงคลังเพ่ือระบายสินค้าคงคลังประเภทเครื่องดื่ม

ผสมแอลกอฮอลลข์องบริษัท สิน เบฟเวอเรจ จ ากัด จึงได้ท า การศึกษาวิธีการแก้ไขปัญหาโดยใช้ใบตรวจสอบ

(Check Sheet) เพ่ือท าการค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นทฤษฎีแผนผังก้างปลา (ISHIKAWA DIAGRAM) เพ่ือศึกษาหา

สาเหตุของปัญหา และสัมภาษณ์(Interview) จากผู้ที่เกี่ยวข้องจากนั้นน าปัญหาที่พบมาเปรียบเทียบ พบว่า

บริษัท สิน เบฟเวอเรจ จ ากัด มีปัญหาสินค้าใกล้หมดอายุค้างสตอ๊กเป็นจ านวนมากและปัญหาสินค้าสูญหาย

ในคลังของบริษัทขาดประสิทธิภาพและก่อให้เกิดความเสียหาย ซึ่งเป็นการเพ่ิมต้นทุน13ทางผู้จัดท า

จึงได้เล็งเห็นถึงความส าคัญในการที่จะศึกษาและหาแนวทางแกไข้ในเรื่องของการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง

เพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อบริษัท สิน เบฟเวอเรจ จ ากัด สูงสุด

ทินกร พันธุ์แสง (2553) ชื่อเรื่อง “ระบบบริหารจัดการสินค้าคงคลังด้วยเทคโนโลยี RFID กรณีศึกษา

ห้างหุ้นส่วน จ ากัด เกสรมาร์ท จังหวัดนครราชสีมา” เพ่ือพัฒนาระบบบริหารจัดการสินค้าคงคลังด้วย

เทคโนโลยี RFID กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วน จ ากัด เกสรมาร์ท จังหวัดนครราชสีมาเพ่ือการท างานที่ระบบ

ระเบียบมากยิ่งขึ้นและเพ่ิมความสะดวกรวดเร็วในการท างานจึงน าเอาเทคโนโลยี RFID เข้ามาประยุกต์ใช้ใน

ระบบบริหารจัดการสินค้าคงคลังนี้ด้วยซึ่งระบบจะท าให้ลดระยะเวลาในการท างานได้เป็นอย่างดี ที่ส าคัญจะ

ท าให้ระบบการควบคุมการเข้าออกของสินค้าในคลังสินค้ามีความถูกต้องแม่นย ามากยิ่งขึ้นและสามารถ

ตรวจสอบระบบในภายหลังได้ท าให้ป้องกันการสูญหายของสินค้าในคลังได้เป็นอย่างดี

Page 42: บทที่ 2 2 - Mahasarakham University588).pdf5 บทท 2 ทฤษฏ และวรรณกรรมท เก ยวข อง 2.1 ข อม ลท วไป กล

46

ปารเมศ เลพการ ,นายอิศรุต โภชาคม (2553) ชื่อเรื่อง “ระบบจัดการสินค้าคงคลังออนไลน์”ระบบ

จัดการสินค้าคงคลังออนไลน์มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาระบบ จัดการฐานข้อมูลสินค้าให้สามารถ ตรวจสอบ

ข้อมูลสินค้าจัดการการซื้อขายออนไลน์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต มีความสะดวกพัฒนาระบบคลังสินค้าให้มี

ประสิทธิภาพมีความแม่นยาสะดวกรวดเร็วในการท างาน มีการท างานของโปรแกรมที่เสถียรจึงต้องมีการศึกษา

ค้นคว้าเกี่ยวกับ ภาษา PHP และ MySQL เพ่ือนา ไปประยุกต์ใช้ในการท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่ (2554) ชื่อเรื่อง “การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง”เนื้อหา

เกี่ยวกับ ประเภทของ Inventory ,หน้าที่ของ Inventory,ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง,ระบบการควบคุมและ

ตรวจนับวัสดุคงคลัง,การจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลัง,Inventory Lead time ,ระดับการบริการลูกค้าและสินค้าคง

คลังเพ่ือความปลอดภัย,การก าหนดเวลาในการสั่งเติมเต็มวัสดุและสินค้าคงคลัง,การก าหนดปริมาณในการสั่ง

เติมเต็มวัสดุและสินค้าคงคลัง,การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ