Top Banner
256

ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

Jan 07, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก
Page 2: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

(ราง)คูมือ การประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2553

กลุมงานประกนัคุณภาพ

Page 3: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

คณะผูจัดทํา 1. รองศาสตราจารยเทื้อน ทองแกว

2. นายวัฒนะ มากช่ืน

3. ผูชวยศาสตราจารยไกรคุง อนัคฆกุล

4. นายวัชระ ประสาทแกว

5. นายเอกชัย จากศรีพรหม

6. นางสาวลาวัลย ขาวบริสุทธิ ์

7. นางสาวสุทธิรักษ ผลไม

Page 4: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

คํานํา

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

กําหนดใหสถานศึกษาทุกแหงจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายใน รวมถึงใหมีสํานักงาน

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาทําหนาที่ประเมินคุณภาพภายนอก โดยการ

ประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศใชมาตรฐาน

การอุดมศึกษา เพื่อเปนกลไกกํากับมาตรฐานระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา

และระดับหนวยงาน สถาบันอุดมศึกษามีความจําเปนที่จะตองสรางความมั่นใจแกสังคมวา

สามารถพัฒนาองคความรูและผลิตบัณฑิต ตอบสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศใหมาก

ข้ึนไมวาจะเปนการสรางขีดความสามารถในการแขงขันระดับสากล การพัฒนาภาคการผลิตจริง

ทั้งอุตสาหกรรมและบริการ การพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต ความเปนอยูระดับทองถิ่นและชุมชน

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตจึงไดจัดทําคูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 ฉบับนี้ข้ึน โดยมีวัตถุประสงคใหสถาบันอุดมศึกษามี

แนวทางปฏิบัติในการกํากับและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาที่ชัดเจนสอดคลองกับกรอบ

แผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐานเกี่ยวกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาตางๆ ที่เกี่ยวของ

และสามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามอยางมีประสิทธิภาพและเกิด

ประสิทธิผล และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารฉบับนี้จะเปนคูมือสงเสริมใหสถาบันอุดมศึกษาจัด

การศึกษาไดอยางมีคุณภาพ และนําไปสูการสรางผลผลิต ที่มีคุณุภาพสามารถตอบสนองสังคม

และประเทศชาติตามเปาหมายของแตละกลุมสถาบัน

กลุมงานประกันคุณภาพ

Page 5: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

สารบัญ

หนา

คํานํา บริบท มหาวทิยาลัยราชภฏัสวนดุสิต 1 บทที่ 1 การประเมินคุณภาพการศึกษา 20 บทที่ 2 กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษา 33 บทที่ 3 องคประกอบคุณภาพ ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมิน 45 บทที่ 4 การวิเคราะหและแนวทางปฏิบัติเพื่อใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน 90 บทที่ 5 การวิเคราะหตามตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพตามมาตรฐาน

อุดมศึกษาและมุมมองดานการบริหารจัดการ 132

บทที่ 6 การเขียนรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา 140 บทที่ 7 แผนการปรบัปรุงคุณภาพตามผลการประเมินตนเอง 173 บทที่ 8 การดําเนินงานประกนัคุณภาพของมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา

2553 ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพ สกอ. และ สมศ. 175

ภาคผนวก นิยามศัพท 205 การบูรณาการเกณฑคุณภาพ EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และTQF

(มคอ.)จาก TQA สู EdPEx 217

Page 6: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

1

ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตจัดต้ังขึ้นเพื่อเปนโรงเรียนการเรือนแหงแรกของประเทศไทย ชื่อ

“โรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือน” สังกัดกองอาชีวศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการ)

เปดดําเนินการเม่ือวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2477 ที่วังกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ (ปจจุบันเปนที่ ต้ังของ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพณิชยการพระนคร) มีจุดมุงหมาย เพื่อฝกอบรมการบานการเรือน

สําหรับสตรีหลักสูตร 4 ป1 และไดเร่ิมเปดสอนหลักสูตรอบรมครูการเรือนขึ้นเปนคร้ังแรก มีความมุงหมายเพื่อ

เต รียมผูที่ จะออกไปมีอา ชีพค รู ในแขนงนี้ 2 ตอมาในป พ .ศ .2480 ได ย ายมาอยูที่ วั ง จันทร เกษม

(กระทรวงศึกษาธิการในปจจุบัน) และเปล่ียนช่ือจากโรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือนมาเปน “โรงเรียนการเรือนวัง

จันทรเกษม” สังกัดกองและกรมเดิม โดยเปดสอนหลักสูตรมัธยมการเรือน (หลักสูตร 3 ป) และหลักสูตรการเรือน

ชั้นสูง (หลักสูตร 3 ป) เพิ่มเติม

ในป พ.ศ. 2484 ไดยายจากวังจันทรเกษมมาต้ังอยูในบริเวณสวนสุนันทา3 บนพื้นที่ประมาณ 37

ไร ซึ่งเปนบริเวณท่ีต้ังมหาวิทยาลัยในปจจุบันและเปล่ียนช่ือเปน “โรงเรียนการเรือนพระนคร” ยายสังกัดจาก

กองอาชีวศึกษาไปสังกัดกองฝกหัดครู กรมสามัญศึกษา4 ในขณะเดียวกันกระทรวงศึกษาธิการก็ไดจัดต้ัง

“โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ” ขึ้น5

1 หลักสูตรมัธยมวิสามัญการเรือน รายวิชาในหลักสูตรจะประกอบไปดวย (1) อาหารและโภชนาการ (2) ศิลปประดิษฐ

(3) การตัดเย็บเสื้อผา (4) การเล้ียงดูเด็ก และ (5) การจัดและตกแตงบาน 2 โรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือนเปดรับนักเรียน 2 ประเภท ประเภทแรกรับนักเรียนที่จบมัธยมตนมาเรียนหลักสูตร 4 ป

และประเภทท่ีสองรับครูนอยหรือครูใหญจากจังหวัดตาง ๆ ที่สงมาอบรมหลักสูตรพิเศษ 1 ป

คุณหญิงเพชรดา ณ ปอมเพชร (ม.ล. จิตรกุล กุญชร) รับหนาที่เปนครูใหญคนแรก ในปแรกมีนักเรียนที่อยูในประเภทท่ี 1

จํานวน 18 คน แ ละนักเรียนที่อยูในประเภทท่ี 2 จํานวน 48 คน และมีนักเรียนที่โอนมาจากโรงเรียนศึกษานารีอีก 9 คน มาอบรม

ดวย

(ผูชวยศาสตราจารย รัญจวน ประวัติเมือง, การสรางเสริมวัฒนธรรมองคการเพื่อเพิ่มศักยภาพแหงความสําเร็จ :

กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, ดุษฎีนิพนธ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, พ.ศ. 2550 หนา 73) 3 สวนสุนันทาเดิมเปนพระราชอุทยาน ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนทางดานหลัง

ของพระที่นั่งอัมพร-สถาน มีลักษณะเปนสวนปา ใชเปนพื้นที่พักผอนพระราชอิริยาบท และตอมาทรงมีพระราชดําริที่จะสรางเปนที่

ประทับถาวรสําหรับเจานายฝายในบางพระองค ในกรณีที่พระองคไดเสด็จสวรรคตไปแลว พระราชอุทยานนี้ไดรับพระราชทานนาม

วา “สวนสุนันทา” 4การยายสังกัดจากกองอาชีวศึกษา กรมวิชาการ ไปสังกัดกองฝกหัดครู กรมสามัญศึกษา ต้ังแต พ.ศ. 2483 5 ในป พ.ศ. 2483 กระทรวงศึกษาธิการไดรับเงินบริจาคของนางสาวละออ หลิมเซงไถ จํานวนแปดหม่ืนบาท จึงไดนําเงิน

จํานวนดังกลาวสรางตึกอนุบาลข้ึน ในบริเวณโรงเรียนการเรือนพระนคร ใหช่ือตึกหลังนี้วา “ตึกละอออุทิศ” ใชเปนโรงเรียนอนุบาล

ช่ือวา “โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ” สังกัดกองฝกหัดครู กรมสามัญศึกษา ซ่ึงถือวาเปนโรงเรียนอนุบาลแหงแรกของ

กระทรวงศึกษาธิการ และเปดทําการสอน เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2483 โดยมีคุณหญิงจิตรา ทองแถม ณ อยุธยา เปนครูใหญคน

แรก จุดมุงหมายในการจัดต้ังโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ เพื่อทดลองและทดสอบดูวาประชาชนมีความสนใจและเขาใจเร่ืองการ

อนุบาลศึกษา จนเปนรากฐานการเรียนรูของเด็กมากนอยเพียงใด การดําเนินงานของโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศประสบกับ

ความสําเร็จเปนที่นาพอใจ กระทรวงศึกษาธิการจึงมอบหมายใหกองฝกหัดครู โดย ม.ล. มานิจ ชุมสาย หัวหนากองฝกหัดครู

ดําเนินการใหโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศเปดรับนักเรียนฝกหัดครูที่สําเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรประโยคครูประถม เขารับการ

Page 7: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

2

ในบริเวณพ้ืนที่เดียวกันกับโรงเรียนการเรือนพระนคร สังกัดกองฝกหัดครู กรมสามัญศึกษาแต

แยกสวนการบริหารจัดการออกจากกัน6 เม่ือกระทรวงศึกษาธิการไดประกาศต้ังกรมการฝกหัดครูขึ้นตาม

พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ฉบับ พ.ศ. 2497 เพื่อรวมการฝกหัดครูที่จัดขึ้นในกรมตาง ๆ เขาดวยกัน

เพื่อเปนการประหยัดและเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการปรับปรุงการผลิตครูทั้งดานปริมาณและคุณภาพ โรงเรียน

การเรือนพระนครจึงยายมาสังกัดกรมการฝกหัดครู ในป พ.ศ. 2498 และไดโอนแผนกฝกหัดครูอนุบาลจาก

โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ มาสังกัดโรงเรียนการเรือนพระนคร

ป พ.ศ. 2499 โรงเรียนการเรือนพระนครไดเปดสอนหลักสูตร ป.กศ.7 (คหศาสตร) เปนปแรกและ

เปนแหงแรกของประเทศไทย ในขณะเดียวกันก็เปดสอนหลักสูตรประโยคครูการเรือน ประโยคครูอนุบาล ระดับ

ป.ป. (หลักสูตรครูประถม) และประโยคครูมัธยมการเรือนควบคูกันไปดวย8

ป พ .ศ . 2501 เปดสอนหลักสูตร ป .กศ . และ ป .กศ .ชั้นสูง เ ร่ือยมาจนถึง พ .ศ . 2504

กระทรวงศึกษาธิการประกาศยกฐานะโรงเรียนการเรือนพระนครเปนวิทยาลัยครู ชื่อ “วิทยาลัยครูสวนดุสิต”

สังกัดกองการฝกหัดครู กรมการฝกหัดครู9

ป พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2518 มีผลบังคับใช กรมการฝกหัดครูได

ปรับปรุงหลักสูตรขึ้นใหม เพื่อใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปนหลักสูตรการฝกหัด

ครูของสภาการฝกหัดครู พ.ศ. 2519 ทําใหวิทยาลัยครูสามารถเปดสอนไดถึงระดับปริญญาตรี นอกจากนี้ยังไดมี

การรวมโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศกับการฝกหัดครูอนุบาลเขาดวยกันเปนภาควิชาการอนุบาลศึกษา สังกัดคณะ

ครุศาสตร วิทยาลัยครูสวนดุสิต และไดเปล่ียนช่ือโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศเปน “โรงเรียนสาธิตอนุบาลละออ

อุทิศ”10 และเปดสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตรสภาการฝกหัดครู วิชาเอกการอนุบาลศึกษาเปนคร้ังแรก

จากพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2518 ทําใหวิทยาลัยครูมีการเปล่ียนแปลง

โครงสรางทั้งระบบบริหารและวิชาการ ตําแหนงหัวหนาสถานศึกษาของวิทยาลัยครูไดเปล่ียนไปเปน “อธิการ

วิทยาลัย” พรอม ๆ กับการเปล่ียนแปลงตําแหนงผูบริหารสวนราชการอื่น ๆ ก็ตองเปล่ียนแปลงไปจากเดิม คือ

อบรมหลักสูตร 1 ป เพื่อเปนครูอนุบาล ซ่ึงเปนการเปดแผนกฝกหัดครูอนุบาลข้ึนเปนปแรกในปการศึกษา 2484 และใหคุณหญิง

จิตรา ทองแถม ณ อยุธยา เปนหัวหนาแผนกอบรมครูอนุบาลอีกตําแหนงหนึ่งดวย

(รองศาสตราจารย ดร. ศิโรจน ผลพันธิน, กวาจะมาเปน.......โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ, เอกสารประกอบการนําเสนอ

โครงการ ยกฐานะโรงเรียนละอออุทิศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เปนหนวยงานเทียบเทาคณะ, พ.ศ. 2551, หนา 9-10

ภาคผนวก 1) 6 โรงเรียนการเรือนพระนครและโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศมักจะไปเปดดวยกันเสมอ โดยเฉพาะในชวงสงครามโลกคร้ัง

ที่ 2 (2486-2489) กระทรวงศึกษาธิการไปเปดโรงเรียนอนุบาลข้ึนที่จังหวัดใด ก็จะตองมีโรงเรียนการเรือนเปดตามมาดวย เพื่อ

รองรับผูที่อพยพหลบหนีภัยสงครามไปจากกรุงเทพฯ เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 โรงเรียนการเรือนที่ไปเปดสอนช้ันเฉพาะกิจใน

ตางจังหวัดรวม 10 จังหวัด ก็ถูกยุบลงเหลือแตเพียงโรงเรียนอนุบาล 7 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา 8 หลักสูตรทั้ง 3 เปนหลักสูตรที่สอนมากอน และเลิกสอนทั้งหมดในป พ.ศ. 2506 9 แตเดิมการฝกหัดครูจะแยกเปนโรงเรียนชายและโรงเรียนหญิง จังหวัดเดียวกันจะมีทั้งโรงเรียนชายและโรงเรียนหญิง

กรมการฝกหัดครูจึงไดรวมโรงเรียนชายและโรงเรียนหญิงเปนโรงเรียนฝกหัดครูประเภทสหศึกษาทีละแหงสองแหง จนถึง พ.ศ. 2514

โรงเรียนตาง ๆ ถูกรวมเปนสหศึกษาหมด มีแตวิทยาลัยครูสวนดุสิตเพียงแหงเดียวเทานั้นที่ยังคงเปนวิทยาลัยครูสําหรับสตรี 10 เปลี่ยนช่ือ “โรงเรียนอนุบาลละอออุทศิ” เปน “โรงเรียนสาธิตอนุบาลละอออุทิศ” วิทยาลัยครูสวนดุสิต ในป พ.ศ. 2520

Page 8: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

3

เปนสวนราชการที่ประกอบดวยอธิการ รองอธิการฝายบริหาร รองอธิการฝายวิชาการ และรองอธิการฝายกิจการ

นักศึกษา สํานักงานอธิการ ประกอบดวยแผนกตาง ๆ 12 แผนก ดานงานวิชาการไดจัดต้ังใหมีคณะวิชา 3 คณะ

คือคณะวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร (มีภาควิชาในสังกัด 11 ภาควิชา) คณะวิชาครุศาสตร (มีภาควิชาใน

สังกัด 7 ภาควิชา) และคณะวิชาวิทยาศาสตร (มีภาควิชาในสังกัด 9 ภาควิชา)

การเปล่ียนแปลงดังกลาวเปนผลใหวิทยาลัยมีการกอสรางและปรับปรุงอาคารสถานท่ี เพื่อใชเปน

สํานักงานและหองเรียนเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก แมวาจะมีการปรับปรุงโครงสราง ระบบบริหารและระบบวิชาการ

ใหม แตวิทยาลัยครูสวนดุสิตยังคงมีการจัดการศึกษาในสาขาเดียว คือ สาขาวิชาการศึกษา ตามหลักสูตรสภา

การฝกหัดครู ซึ่งแบงออกเปน 3 ระดับ คือ ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) ระดับประกาศนียบัตร

วิชาการศึกษาช้ันสูง (ป.กศ.ชั้นสูง) และระดับปริญญาตรี 4 ป และ 2 ป ตอเนื่อง (ครุศาสตรบัณฑิต) จํานวน 11

วิชาเอก (ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา วิทยาศาสตรทั่วไป คหกรรมศาสตร ศิลปศึกษา การศึกษาพิเศษ

การอนุบาลศึกษา การประถมศึกษา อุตสาหกรรมศิลป และคณิตศาสตร)

ป พ.ศ. 2528 หลังจากที่ไดมีการปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2518

เปน พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2527 ทําใหวิทยาลัยครูสามารถเปดสอนสายวิชาการอื่นได

นอกเหนือจากสายวิชาชีพครู วิทยาลัยครูสวนดุสิตจึงเร่ิมเปดสอนสายวิชาการอื่น โดยเร่ิมจากหลักสูตรระดับ

อนุปริญญา คือ อนุปริญญาศิลปศาสตร (อ.ศศ.) 3 วิชาเอก (วารสารและการประชาสัมพันธ ภาษาอังกฤษ และ

ออกแบบนิเทศศิลป) และอนุปริญญาวิทยาศาสตร (อ.วท.) 3 วิชาเอก (การอาหาร ผาและเคร่ืองแตงกาย และ

ศิลปประดิษฐ) และไดมีการเปดรับสมัครนักศึกษาชายเขาเรียนเปนสหศึกษาเปนปแรก

พ.ศ. 2529 – 2534 วิทยาลัยครูสวนดุสิตไดขยายการเปดรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาย

วิชาการอื่นเพิ่มขึ้นหลายวิชาเอก ในสาขาวิทยาศาสตรบัณฑิตและศิลปศาสตรบัณฑิต ทั้งในระดับปริญญาตรี 4

ป และปริญญาตรีตอเน่ือง มีการเปดสอนนักศึกษาตามโครงการจัดการศึกษาสําหรับบุคลากรประจําการ11

(กศ.บป.) รุนแรกในป พ.ศ. 2529 โดยเปดสอนทั้งสายวิชาชีพครูและสายวิชาการอื่นในระดับอนุปริญญา และระดับ

ปริญญาตรี

พ.ศ . 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ

พระราชทานช่ือ “สถาบันราชภัฏ” แกวิทยาลัยครูทั่วประเทศ

พ.ศ. 2538 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 สงผลใหวิทยาลัยครู

สวนดุสิตเปล่ียนช่ือเปน “สถาบันราชภัฏสวนดุสิต” สังกัดสํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ กระทรวงศึกษาธิการ

จากพระราชบัญญัติฉบับนี้ ทําใหสวนดุสิตสามารถขยายการจัดการศึกษาไดอยางกวางขวางและหลากหลาย

รูปแบบมากข้ึน มีการเปดสอนตามหลักสูตรสาขาวิชาการศึกษา สาขาวิชาศิลปศาสตร และสาขาวิชา

วิทยาศาสตร มีผูสนใจสมัครเขาเรียนเปนจํานวนมากท้ังภาคปกติและภาคสมทบ นอกจากน้ียังไดรวมมือกับ

องคกรภายนอก เพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษา ดวยการจัดต้ังศูนยการศึกษานอกสถาบันจํานวน 3 ศูนย

11 กอนป พ.ศ. 2529 การเปดสอนจะเรียกเปนโครงการอบรมครูและบุคลากรทางการศึกษาประจําการ (อคป.) เปนการ

จัดการศึกษาใหกับบุคคลที่มีงานทําอยูแลวไดมีโอกาสศึกษาเพิ่มเติม เฉพาะสายวิชาชีพครู เมื่อมีพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับ

ที่ 2) พ.ศ. 2528 จึงมีการจัดการศึกษาสายวิชาการอื่นเพิ่มข้ึน และเปล่ียนช่ือเรียกโครงการใหมวาโครงการจัดการศึกษาสําหรับ

บุคลากรประจําการ จัดการศึกษาในตอนเย็นและวันหยุด พัฒนามาจากการจัดการศึกษาระบบทวิภาคหรือภาคสมทบ

Page 9: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

4

ไดแก ศูนยซุปเปอรเซฟ ศูนยองคการเภสัชกรรม และศูนยอรรถวิทย โดยเปดสอนระดับอนุปริญญาและ

ปริญญาตรี รับนักศึกษาภาคสมทบ

พ.ศ. 2540 จัดต้ังบัณฑิตวิทยาลัยขึ้น และเร่ิมเปดสอนระดับปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจ

(Master of Business Administration) โดยรวมมือกับ Victoria University ประเทศแคนาดา และเปดศูนย

การศึกษานอกสถาบันเพิ่มขึ้นในเขตกรุงเทพมหานคร (ศูนยจรัญสนิทวงศ ศูนยพงษสวัสด์ิ และศูนยสุโขทัย) เปน

ปที่สถาบันทุมเทงบประมาณเปนจํานวนมาก พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใชในการเรียนการสอนและ

เปนฐานขอมูลระบบการสอนทางไกล (Video – conference) และระบบหองสมุดเสมือน (Virtual Library) ที่สมบูรณ

แบบไดถูกพัฒนาขึ้นมาเปนคร้ังแรกในสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทย

พ.ศ. 2541 – 2546 เปนชวงระยะเวลาท่ีสถาบันราชภัฏสวนดุสิตไดขยายการจัดการศึกษาออกไป

อยางกวางขวาง ทั้งการเปดสอนในหลักสูตรใหม ๆ เพิ่มเติม และการขยายศูนยการศึกษาออกไปยังเขตปริมณฑล

และตางจังหวัด (ศูนยดุสิตพณิชยการสยาม ศูนยเซ็ลทรัลปนเกลา ศูนยอิมพีเรียล-บางนา ศูนยนครนายก ศูนย

ปราจีนบุรี ศูนยธนาลงกรณ ศูนยบุษยมาส ศูนยพณิชยการสยาม ศูนยนครปฐม ศูนยชลบุรี ศูนยพัทยา ศูนย

สระบุรี ศูนยพะเยา ศูนยลําปาง ศูนยระนอง 2 ศูนยพิษณุโลก ศูนยตรัง ศูนยลุมพินี และศูนยหัวหิน) เนื่องจากมี

ผูสนใจเขาเรียนเปนจํานวนมาก ประกอบกับพื้นที่เรียนภายในสถาบันอยูในระหวางการกอสรางและปรับปรุงใหม

ทางดานการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาก็ไดมีการจัดการศึกษาทั้งในระดับปริญญาโท (ครุศาสตรมหา

บัณฑิต รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต และนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต) และเปดสอนใน

ระดับปริญญาเอกเปนคร้ังแรก (พ.ศ. 2545) หลักสูตรการจัดการดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Management)

พ.ศ. 2547 สถาบันราชภัฏสวนดุสิตไดปรับเปล่ียนสถานภาพจาก “สถาบัน” เปน “มหาวิทยาลัย”

ตาม พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 เม่ือวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ชื่อวา “มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สวนดุสิต” สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. 2548 – 2551 จากพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ทําใหสวนดุสิตมีการ

ปรับเปล่ียนในดานตาง ๆ ทั้งโครงสรางของระบบบริหารและการบริหารจัดการทางดานวิชาการ รวมท้ังจากการ

ปฏิรูปการศึกษาและการปฏิรูประบบราชการ ทําใหมหาวิทยาลัยตองกําหนดแผนกลยุทธในการดําเนินงานของ

มหาวิทยาลัย12

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตจัดอยูในกลุมมหาวิทยาลัยที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม

จัดการเรียนการสอนและภารกิจอื่นทั้งในมหาวิทยาลัย และศูนยการศึกษานอกมหาวิทยาลัยที่กระจายอยูใน

กรุงเทพมหานครและจังหวัดตาง ๆ ทุกภูมิภาคของประเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตไดกําหนดอัตลักษณของมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนความเช่ียวชาญ

ด้ังเดิม และโดดเดนเปนที่ยอมรับทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งสาขาวิชาที่มีความพรอมสามารถตอบสนองความ

ตองการของสังคมและทองถ่ิน มีทั้งหมด 4 ดาน คือ

1. ดานการศึกษาปฐมวัย

2. ดานอุตสาหกรรมอาหาร

3. ดานอุตสาหกรรมบริการ

12 รายละเอียดของแผนกลยุทธหาดูไดจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, “แผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวน

ดุสิตประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2551”, เอกสารเผยแพร, 2549.

Page 10: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

5

4. ดานการศึกษาพิเศษ13

ตลอดระยะเวลากวา 70 ป จากโรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือน จนมาเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

การพัฒนาความเขมแข็งของมหาวิทยาลัยต้ังอยูบนพื้นฐานความเขมแข็งของความสามารถทางวิชาการท่ีมีมาอยูเดิม และ

ปรับปรุงพัฒนาใหสอดคลองตอการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา การสรางนวัตกรรมใหม ๆการนําเทคโนโลยีที่เหมาะสมมา

ประยุกตใชตลอดจนการบริหารการจัดการที่เปนรูปแบบของสวนดุสิตจากภาวะผูนําขององคกร ไดหลอหลอมและสรางเปน

วัฒนธรรมของสวนดุสิต ที่มีความโดดเดน และสามารถอยูรอดไดภายใตสถานการณของการแขงขันและส่ิงแวดลอมทาง

สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่เปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็ว ความเขมแข็งในวัฒนธรรมของสวนดุสิตอยูในรูปแบบของ

1. การมีบุคลิกภาพท่ีดี

2. การศึกษาหาความรู และพัฒนานวัตกรรมใหมๆ อยูเสมอ

3. ความมีวินัยและการรับฟงความคิดเห็นของคนอื่น

4. ความสามารถในการใชเทคโนโลยีใหเปนประโยชน

5. ความมีระเบียบและประณีตในงานที่ทํา

6. มีความรูจริงในส่ิงที่ทํา

อันนํามาซ่ึงความเปนตัวตนของ “สวนดุสิต” ในวันนี้ และเปนรากฐานท่ีสําคัญในการพัฒนาตอไป

ในอนาคต พ.ศ. 2552 – 2556 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตไดกําหนดแนวทางในการพัฒนาเอาไว ดังนี้14

1. เพื่อใหสอดคลองกับแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 – 2565) และ

แนวนโยบายของมหาวิทยาลัย ในการที่จะพัฒนาโครงสรางของหนวยงานหลักในมหาวิทยาลัย ใหสอดคลองกับ

พันธกิจและประสิทธิผลของการบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยจึงไดกําหนดใหมีหนวยงานใหมเพิ่มขึ้นตามประกาศ

สภามหาวิทยาลัย นอกเหนือไปจากโครงสรางเดิมตามกฎกระทรวงในการแบงสวนราชการของมหาวิทยาลัยราช

ภัฏสวนดุสิต

2. การดําเนินงานของแตละหนวยงานจะตองดําเนินการโดยมุงเนนคุณภาพของงานเปน

สําคัญ และจะตองดําเนินการใหสอดคลองกับแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยในภาพรวมได

3. การกําหนดอัตลักษณของมหาวิทยาลัยออกเปน 4 ดาน (เปนสถาบันเฉพาะทาง ลักษณะ

ที่เปนสถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี)

- การศึกษาปฐมวัย

- อุตสาหกรรมอาหาร

- อุตสาหกรรมบริการ

- พยาบาลศาสตร

4. การพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยใหเปนไปตามมาตรฐาน

การศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

13 ตอมามีการเปล่ียนอัตลักษณมหาวิทยาลัยจากการศึกษาพิเศษ เปน พยาบาลศาสตร หาดูไดจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน

ดุสิต, “แนวทางการพัฒนาแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2552-2556, เอกสาร เผยแพร, 2551.

14 รองศาสตราจารย ดร. ศิโรจน ผลพันธิน, “แนวทางการพัฒนาแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2552-

2556, เอกสาร เผยแพร, 2551.

Page 11: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

6

5. การจัดทําแผนกลยุทธ ของมหาวิทยาลัยประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552-2556 ไดมีการ

ปรับปรุงการเปล่ียนแปลงปรัชญาและกลยุทธของมหาวิทยาลัยจาก”การเปนมหาวิทยาลัยที่ตระหนักถึงความอยู

รอดขององคกร (Survival)” ไปสู “การเปนมหาวิทยาลัยที่มีความสามารถในการสรางความเขมแข็งในการอยูรอด

(Survivability)” ปรัชญา เปนมหาวิทยาลัยที่มีความสามารถในการสรางความเขมแข็งในการอยูรอด (Survivability) คานิยมรวม (Shared Value) Specialization ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของมหาวิทยาลัย

Uniqueness การมีเอกลักษณที่พัฒนาการมาจากรากฐานที่มีมาแตเดิม

Relationship สัมพันธภาพภายในและความรวมมือกับภายนอก

Value ความมีคุณคาในความรูสึกของประชาคมและสังคม

Identity อัตลักษณของมหาวิทยาลัยประกอบดวย อุตสาหกรรมอาหาร การศึกษา

ปฐมวัย อุตสาหกรรมการบริการ และพยาบาลศาสตร

Variation การผันแปร การเปล่ียนแปลงที่มหาวิทยาลัยตองพรอมรับ

Attraction ความมีเสนหจากบุคลิกเฉพาะท้ังดานวิชาการและความมีสุนทรียศาสตรของ

บุคลากรและนักศึกษา

Balance ความสมดุลระหวางชีวิตงานและชีวิตสวนตัวของบุคลากร

Innovation นวัตกรรม

Learning การเรียนรูขององคกรและบุคลากร

Initiation การเร่ิมตน

Total Quality คุณภาพองครวม

Young Blood คนรุนใหม วิสัยทัศน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตเปนมหาวิทยาลัยเฉพาะทางท่ีมีอัตลักษณโดดเดนดานอุตสาหกรรมอาหาร

การศึกษาปฐมวัย อุตสาหกรรมการบริการและพยาบาลศาสตร ภายใตการบริหารจัดการที่มีลักษณะเปนพลวัตเปนที่

ยอมรับในระดับภูมิภาคอาเซียน และแขงขันไดอยางย่ังยืน พันธกิจ ผลิตบัณฑิตใหมีคุณภาพเปนที่ยอมรับและเปนที่ตองการของสังคม โดยมีจุดเดนดานบุคลิกภาพเฉพาะ

ตามวัฒนธรรมสวนดุสิต สราง พัฒนา และเผยแพรองคความรู นวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพบัณฑิต และการพัฒนาความ

เขมแข็งชุมชน สังคม และประเทศในลักษณะการใหบริการวิชาการ ทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรมสงเสริมการจัดการส่ิงแวดล

อมอยางสมดุล ย่ังยืน เผยแพร และสงเสริมปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สรางและพัฒนาความเขมแข็งวิชาชีพครู โดย

ยึดหลักการบริหารจัดการที่คํานึงถึงการปรับตัวลวงหนาเพื่อพรอมรับแนวโนมบริบทที่จะเปลี่ยนแปลงและสามารถ แขงขัน

ไดในระดับภูมิภาคอาเซียน

Page 12: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

7

ประเด็นยุทธศาสตร 1. การใหบริการวิชาการเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต

2. การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาดานสังคมศาสตร

3. การสรางความรูความเขาใจและความภูมิใจในคุณคาวัฒนธรรมองคกร

4. การจัดการศึกษาดานวิทยาศาสตรเพื่อเปนฐานการพัฒนาขีดความสามารถของประเทศ

5. การพัฒนาผลงานวิจัย นวัตกรรม และการนําไปใชประโยชน

6. การบริหารจัดการแบบพลวัต เปาประสงค

1. ประชาชนไดรับโอกาสทางการศึกษาตลอดชีวิตตามศักยภาพ

2. บัณฑิตในสาขาท่ีเปนอัตลักษณของมหาวิทยาลัยมีคุณภาพเปนที่ยอมรับในระดับภมิูภาคอาเซียน

3. นักศึกษาและประชาชนตระหนักเห็นคุณคาวัฒนธรรมไทย

4. กําลังคนดานวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ

5. มหาวิทยาลัย ชุมชน สังคม ไดใชประโยชนจากองคความรูที่สรางขึ้น

6. มหาวิทยาลัยสามารถสรางความเขมแข็งในการอยูรอดได กลยุทธ

กลยุทธที่ 1 การบริการวิชาการเพื่อสรางโอกาสการเรียนรูตลอดชีวิต

กลยุทธที่ 2 มหาวิทยาลัยที่มีอัตลักษณ (Identity)โดดเดนเปนของตนเอง

กลยุทธที่ 3 สรางคุณคาวัฒนธรรมไทย

กลยุทธที่ 4 พัฒนาความเขมแข็งของการจัดการศึกษาดานวิทยาศาสตร

กลยุทธที่ 5 การสรางและนําองคความรูไปใชใหเกิดประโยชน

กลยุทธที่ 6 การบริหารจัดการเชิงพลวัต

Page 13: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

8

ความเช่ือมโยงกับยุทธศาสตรชาติ

ความเช่ือมโยงระหวางยุทธศาสตรชาติ ตามแผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2551 - 2554

(คณะรัฐมนตรีเห็นชอบเม่ือวันที่ 11 มีนาคม 2551) ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ และกลยุทธของ

มหาวิทยาลัย แสดงไดดังนี้

ยุทธศาสตรชาติยุทธศาสตรชาติ

ประเดน็ยุทธศาสตร ประเดน็ยุทธศาสตร กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงศึกษาธิการ

กลกลยุทธยุทธมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัย

วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม

การบริหารจัดการที่ด ี

การสร างโอกาสทางการศึกษา และการเรียนรูตลอดชีวิต

การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศโดยใชความรูเป นฐาน

การบริการวิชาการเพ่ือสร าง โอกาสการเรียนรูตลอดชีวิต

มหาวิทยาลัยที่มีอัตลักษณ (Identity)โดดเดนเปนของตนเอง

การสงเสริมและสนับสนุน การวิจัยและพัฒนาถายทอด องค ความรูและเทคโนโลยี

การพัฒนาระบบบริหารจัดการและกฎหมายด านการศึกษา

สร างคุณค าวัฒนธรรมไทย

พัฒนาความเขมแข็งของการจัดการศึกษาดานวิทยาศาสตร

การสร างและนําองค ความรูไป ใช ใหเกิดประโยชน

การบริหารจัดการเชิงพลวัต

นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต

Page 14: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

9

แผนงานประกันคุณภาพ มหาวทิยาลัยราชภฏัสวนดุสิตประจําปการศึกษา 2553 1. ความเปนมาของแผนงานประกันคุณภาพการศึกษา ประจําปการศึกษา 2553

ดวยพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ไดกําหนดจุดมุงหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่มุงเนนคุณภาพและมาตรฐาน ไวในหมวด 6 วาดวย “มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา” โดยมาตรา 47 กําหนดใหมีระบบประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ทุกระดับ ซ่ึงประกอบดวย“ระบบการประกันคุณภาพภายใน” และ “ระบบการประกันคุณภาพภายนอก” และมาตรา 48 กําหนดให หนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาตองจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาที่จะตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยตองจัดทํารายงานประจําปเสนอหนวยงานตนสังกัด และเปดเผยสูสาธารณชน

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ตระหนักและใหความสําคัญตอระบบการประกันคุณภาพการศึกษา วาเปนระบบที่มีศักยภาพในการสงเสริมสนับสนุนใหมหาวิทยาลัยสามารถพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาไดบรรลุเปาหมายสอดคลองกับ ปรัชญา วิสัยทัศน และพันธกิจของมหาวิทยาลัยตามที่ไดประกาศไวตอสาธารณชน คือ มหาวิทยาลัยฯไดกําหนดนโยบายใหหนวยงานที่มีบทบาทเก่ียวของโดยตรงตอการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยตองมีการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนประจําทุกปอยางตอเนื่อง โดยใหมีคณะกรรมการประกันคุณภาพและกลุมงานประกันคุณภาพประจํามหาวิทยาลัย ดําเนินการปรับปรุงพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัย ตลอดจนสนับสนุนสงเสริมใหหนวยงานตางๆของมหาวิทยาลัยมีการประกันคุณภาพการจัดการศึกษาท่ีครบถวนและมีประสิทธิภาพ ภายใตระบบและกลไกท่ีพัฒนาขึ้น ซึ่งประกอบดวยการควบคุมคุณภาพ การติดตามคุณภาพและการประเมินคุณภาพ และมหาวิทยาลัยไดกําหนดปรัชญา วิสัยทัศน และวัตถุประสงคการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยไวดังนี้ ปรัชญาการประกันคุณภาพ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา เปนเคร่ืองมือที่มีศักยภาพในการท่ีจะสงเสริมสนับสนุน ใหมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต สามารถพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาไดเปนที่ยอมรับในระดับสากล และสามารถแขงขันไดอยางย่ังยืน วิสัยทัศนการประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Vision) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มุงพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในไปสูระบบการ

ประกันคุณภาพ EdPEx/TQA (Thailand Quality Award) โดยกําหนดใหผลการประเมินภายนอกระบบตาง ๆ

สูงสุดอันดับหนึ่งถึงหาในกลุมสถาบันเดียวกัน ภายในปการศึกษา 2556 และกําหนดแนวทางการบริหาร

มหาวิทยาลัยใหสอดคลองกับระบบการประกันคุณภาพ วัตถุประสงคการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยมีวัตถุประสงคในการประกันคุณภาพ ดังนี้

1. เพื่อควบคุมและกําหนดแนวทางเปนแนวเดียวกันในการจัดการศึกษาของหนวยงานและ มหาวิทยาลัยใหสามารถบรรลุเปาหมายสูงสุด

2. เพื่อติดตาม กํากับดูแลการดําเนินการของหนวยงานในการจัดการศึกษาใหสอดคลอง แนวทางและเปาหมายการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยตามที่คาดหวัง

Page 15: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

10

3. เพื่อประเมินผลการจัดการศึกษาของหนวยงานและมหาวิทยาลัย และนําผลการ ประเมินมาปรับปรุง พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในอนาคต ปรับปรุง พัฒนาระบบ และกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาใหมีประสิทธิภาพดีย่ิงขึ้น

มหาวิทยาลัยฯไดจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพประจํามหาวิทยาลัย และบุคลากรที่เกียวของ เพื่อทบทวนผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยประจําปการศึกษา 2551 (ภาคผนวก) , มาจัดทําแผนงานประกันคุณภาพประจําปการศึกษา 2552 นี้ขึ้น เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการประกันคุณภาพการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยและหนวยงานในสังกัด ภายใตระบบและกลไกการประกันคุณภาพที่พัฒนาขึ้นตอไป 2. วัตถุประสงคของแผนงานประกันคุณภาพ 1. เพื่อทบทวนผลการประเมิน มาตรฐาน ตัวบงชี้ คาเปาหมาย ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

การศึกษาภายในรอบปที่ผานมา

2. เพื่อกําหนดแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ประจําป

การศึกษา 2552 ใหมีการดําเนินการครบถวนทั้ง การควบคุม การติดตามและการประเมินคุณภาพ

3. เพื่อบูรณการการประกันคุณภาพเขากับการบริหารการจัดการศึกษาของหนวยงานท่ีเก่ียวของ

4. เพื่อใหเกิดการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามพันธกิจใหบรรลุเปาหมายการจัด

การศึกษา อยางตอเนื่อง เปาประสงคของแผนงานประกันคุณภาพ 1. มหาวิทยาลัยและหนวยงานในสังกัด มีกรอบการดําเนินงานประกันคุณภาพท่ีชัดเจนเปนแนวทางเดียวกัน

และมีประสิทธิภาพ

2. หนวยงานท่ีเก่ียวของมีการดําเนินการจัดการศึกษาสอดคลองระบบการประกันคุณภาพฯของการจัด

การศึกษา

3. หนวยงานท่ีเก่ียวของมีการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามภารกิจของมหาวิทยาลัย 3. นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยมีเปาหมายใชหลักการการประกันคุณภาพเปนยุทธศาสตรในการบริหารมหาวิทยาลัย หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา ใชกระบวนการบริหารคุณภาพในการบริหารมหาวิทยาลัย ตามอัตลักษณของมหาวิทยาลัย ระบบการจัดการภายในแตละภาคสวนจึงเปนระบบคุณภาพ เพื่อใหเปนการบริหารคุณภาพองครวม (Total Quality Management) ในกระบวนการจัดการความรูที่มุงไปสูการเปนองคกรแหงการเรียนรู โดยมหาวิทยาลัยไดมีนโยบายดานการประกันคุณภาพภายในดังนี้

1 นโยบายการประกันคุณภาพทั่วไป ดวยแนวนโยบายการประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยกําหนดแนวทางสําคัญไวดังนี้

1.1 สงเสริมและสนับสนุนการบูรณาการคุณภาพเขาสูงานประจํา หมายถึง การบูรณาการการประกัน

คุณภาพในระบบตาง ๆ (ก.พ.ร. สมศ. สกอ. และการรับรองวิทยฐานะ) เขาเปนระบบงานประจําไมใชการแยกสวนการปฏิบัติ

เพื่อใหเปนระบบงานท่ีเปนวัฒนธรรมคุณภาพ อยูในวัฒนธรรมของสวนดุสิต

1.2 สงเสริมใหมีการประกันคุณภาพภายในทุกหนวยงานหลัก และในอัตลักษณของมหาวิทยาลัย

ซึ่งสามารถเปล่ียนแปลงแกไข เพิ่มเติมตามสถานการณที่เปล่ียนแปลง

1.3 สงเสริมและสนับสนุนการประกันคุณภาพบนพื้นฐานความแตกตางและพันธกิจของหนวยงาน

โดยใหมีจุดรวมและจุดแยกเฉพาะท่ีเช่ือมโยงไปสูอัตลักษณของมหาวิทยาลัย

Page 16: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

11

1.4 สงเสริมและสนับสนุนใหหนวยงานไดพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในใหมีคุณภาพ

สูงสุด และพัฒนาอยางตอเนื่อง ในการพัฒนาคุณภาพ ติดตามคุณภาพ และประเมินคุณภาพ

1.5 สงเสริมใหมีการสรางเครือขายงานประกันคุณภาพ ทั้งภายในและภายนอก 2 นโยบายเฉพาะ

นโยบายขอที่ 1 เรงรัดใหมีการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ประกอบดวย การควบคุม/

การพัฒนา การติดตามตรวจสอบและการประเมินคุณภาพ เพื่อเปนเคร่ืองมือในการรักษามาตรฐานการศึกษาของ

มหาวิทยาลัย โดยใหมีคณะกรรมการประกันคุณภาพประจํามหาวิทยาลัย กํากับดูแลการประกันคุณภาพภายใน

ระดับมหาวิทยาลัย คณะ สถาบัน สํานัก หรือหนวยงานเทียบเทา และหลักสูตร ในการพัฒนาระบบและกลไกการ

ควบคุมคุณภาพภายใน เพื่อใหหนวยงานพรอมรับการตรวจสอบ/ประเมินคุณภาพ จากหนวยงานภายในและภายนอก

ไดตลอดเวลา

นโยบายขอที่ 2 สงเสริมและสนับสนุนใหคณะ สถาบัน สํานัก หรือหนวยงานเทียบเทา ดําเนินงาน

พัฒนาดานการประกันคุณภาพการศึกษาอยางเปนระบบ

Page 17: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

12

ระบบบริหารจัดการคุณภาพของมหาวทิยาลัยราชภฏัสวนดุสิตประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2554 – 2556 หลักการ ดวยมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตไดจัดใหมีระบบบริหารจัดการคุณภาพ โดยนําเกณฑคุณภาพ

การศึกษาเพื่อการดําเนินการท่ีเปนเลิศ (Education Criteria for Performance Excellence – EdPEx) มาเปน

หลักในการดําเนินการตามแผนกลยุทธมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2552-2556 และบูรณาการกับระบบ

การประกันคุณภาพตามเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานรับรองมาตรฐาน

และประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.) และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

(ก.พ.ร.) รวมถึงการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวน

ดุสิต เพื่อใหเปนระบบบริหารจัดการคุณภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตที่เปนเอกภาพ โดยมีหลักการ

ดําเนินงานสําคัญ 3 ประการดังนี้

1. เปนระบบบริหารจัดการคุณภาพระบบเดียวท่ีตอบสนองระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

และภายนอก

2. เปนระบบที่มีเอกภาพเชิงนโยบายแตสงเสริมแนวปฏิบัติที่หลากหลายตามความพรอมและ

ศักยภาพของหนวยงานภายในมหาวิทยาลัย

3. เปนระบบท่ีสงเสริมความเขมแข็งของหนวยงานทั้งที่เปนหนวยงานวิชาการและหนวยงาน

สนับสนุนโดยใชกลไกการประเมินตนเอง (Self Assessment- SA) เปนเคร่ืองมือในการเรียนรูและพัฒนาอยาง

ตอเนื่อง วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนใหบุคลากรของหนวยงานในมหาวิทยาลัยเรียนรูเก่ียวกับเกณฑคุณภาพการศึกษาเพื่อการ

ดําเนินการท่ีเปนเลิศ (Education Criteria for Performance Excellence – EdPEx) ควบคูไปกับการนําไปใชใน

การดําเนินงานตามแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยเพื่อบริหารจัดการคุณภาพองครวมท่ีมีลักษณะเฉพาะตาม

บริบทของหนวยงานตนเอง สงผลถึงการเกิดผลลัพธที่ดีของมหาวิทยาลัยในภาพรวม โดยดําเนินการท่ีครอบคลุม

ปจจัยองคประกอบดังตอไปนี้

1. ความมุงม่ันต้ังใจของผูบริหาร (Management Commitment)

2. การมีสวนรวมของบุคลากร (Employee Involvement)

3. การส่ือสารอยางเปดเผย (Open Communication)

4. การเรียนรูและการฝกอบรม (Learning and Training)

5. การจัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพ (Development of Improvement Plan) ขอบเขตการดําเนินงาน ขอบเขตการดําเนินงานตามระบบบริหารจัดการคุณภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตนี้ รอบคลุม

การดําเนินงานสองระดับคือ

1. ระดับมหาวิทยาลัย

2. ระดับหนวยงานประกอบดวยหนวยงานหลัก 14 หนวยงาน และศูนยการศึกษา 6 ศูนย ดังนี้

2.1 คณะครุศาสตร

2.2 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

Page 18: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

13

2.3 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

2.4 คณะวิทยาการจัดการ

2.5 คณะพยาบาลศาสตร

2.6 โรงเรียนการเรือน

2.7 โรงเรียนการทองเที่ยวและการบริการ

2.8 บัณฑิตวิทยาลัย

2.9 สํานักงานอธิการบดี

2.10 สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.11 สํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน

2.12 สํานักกิจการพิเศษ

2.13 สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม

2.14 สถาบันวิจัยและพัฒนา

2.15 ศูนยหัวหิน

2.16 ศูนยสุพรรณบุรี 2.17 ศูนยนครนายก

2.18 ศูนยลําปาง 2.19 ศูนยพิษณุโลก

2.20 ศูนยตรัง เปาหมาย เปาหมายการดําเนินงานของแผนปฏิบัติการตามระบบบริหารจัดการคุณภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

สวนดุสิตในแตละปงบประมาณ มีรายละเอียดดังนี้

1. เปาหมายของปงบประมาณ พ.ศ. 2554

1.1 กลุมเรียนรูหลักระดับมหาวิทยาลัย (CLG-U) และกลุมเรียนรูหลักระดับหนวยงาน (CLG-A)

ไดรับการพัฒนาเก่ียวกับการเปนผูตรวจประเมินภายใน (Internal Assessor) ตามแนวทางของ EdPEx และ

เรียนรูรวมกันเพื่อใหสามารถวิเคราะหประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานตามองคประกอบคุณภาพและให

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามแนวทางของ EdPEx ได

1.2 มหาวิทยาลัยมีคูมือระบบบริหารจัดการคุณภาพเพ่ือใชเปนแนวทางการดําเนินงานของหนวยงาน ในชวงปงบประมาณ พ.ศ. 2554 – 2556

1.3 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีรายงานประเมินตนเอง (Self Assessment – SA) ระดับ

มหาวิทยาลัย ตามเกณฑ EdPEx ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2554 ได 1 เลม และหนวยงานหลัก 14 หนวยงาน

รวมถึงศูนยการศึกษา 6 ศูนย สามารถจัดทํารายงานประเมินตนเองระดับหนวยงานตามเกณฑ EdPEx ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2554 ไดหนวยงานละ 1 เลม

1.4 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตสามารถจัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพ (Improvement Plan)

ระดับมหาวิทยาลัย สําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ได 1 เลม และหนวยงานหลัก 14 หนวยงาน รวมถึงศูนย

การศึกษา 6 ศูนย สามารถจัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพระดับหนวยงาน สําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ได

หนวยงานละ 1 เลม

Page 19: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

14

2. เปาหมายของปงบประมาณ พ.ศ. 2555

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และหนวยงานหลัก 14 หนวยงาน รวมถึงศูนยการศึกษา 6 ศูนย สามารถ

ประเมินระดับพัฒนาการของตนเองได

2.1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตสามารถจัดทํารายงานประเมินตนเอง (Self Assessment –

SA) ระดับมหาวิทยาลัย ตามเกณฑ EdPEx ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ได 1 เลม และหนวยงานหลัก 14

หนวยงาน รวมถึงศูนยการศึกษา 6 ศูนย สามารถจัดทํารายงานประเมินตนเองระดับหนวยงานตามเกณฑ

EdPEx ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ไดหนวยงานละ 1 เลม

2.2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตสามารถจัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพ (Improvement Plan)

ระดับมหาวิทยาลัย สําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ได 1 เลม และหนวยงานหลัก 14 หนวยงาน รวมถึงศูนย

การศึกษา 6 ศูนย สามารถจัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพระดับหนวยงาน สําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ได

หนวยงานละ 1 เลม

3. เปาหมายของปงบประมาณ พ.ศ. 2556

3.1 มหาวิทยาลัยมีการดําเนินงานตามเกณฑคุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการท่ีเปนเลิศ

(Education Criteria for Performance Excellence – EdPEx) ทั่วทั้งองคกร

3.2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตและหนวยงานหลัก 14 หนวยงาน รวมถึงศูนยการศึกษา 6

ศูนย มีการเทียบเคียงผลการดําเนินงานกับคูแขงหลัก

3.3 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตสามารถจัดทํารายงานประเมินตนเอง (Self Assessment –

SA) ระดับมหาวิทยาลัย ตามเกณฑ EdPEx ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ได 1 เลม และหนวยงานหลัก 14

หนวยงาน รวมถึงศูนยการศึกษา 6 ศูนย สามารถจัดทํารายงานประเมินตนเองระดับหนวยงานตามเกณฑ

EdPEx ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ไดหนวยงานละ 1 เลม

3.4 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตสามารถจัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพ (Improvement Plan)

ระดับมหาวิทยาลัย สําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ได 1 เลม และหนวยงานหลัก 14 หนวยงาน รวมถึงศูนย

การศึกษา 6 ศูนย สามารถจัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพระดับหนวยงาน สําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ได

หนวยงานละ 1 เลม

หมายเหตุ : รายงานการประเมินตนเองท้ังระดับมหาวิทยาลัยและระดับหนวยงานในแตละปตอง

สามารถแสดงผลการดําเนินงานตามเกณฑ EdPEx และตอบตัวช้ีวัดตามเกณฑคุณภาพของสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการ

มหาชน) (สมศ.) และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) รวมถึงการดําเนินงานตามคํารับรอง

การปฏิบัติราชการของหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตไดในขณะเดียวกัน

กลไกการดําเนินงาน

1. กลุมเรียนรูหลักระดับมหาวิทยาลัย (CLG-U) และระดับหนวยงาน (CLG-A) ทําหนาที่เปนกลไก

สําคัญที่จะสนับสนุนและสงเสริมการดําเนินงานตามระบบบริหารจัดการคุณภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวน

ดุสิต รวมถึงเช่ือมโยงการดําเนินงานกับหนวยงานหลักที่เก่ียวของ ซึ่งไดแก กองนโยบายและแผน และงาน

ประกันคุณภาพ เพื่อใหการดําเนินงานท่ัวทั้งมหาวิทยาลัยมีความเปนเอกภาพ

Page 20: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

15

2. การดําเนินงานของกลุมเรียนรูหลัก (CLG-U) จะอยูภายใตคําแนะนําและการสนับสนุนของ

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลงานของมหาวิทยาลัย และมีรองศาสตราจารยแพทยหญิง

นันทนา ศิริทรัพย และศาสตราภิชานไกรฤทธิ์ บุณยเกียรติ เปนที่ปรึกษา

3. การเรียนรูรวมกันระหวางกลุม CLG-A เปนกลไกสําคัญของการพัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพ

องครวมของมหาวิทยาลัย กิจกรรมการดาํเนนิงาน

1. กระบวนการหลักในการดําเนนิงานตามระบบบริหารจัดการคุณภาพ 1.1 หนวยงานหลัก 14 หนวยงานและศูนยการศึกษา 6 ศูนยตามที่กําหนด นํารายงานการ

ประเมินตนเอง (Self Assessment – SA) ตามแนวทางของ EdPEx ที่ไดจัดทําไวในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 มา

วิเคราะหเพื่อหาจุดออนและโอกาสในการปรับปรุง (Opportunity for Improvement –OFI) พรอมกับจัดทําแผน

ปรับปรุงคุณภาพ (Improvement Plan)

1.2 จัดทํา/ปรับปรุงแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยนําแผนปรับปรุง

คุณภาพมาเปนฐานในการจัดทําแผน (สําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2554 ซึ่งไดมีการจัดทําแผนปฏิบัติการไปแลว

หากหนวยงานทบทวนการดําเนินงานตามแนวทางของ EdPEx แลวเห็นวาควรปรับโครงการและกิจกรรมใน

แผนปฏิบัติการ ใหหนวยงานสามารถดําเนินการไดโดยตองไมเกินวงเงินที่ไดรับจัดสรรในปงบประมาณ พ.ศ.

2554)

1.3 ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการโดยกําหนดรูปแบบการดําเนินการในแตละหมวดที่เหมาะสม

กับโครงรางองคการผนวกกับแนวทางตามเกณฑคุณภาพของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.) และสํานักงาน

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) (ดูตารางแสดงความสอดคลองของตัวช้ีวัดของหนวยงานดังกลาว

กับเกณฑ EdPEx แนบทาย)

1.4 จัดเก็บขอมูลผลการดําเนินงานเปนรายเดือน โดยในป พ.ศ. 2554 หนวยงานแตละแหง

จัดเก็บขอมูลของตนเอง โดยจะมีระบบคูขนานท่ีเก็บขอมูลในระบบ e-Office เปนระบบทดลองต้ังแตเดือน

กุมภาพันธ 2554 เปนตนไป

1.5 หนวยงานจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment – SA) ในรูปแบบตามเกณฑ

EdPEx เปนหลัก โดยใหมีขอมูลการดําเนินงานท่ีสามารถตอบตัวช้ีวัดตามเกณฑคุณภาพของสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการ

มหาชน) (สมศ.) และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ที่หนวยงานรับผิดชอบในแตละ

หมวดตามความเหมาะสม

2. กระบวนการสนับสนุนการดําเนินงานตามระบบบริหารจัดการคุณภาพ

มีปจจัยองคประกอบสําคัญตามที่ระบุในวัตถุประสงค 6 ประการ ดังนี้

2.1 ความมุงม่ันต้ังใจของผูบริหาร (Management Commitment)

2.2 การมีสวนรวมของบุคลากร (Employee Involvement)

2.3 การส่ือสารอยางเปดเผย (Open Communication)

2.4 การเรียนรูและการฝกอบรม (Learning and Training)

2.5 การจัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพ (Development of Improvement Plan)

Page 21: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

16

2.6 การประเมินผล (Follow-up)

ซึ่งแตละปจจัยองคประกอบดังกลาวมีคําอธิบายและกิจกรรมการดําเนินงานคือ

2.1 ความมุงม่ันต้ังใจของผูบริหาร (Management Commitment) หมายถึงผูบริหารระดับสูงมี

ความมุงม่ันที่สามารถมองเห็นเปนที่ประจักษตอการพัฒนาโดยนําระบบบริหารจัดการคุณภาพตามเกณฑ

EdPEx เขามาใชในหนวยงานที่ตนเองกํากับดูแล และใชผลการประเมินตามแนวทางของเกณฑมาปรับปรุง

คุณภาพการดําเนินงานอยางตอเนื่อง โดยดําเนินการ ดังนี้

2.1.1 รองอธิการบดีทําหนาที่ใหคําปรึกษา แนะนํา กํากับ ดูแลเก่ียวกับการนําระบบ

บริหารจัดการคุณภาพของมหาวิทยาลัยไปใชในหนวยงานในความรับผิดชอบ

2.1.2 หัวหนาหนวยงานทุกหนวยงานทําหนาที่เปนหัวหนากลุมเรียนรูหลัก (CLG-A) ของ

หนวยงานตนเอง

2.1.3 ผูบริหารทบทวนความเขาใจเก่ียวกับเกณฑ EdPEx และตัวช้ีวัดตามเกณฑของ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา

(องคการมหาชน) (สมศ.) และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) อยางบูรณาการในรูปแบบ

การฝกอบรมและหรือการเรียนรูดวยตนเอง

2.1.4 ส่ือสารใหบุคลากรในหนวยงานท่ีอยูในกํากับดูแลตระหนักถึงความสําคัญ ความ

จําเปน และแนวทางการดําเนินงานตามระบบบริหารจัดการคุณภาพของมหาวิทยาลัย

2.1.5 สนับสนุนการดําเนินงานของหนวยงานในการกํากับดูแลตามระบบบริหารจัดการ

คุณภาพของมหาวิทยาลัย

2.1.6 ติดตามผลการดําเนินงานของหนวยงานในกํากับดูแล และวิเคราะหภาพรวมการ

ดําเนินงานของหนวยงานในกํากับดูแลเสนอมหาวิทยาลัยเม่ือส้ินปงบประมาณ

2.2 การมีสวนรวมของบุคลากร (Employee Involvement) หมายถึง การที่บุคลากรทุกระดับรวม

คิด รวมปฏิบัติงาน รวมเรียนรู และรวมปรับปรุงงานตามแนวทางบริหารจัดการคุณภาพของมหาวิทยาลัยอยาง

บูรณาการ โดยดําเนินการ ดังนี้

2.2.1 กลุมเรียนรูหลักระดับมหาวิทยาลัย (CLG-U) ทําหนาที่อํานวยความสะดวก และจัด

กิจกรรมสนับสนุนการเรียนรูของกลุมเรียนรูหลักระดับหนวยงาน (CLG-A) เพื่อกลุมเรียนรูหลักระดับหนวยงาน

(CLG-A)จะไดเปนกลไกสําคัญในการผลักดันใหเกิดการดําเนินงานบริหารจัดการคุณภาพในหนวยงานของ

ตนเอง

2.2.2 กลุมเรียนรูหลักระดับหนวยงาน (CLG-A) ทําหนาท่ีผลักดัน ประสานงาน จัดการให

หนวยงานของตนเองมีระบบบริหารจัดการคุณภาพตามแนวทางของมหาวิทยาลัย และสงเสริมใหมีการเรียนรูทั่ว

ทั้งองคกรในเร่ืองที่เก่ียวของ

2.2.3 บุคลากรกลุมงานประกันคุณภาพ ทําหนาที่

2.2.3.1 รวมเปนกลุมเรียนรูหลักระดับมหาวิทยาลัย (CLG-U) เพื่อสนับสนุน

การดําเนินงานตามระบบบริหารจัดการคุณภาพของมหาวิทยาลัยอยางบูรณาการ

2.2.3.2 จัดทําขอมูลพื้นฐาน Common Data Set ระดับมหาวิทยาลัยโดยประสานงานกับแหลงขอมูลกลาง เชน

กองบริหารงานบุคคล หรือศูนยขอมูลกลางและจัดสงหนวยงานในมหาวิทยาลัยภายในเดือนมกราคมของทุกป

Page 22: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

17

2.2.3.3 ประสานงานและอํานวยความสะดวกเก่ียวกับการจัดเก็บขอมูล การ

รายงานผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัดของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานรับรอง

มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.) ที่บูรณาการเขาไปในรายงานตามเกณฑ

EdPEx รวมทั้งการประเมินคุณภาพภายในและการรับการประเมินคุณภาพภายนอก

2,2,3,4 จัดสงขอมูลการประกันคุณภาพภายในเขาระบบฐานขอมูลดานการ

ประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา (CHE QA Online System) ของสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา

2.2.4 บุคลากรกองนโยบายและแผน ทําหนาที่

2.2.4.1 รวมเปนกลุมเรียนรูหลักระดับมหาวิทยาลัย (CLG-U) เพื่อสนับสนุนการ

ดําเนินงานตามระบบบริหารจัดการคุณภาพของมหาวิทยาลัยอยางบูรณาการ

2.2.4.2 ประสานงานและอํานวยความสะดวกเก่ียวกับการจัดเก็บขอมูล การ

รายงานผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัดของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ที่บูรณาการ

เขาไปในรายงานตามเกณฑ EdPEx รวมทั้งการรองรับ Site Visit ของสํานักงาน ก.พ.ร.

2.3 การส่ือสารอยางเปดเผย (Open Communication) หมายถึงการส่ือสาร อยางตรงไป ตรงมา

กลาที่จะเสนอแนะอยางสรางสรรค และพรอมจะเปดใจรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นไดในขณะเดียวกัน เพื่อให

เกิดการเรียนรูส่ิงใหมอยูเสมอ เพื่อนํามาปรับปรุงการปฏิบัติงานใหดีขึ้น การสื่อสารอยางเปดเผยใชหลัก เปด

ความคิด เปดใจ และเปดพลัง (Open Mind, Open Heart, Open Will) โดยดําเนินการ ดังนี้

2.3.1 หนวยงานจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment - SA) อยาง

ตรงไปตรงมา โดยเปดความคิด และเปดใจในการรับสภาวะที่เกิดขึ้นจริงโดยไมเขาขางตนเอง

2.3.2 กลุมเรียนรูหลักระดับมหาวิทยาลัย (CLG-U) จัด Forum เพื่อสงเสริมการเรียนรูจาก

การใหคําปรึกษาของผูทรงคุณวุฒิ และการเรียนรูขามหนวยงาน

2.4 การเรียนรูและการฝกอบรม (Learning and Training) หมายถึง การแปรเปล่ียน

ความสามารถของบุคคลใหเปนความสามารถขององคกรโดยการเรียนรูไดดวยตนเอง (Self Directed) จากการ

ปฏิบัติงาน (Work Based Learning) และโดยผูอื่น แลวนํามาปรับปรุงการดําเนินงานของตนเองอยางตอเนื่อง

โดยดําเนินการ ดังนี้

2.4.1 ทบทวนการใหความรูเบื้องตนเก่ียวกับเกณฑ EdPEx จํานวน 1 คร้ัง โดยกลุมเปาหมาย

หลัก คือ ผูบริหารและบุคลากรของมหาวิทยาลัยที่ยังไมเคยเขารับการอบรมเก่ียวกับเกณฑ EdPEx/TQA

2.4.2 จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวขอ Internal Organizational Assessor (IOA) ใหกับ

กลุมเรียนรูหลักระดับหนวยงาน (CLG-A) เพื่อใชเปนพื้นฐานการเรียนรูไดดวยตนเองดวยการฝกเปนผูตรวจ

ประเมินภายใน ที่สามารถประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานและใหขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาตาม

แนวทางของ EdPEx ได

2.4.3 จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวขอ Writing Report และจัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

เพื่อใหหนวยงานสามารถเรียนรู ฝกฝน และแลกเปล่ียนประสบการณ เพื่อใหสามารถจัดทํารายงานประเมิน

ตนเอง (Self Assessment – SA) โดยเรียนรูจากการปฏิบัติการเขียนรายงาน

Page 23: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

18

2.4.4 กลุมเรียนรูหลักระดับมหาวิทยาลัย (CLG-U) ซึ่งเคยเขารวมการอบรม/สัมมนาเก่ียวกับ

EdPEx/TQA ที่จัดโดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ นําความรูจากการอบรมมาใชเพื่อการอํานวยความสะดวกใน

การปฏิบัติงานของกลุมเรียนรูหลักระดับหนวยงาน (CLG-A) เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพ่ิมพูนประสบการณ

รวมทั้งการเรียนรูของตนเอง

2.5 การจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ (Development of Improvement Plan) หมายถึง การ

ดําเนินการท่ีตอเนื่องจากการประเมินตนเอง โดยนําโอกาสในการปรับปรุง (Opportunity for Improvement –

OFI) ที่ไดจากผลการประเมินตนเองมาวางแผนเพ่ือการพัฒนาใหดีย่ิงขึ้น โดยดําเนินการ ดังนี้

2.5.1 หนวยงานประเมินตนเองเมื่อส้ินปงบประมาณแตละป เพื่อหาโอกาสในการปรับปรุง

(OFI) แลวนํา OFI มาจัดทําแผนพัฒนาหนวยงานรายหมวดสําหรับปงบประมาณตอไป โดยกําหนดผูรับผิดชอบ

ที่ชัดเจน

2.5.2 หนวยงานประเมินตนเองอยางตอเนื่องทุกรอบป

2.6 การประเมินผล (Follow-up) หมายถึงการติดตามผลการพัฒนางานอันเนื่องมาจากการ

ดําเนินงานตามระบบบริหารจัดการคุณภาพของหนวยงานท่ีกําหนดเพื่อรายงานมหาวิทยาลัย โดยดําเนินการ

ดังนี้

2.6.1 การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานจะยึดรูปแบบรายงานการประเมินตนเอง

(Self Assessment – SA) ตามเกณฑ EdPEx เปนหลัก โดยทั้งระดับมหาวิทยาลัยและระดับหนวยงานตองจัดทํา

รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment – SA) เม่ือส้ินสุดปงบประมาณ

2.6.2 เม่ือหนวยงานจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment – SA) ตามเกณฑ

EdPEx แลว ทีมงานซ่ึงประกอบดวยกลุมเรียนรูหลักระดับมหาวิทยาลัย(CLG-U) และบางสวนจากกลุมเรียนรู

หลักระดับหนวยงานจะสังเคราะหผลการประเมินตนเองของแตละหนวยงาน แลวนําเสนอผลการประเมินตอ

มหาวิทยาลัย

กระบวนการ

โครงรางองคกรสภาพแวดลอม ความสัมพันธ และความทาทาย

๑.การนําองคกร

๒.การวางแผนเชิงกลยุทธ

๓.การมุงเนนลูกคา

๕.การมุงเนนผูปฏิบัติงาน

๖.การจัดการกระบวนการ

๗.ผลลัพธ

๔.การวัดวิเคราะหและการจัดการความรู

ผลการวิเคราะหSA ป ๕๓

ทบทวนการดาํเนินงานตามแนว EdPEx (workshop)

จัดทํา Improvement Plan (Workshop)

จัดทํา SA ป ๕๔ (ADLI)

DB 

ดําเนินการตามแผน

CDS

MIS

เปาหมาย

แผนปฏิบัติการ ๕๔

•พัฒนาผูตรวจประเมินภายใน•พัฒนาคูมือ•SA ๕๔•แผนปรับปรุงคุณภาพ

•ประเมินระดับพัฒนาการ•SA ๕๕•แผนปรับปรุงคุณภาพ ๕๖

•เทียบเคียง•SA ๕๕•แผนปรับปรุงคุณภาพ ๕๖

BEG

INNIN

GIN

TERMED

IATE

๕๔

๕๕

๕๖

แผนกลยุทธ๕๒-๕๖

๑.๑,๘.๑,๙.๑

๒.๑,๓.๒,๔.๑,๕.๑,๕.๒,๖.๑

๒.๒, ๒.๓,๔.๓,๗.๑-๗.๔,

๒.๔,

๒.๕,๔.๒,๗.๒,๗.๓,

๒.๖,๒.๗,๒.๘,๓.๑,

๗.๑,๗.๔ ๔.๑.๑,๔.๑.๓,,๕.๑,๕.๒,

หมายเหตุ-ตัวเลขสีดํา เปนตัวชี้วัด สกอ.สีแดงเปนตัวชี้วัดของก.พ.ร.

Page 24: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

20

แผนการดาํเนินงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2554 – 2556

Page 25: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

20

บทที่ 1 การประเมินคุณภาพการศึกษาตามกรอบมาตรฐาน สกอ. และ สมศ.

ความจําเปนและวัตถุประสงคของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา

ภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะตองปฏิบัติมี 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัยการใหบริการ

ทางวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม การดําเนินการตามภารกิจทั้ง 4 ประการดังกลาว

มีความสําคัญอยางย่ิงตอการพัฒนาประเทศทั้งระยะส้ันและระยะยาว ปจจุบันมีปจจัยภายในและภายนอก

หลายประการท่ีทําใหการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเปนส่ิงจําเปนที่จะตองเรงดําเนินการ

ปจจัยดังกลาวคือ

1) คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตภายในประเทศ มีแนวโนมที่จะมีความแตกตางกันมาก

ขึ้น ซึ่งจะกอใหเกิดผลเสียแกสังคมโดยรวมของประเทศในระยะยาว

2) ความทาทายของโลกาภิวัตนตอการอุดมศึกษา ทั้งในประเด็นการบริการการศึกษาขามพรมแดน

และการเคล่ือนยายนักศึกษาและบัณฑิต อันเปนผลจากการรวมตัวของประเทศในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งทั้งสอง

ประเด็นตองการการรับประกันของคุณภาพการศึกษา

3) สถาบันอุดมศึกษามีความจําเปนที่จะตองสรางความม่ันใจแกสังคมวาสามารถพัฒนาองคความรู

และผลิตบัณฑิต ตอบสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศใหมากข้ึนไมวาจะเปนการสรางขีดความสามารถ

ในการแขงขันระดับสากล การพัฒนาภาคการผลิตจริงทั้งอุตสาหกรรมและบริการ การพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต

ความเปนอยูระดับทองถ่ินและชุมชน

4) สถาบันอุดมศึกษาจะตองใหขอมูลสาธารณะ (public information) ที่เปนประโยชน

ตอผูมีสวนไดสวนเสีย ทั้งนักศึกษา ผูจางงาน ผูปกครอง รัฐบาล และประชาชนท่ัวไป

5) สังคมตองการระบบอุดมศึกษาท่ีเปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียมีสวนรวม (participation)มีความ

โปรงใส (transparency) และมีความรับผิดชอบซึ่งตรวจสอบได (accountability) ตามหลักธรรมาภิบาล

6) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

กําหนดใหสถานศึกษาทุกแหงจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายใน รวมถึงใหมีสํานักงานรับรองมาตรฐาน

และประเมินคุณภาพการศึกษาทําหนาที่ประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประเมินผลการจัดการศึกษาของ

สถานศึกษา

7) คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศใชมาตรฐานการอุดมศึกษา เม่ือวันที่ 7สิงหาคม 2549 เพื่อ

เปนกลไกกํากับมาตรฐานระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหนวยงาน โดยทุก

หนวยงานระดับอุดมศึกษาจะไดใชเปนกรอบการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

8) กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เม่ือวันที่

12 พฤศจิกายน 2551 เพื่อเปนกลไกสงเสริมและกํากับใหสถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาใหมีมาตรฐานตาม

ประเภทหรือกลุมสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุม

9) กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เม่ือวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศแนวทางการ

ปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เม่ือวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เพื่อใหการจัด

Page 26: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

21

การศึกษาระดับอุดมศึกษาเปนไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อการประกันคุณภาพของบัณฑิตในแตละ

ระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา

ดวยความจําเปนดังกลาว สถาบันอุดมศึกษารวมกับตนสังกัดจึงจําเปนตองพัฒนาระบบและกลไกการ

ประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีวัตถุประสงคดังนี้

1) เพื่อตรวจสอบและประเมินการดําเนินงานของภาควิชา คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทา และ

สถาบันอุดมศึกษาในภาพรวม ตามระบบคุณภาพและกลไกที่สถาบันนั้นๆกําหนดขึ้น โดยวิเคราะหเปรียบเทียบ

ผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ในทุกองคประกอบคุณภาพวาเปนไปตามเกณฑและไดมาตรฐาน

2) เพื่อใหภาควิชา คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทาและสถาบันอุดมศึกษาทราบสถานภาพของตนเอง

อันจะนําไปสูการกําหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปสูเปาหมาย (targets) และเปาประสงค (goals) ที่ต้ัง

ไวตามจุดเนนของตนเองและเปนสากล

3) เพื่อใหภาควิชา คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทาและสถาบันอุดมศึกษาทราบจุดแข็งจุดที่ควรปรับปรุง

ตลอดจนไดรับขอเสนอแนะในการพัฒนาการดําเนินงานเพ่ือเสริมจุดแข็ง และพัฒนาจุดที่ควรปรับปรุงของ

สถาบันอยางตอเนื่อง

4) เพื่อใหขอมูลสาธารณะท่ีเปนประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย ทําใหม่ันใจวาสถาบันอุดมศึกษา

สามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพและไดมาตรฐานตามที่กําหนด

5) เพื่อใหหนวยงานตนสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหนวยงานที่เก่ียวของ มีขอมูลพื้นฐานท่ีจําเปน

สําหรับการสงเสริมสนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางที่เหมาะสม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกันคุณภาพการศึกษา

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ไดกําหนด

จุดมุงหมายและหลักการของการจัดการศึกษาท่ีมุงเนนคุณภาพและมาตรฐาน โดยกําหนดรายละเอียดไวใน

หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งประกอบดวย “ระบบการประกันคุณภาพภายใน” และ

“ระบบการประกันคุณภาพภายนอก” เพื่อใชเปนกลไกในการ

ผดุงรักษาคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา

การประกันคุณภาพภายใน เปนการสรางระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตามตรวจสอบและประเมิน

การดําเนินงานของสถานศึกษาใหเปนไปตามนโยบาย เปาหมายและระดับคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนดโดย

สถานศึกษาและหรือหนวยงานตนสังกัด โดยหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษากําหนดใหมีระบบการประกัน

คุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหน่ึงของกระบวนการบริหาร

การศึกษาท่ีตองดําเนินการอยางตอเนื่องมีการจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอ

ตอสภาสถาบัน หนวยงานตนสังกัดและหนวยงานท่ีเก่ียวของเพื่อพิจารณาและเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อ

นําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก

การประกันคุณภาพภายนอก เปนการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อใหมีการติดตามและ

ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยคํานึงถึงความมุงหมาย หลักการ และแนวการ

จัดการศึกษาในแตละระดับ ซึ่งประเมินโดย “สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา

(องคการมหาชน) หรือเรียกช่ือยอวา “สมศ.”พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่

2) พ.ศ.2545 ไดกําหนดใหสถานศึกษาทุกแหงตองไดรับการประเมินคุณภาพภายนอกอยางนอย 1 คร้ังในทุก

Page 27: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

22

รอบ 5 ปนับต้ังแตการประเมินคร้ังสุดทาย และเสนอผลการประเมินตอหนวยงานที่เก่ียวของและสาธารณชน ซึ่ง

สมศ. ไดดําเนินการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ. 2544-2548) เสร็จส้ินไปแลว ปจจุบันอยูระหวาง

ประเมินคุณภาพภายนอกรอบท่ีสอง (พ.ศ. 2549-2553) และการเตรียมการประเมินคุณภาพภายนอกรอบท่ีสาม

(พ.ศ. 2554-2558) ในการประเมินรอบที่สามของ สมศ. เปนการประเมินทั้งระดับสถาบันและคณะวิชา แตหาก

สถาบันใดจัดการศึกษานอกสถานท่ีต้ังหลัก การประเมินจะครอบคลุมการจัดการนอกสถานที่ต้ังหลักทั้งหมด

นอกจากน้ันการประเมินคุณภาพจะมีความสอดคลองกับจุดเนนหรือกลุมสถาบันที่แตละสถาบันเลือกตาม

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

รูปแบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกจะเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดโดยสํานักงานรับรอง

มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) ซึ่งมีหลักการ

สําคัญ 5 ประการ ดังตอไปนี้

1) เปนการประเมินเพื่อมุงใหมีการพัฒนาคุณ ภาพการศึกษา ไมไดมุงเนนเร่ืองการตัดสินการจับผิด

หรือการใหคุณ – ใหโทษ

2) ยึดหลักความเที่ยงตรง เปนธรรม โปรงใส มีหลักฐานขอมูลตามสภาพความเปนจริง(evidence –

based) และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได (accountability)

3) มงเนนในเร่ืองการสงเสริม และประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตรมากกวาการกํากับควบคุม

4) สงเสริมการมีสวนรวมในการประเมินคุณภาพและการพัฒนาการจัดการศึกษาจากทุกฝายที่

เก่ียวของ

5) มุงสรางความสมดุลระหวางเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุงหมายและหลักการศึกษาของชาติตามที่

กําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ใหเอกภาพเชิงนโยบาย แตยังคงมีความหลากหลาย

ในทางปฏิบัติ โดยสถาบันสามารถกําหนดเปาหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหเต็มตามศักยภาพ

ของสถาบันและผูเรียน กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565)

กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) ไดกําหนดแนวทางการพัฒนาและ

แกปญหาอุดมศึกษาท่ีไรทิศทาง ซ้ําซอน ขาดคุณภาพ และขาดประสิทธิภาพโดยใชกลไกการประเมินคุณภาพ

และมาตรฐานการศึกษาเปนกลไกหลักในการดําเนินการกลาวคือ ใหมีการสรางกลไกการประเมิน

คุณภาพสถาบันอุดมศึกษาตามพันธกิจของสถาบันในแตละกลุมซึ่งมีพื้นที่บริการและจุดเนนระดับ

การศึกษาท่ีตางกัน รวมทั้งมีพันธกิจและบทบาทในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศตางกันตามความ

หลากหลาย ทั้งการพัฒนาฐานราก สังคม เศรษฐกิจรวมถึงการกระจายอํานาจในระดับทองถ่ิน การขับเคล่ือน

ภาคการผลิตในชนบท ทองถ่ินและระดับประเทศจนถึงการแขงขันในโลกาภิวัตนซึ่งระบบอุดมศึกษาแตละกลุม

เหลานี้ จะนําไปสูการเปล่ียนแปลงอุดมศึกษา และสงผลกระทบที่เปนประโยชนตอประเทศอยางมีนัยสําคัญ อาทิ

สามารถสรางความเปนเลิศไดตามพันธกิจของตัวเอง สามารถตอบสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศดีขึ้น

สงผลเชิงบวกตอการผลิต พัฒนาและการทํางานของอาจารย สามารถปรับจํานวนของบัณฑิตในสาขาท่ีเปน

ความตองการของสังคม ลดการวางงาน โดยที่สถาบันอุดมศึกษาในกลุมเหลานี้มีกลไกรวมกันในการประกัน

คุณภาพ เพื่อใหนักศึกษาสามารถตอยอด ถายโอนแลกเปล่ียนกันไดระหวางกลุม และในระยะยาวการประเมิน

คุณภาพควรนําไปสูระบบรับรองวิทยฐานะ(accreditation)ที่นักศึกษาและสาธารณะใหความเช่ือถือเปนฐานและ

เงื่อนไขในการจัดสรรงบประมาณของรัฐและการสนับสนุนจากภาคเอกชน รวมทั้งการโอนยายหนวยกิต

Page 28: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

23

จากกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปดังกลาว กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศ

กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ในป 2551 กําหนดประเภทหรือกลุมสถาบันอุดมศึกษา

เปน 4 กลุม คือ

กลุม ก วิทยาลัยชุมชน หมายความถึง สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตระดับตํ่ากวาปริญญาตรีจัด

ฝกอบรมสนองตอบความตองการของทองถ่ิน เพื่อเตรียมกําลังคนท่ีมีความรูเขาสูภาคการผลิตจริงในชุมชน

สถาบันสนับสนุนรองรับการเปล่ียนอาชีพพื้นฐาน เชน แรงงานที่ออกจากภาคเกษตร เปนแหลงเรียนรูที่สงเสริม

ใหประชาชนไดมีโอกาสเรียนรูตลอดชีวิตอันจะนําไปสูความเขมแข็งของชุมชนและการพัฒนาท่ีย่ังยืน

กลุม ข สถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี หมายความถึง สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตระดับปริญญา

ตรี เพื่อใหไดบัณฑิตที่มีความรูความสามารถเปนหลักในการขับเคล่ือนการพัฒนาและการเปล่ียนแปลงในระดับ

ภูมิภาค สถาบันมีบทบาทในการสรางความเขมแข็งใหกับหนวยงาน ธุรกิจและบุคคลในภูมิภาค เพื่อรองรับการ

ดํารงชีพ สถาบันอาจมีการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาโทดวยก็ได

กลุม ค สถาบันเฉพาะทาง หมายความถึงสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุม

สาขาวิชา ทั้งสาขาวิชาทางวิทยาศาสตรกายภาพ วิทยาศาสตรชีวภาพ สังคมศาสตรหรือมนุษยศาสตร รวมทั้ง

สาขาวิชาชีพเฉพาะทาง สถาบันอาจเนนการทําวิทยานิพนธหรือการวิจัย หรือเนนการผลิตบัณฑิตที่มีความรู

ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชีพระดับสูง หรือเนนทั้งสองดานรวมท้ังสถาบันอาจมี

บทบาทในการพัฒนาภาคการผลิตจริงทั้งอุตสาหกรรมและบริการ สถาบันในกลุมนี้อาจจําแนกไดเปน 2 ลักษณะ

คือ ลักษณะที่ 1 เปนสถาบันที่เนนระดับบณัฑิตศึกษา และลักษณะที่ 2 เปนสถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี กลุม ง สถาบันที่เนนการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะ

ระดับปริญญาเอก หมายความถึง สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญา

เอก และเนนการทําวิทยานิพนธและการวิจัยรวมถึงการวิจัยหลังปริญญาเอก สถาบันเนนการผลิตบัณฑิตที่เปน

ผูนํา ทางความคิดของประเทศ สถาบันมีศักยภาพในการขับเคล่ือนอุดมศึกษาไทยใหอยูในแนวหนาระดับสากล

มุงสรางองคความรูทฤษฎี และขอคนพบใหมทางวิชาการ

ดังนั้น การประกันคุณภาพการศึกษาจึงตองสรางกลไกการประเมินคุณภาพใหสอดรับกับการแบงกลุม

สถาบันอุดมศึกษา 4 กลุมดังกลาว การประกันคุณภาพกับมาตรการศึกษา

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวด 5

ที่วาดวยการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ไดกําหนดให คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาที่

พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติ และสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทาง

วิชาการของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงไดจัดทํามาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใชเปน

กลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหนวยงาน เพื่อนําไปสูการกําหนดนโยบาย

การพัฒนาการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาตอไป มาตรฐานการอุดมศึกษาที่จัดทําขึ้นฉบับนี้ไดใชมาตรฐาน

การศึกษาของชาติที่เปรียบเสมือนรมใหญเปนกรอบในการพัฒนา โดยมีสาระสําคัญที่ครอบคลุมเปาหมายและ

หลักการของการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทยและเปนมาตรฐานที่คํานึงถึงความหลากหลายของกลุม

หรือประเภทของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อใหทุกสถาบันสามารถนําไปใชกําหนดพันธกิจและมาตรฐานของการ

ปฏิบัติงานได

Page 29: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

24

มาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2549

ประกอบดวยมาตรฐาน 3 ดาน ไดแก มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานดานการบริหารจัดการการ

อุดมศึกษา และมาตรฐานดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู มาตรฐานยอยทั้ง 3

ดานน้ี อยูในมาตรฐานการศึกษาของชาติที่ประกอบดวยมาตรฐานยอย 3 มาตรฐานเชนกัน คือ มาตรฐานท่ี 1

คุณลักษณะของคนไทยท่ีพึงประสงค ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ 3 แนวการสรางสังคมแหงการเรียนรู/สังคมแหงความรู แตละมาตรฐานยอยของมาตรฐานการ

อุดมศึกษาจะมีความสอดคลองและสัมพันธกับมาตรฐานยอยของมาตรฐานการศึกษาของชาติ เพื่อใหการพัฒนา

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาบรรลุตามจุดมุงหมายและหลักการของการจัดการศึกษาของชาตินอกเหนือจาก

มาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีเปนมาตรฐานแมบทแลว คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดทํามาตรฐาน

สถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2551 เพื่อนําไปสูการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตาม

กลุมสถาบันที่ มีปรัชญา วัตถุประสงค และพันธกิจในการจัดต้ังที่แตกตางกันไดอยางมี

ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประกอบดวยมาตรฐานหลัก 2 ดาน คือ มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอมใน

การจัดการศึกษา และมาตรฐานดานการดําเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และกําหนดกลุม

สถาบันอุดมศึกษาเปน 4 กลุม ไดแก กลุม ก วิทยาลัยชุมชน กลุม ข สถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี กลุม ค

สถาบันเฉพาะทาง และกลุม ง สถาบันที่เนนการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับ

ปริญญาเอก นอกจากน้ัน ยังไดจัดทํากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อให

เปนไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อเปนการประกันคุณภาพบัณฑิตในแตละระดับคุณวุฒิและสาขา โดย

กําหนดใหคุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา ตองเปนไปตามมาตรฐานผลการเรียนรูอยางนอย 5

ดาน คือ ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ และดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะกรรมการการอุดมศึกษายังไดกําหนดเกณฑมาตรฐานอื่น ๆ อาทิ เกณฑมาตรฐานหลักสูตร

ระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑการขอเปดและดําเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล

หลักเกณฑการกําหนดช่ือปริญญา หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเก่ียวกับการพิจารณาประเมินคุณภาพการจัด

การศึกษานอกสถานที่ต้ังของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสงเสริมใหสถาบันอุดมศึกษาไดพัฒนาดานวิชาการและ

วิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหมีความ

ทัดเทียมกันและพัฒนาสูสากล ซ่ึงทําใหสถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยางยืดหยุน คลองตัว และ

ตอเนื่องในทุกระดับการศึกษา ตลอดจนสะทอนใหเห็นถึงมาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา

เพื่อใหการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและไดมาตรฐานตามท่ีกําหนดท้ัง

มาตรฐานการศึกษาระดับชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และสัมพันธกับมาตรฐาน

และหลักเกณฑที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาอื่น ๆ รวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จึง

จําเปนตองมีระบบประกันคุณภาพที่พัฒนาขึ้นภายตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และ

วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ทั้งนี้ ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษา หลักเกณฑที่

เก่ียวของ และการประกันคุณภาพการศึกษา สามารถแสดงในแผนภาพที่ 1.1

Page 30: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

25

แผนภาพที่ 1.1 ความเช่ือมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพ

มาตรฐานการศึกษาของชาติ

มาตรฐานท่ี 1

คุณลักษณะของคนไทยท่ีพึง

ประสงคท้ังในฐานะพลเมือง

และพลโลก

มาตรฐานท่ี 2

แนวทางการจัดการศึกษา มาตรฐานท่ี 3

แนวการสรางสังคมแหง

การเรียนรู/สังคมแหงความรู

มาตรฐาน

การอุดมศึกษา มาตรฐาน

ดานคุณภาพบณัฑิต

มาตรฐานดานการบริหาร

จัดการการอุดมศึกษา

มาตรฐานดานการสรางและพัฒนา

สังคมฐานความรู

และสังคมแหงการเรียนรู

หลักเกณฑกํากับ

มาตรฐาน รวมถึง

มาตรฐานสถาบันอุดม

ศึกษาและกรอบ

มาตรฐานคุณวฒุิระดับ

อุดมศึกษาแหงชาติ

การประกันคุณภาพภายใน ภายใตตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพ 9 ดาน

ผลผลิตทางการศึกษาท่ีไดคุณภาพ

Page 31: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

26

การประกันคุณภาพการศกึษาภายใน

กอนมีประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ทบวงมหาวิทยาลัยไดตระหนักดีถึง

ความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาโดยไดจัดทําประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เร่ือง นโยบายและแนว

ปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษามาต้ังแตป พ.ศ. 2539 เพื่อเปนแนวทางในการประกัน

คุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา ตามหลักการสําคัญ 3 ประการ คือ การใหเสรีภาพทางวิชาการ

(academic freedom) ความมีอิสระในการดําเนินการของสถาบัน (institutional autonomy) และความพรอมของ

สถาบันที่จะรับการตรวจสอบคุณภาพจากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได

(accountability)

ตอมาพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ไดระบุให

หนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดให มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบกับ

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และกฎกระทรวงแบงสวนราชการ

กําหนดใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐาน

การอุดมศึกษาท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ สนับสนุน

ทรัพยากร ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคํานึงถึงความเปนอิสระ

และความเปนเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญา ตามกฎหมายวาดวยการจัดต้ังสถานศึกษาแตละ

แหงและกฎหมายท่ีเก่ียวของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหนาที่รวมกับสถานศึกษาในการจัดให

มีระบบการประกันคุณภาพภายในโดยมีรายละเอียดดังนี้ กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา

หลังจากที่พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 มีผลบังคับใช สํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ในฐานะหนวยงานตนสังกัดที่ทําหนาที่กํากับดูแลสถาบันอุดมศึกษา ได

เสนอระบบการประกันคุณภาพการศึกษาใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อใหสอดคลองกับเจตนารมณแหง

พระราชบัญญัติฉบับดังกลาว ซึ่งคณะรัฐมนตรีในการประชุมเม่ือวันที่ 21 มีนาคม 2543 ไดมีมติเห็นชอบกับ

ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ซึ่งตอมา

ไดจัดทําเปนประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง ระบบ หลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2545 เพื่อใชเปนแนวปฏิบัติ สาระสําคัญของประกาศฉบับนี้ระบุให

ทบวงมหาวิทยาลัยสนับสนุนและสงเสริมสถาบันอุดมศึกษาจัดทําระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งใหมีการประเมินผลและติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาจากภายใน หรือโดยหนวยงานตนสังกัดที่มี

หนาที่กํากับดูแลสถาบันการศึกษาเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการประเมินคุณภาพจากภายนอก รวมถึง

สนับสนุนใหมีการแตงต้ังคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาขึ้นในแตละคณะวิชาหรือ

สถาบันอุดมศึกษา เพื่อกําหนดนโยบาย หลักเกณฑ แนวทาง วิธีการตรวจสอบและประเมินระบบกลไกและ

ประเมินผลการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของแตละคณะวิชาหรือสถาบันอุดมศึกษา

หลังจากดําเนินการตามประกาศฉบับป พ.ศ. 2545 ไประยะหนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษาจึงไดจัดทํากฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

Page 32: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

27

สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2546 เพื่อใหเปนไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไข

เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 5 และมาตรา 47 วรรคสอง โดยสาระสําคัญเก่ียวกับระบบและกลไกการ

ประกันคุณภาพการศึกษาภายในของกฎกระทรวงฉบับนี้ยังคงไวตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัยฯ ฉบับ พ.ศ.

2545 ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดถือปฏิบัติมาอยางตอเนื่องตอมาในป 2553

กระทรวงศึกษาธิการไดออกกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2553 แทนฉบับเดิมโดยรวมการประกันคุณภาพภายในและ

ภายนอกของการศึกษาทุกระดับไวในฉบับเดียวกัน มีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาทํา

หนาที่หลัก 2 ประการคือ 1)วางระเบียบหรือออกประกาศกําหนดหลักเกณฑและแนวปฏิบัติเก่ียวกับการประกัน

คุณภาพในระดับอุดมศึกษา เพื่อสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา โดย

ความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ2)เสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก

สถานศึกษาโดยนําผลการประเมินคุณภาพท้ังภายในและภายนอกไปปรับปรุงคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง

นอกจากนี้ ยังมีการปรับเปล่ียนใหระบบการประกันคุณภาพภายในประกอบดวย การประเมินคุณภาพ การติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพและกําหนดในหนวยงานตนสังกัดจัดใหมีการติดตามตรวจสอบคุณภาพ

การศึกษาอยางนอยหนึ่งในทุกสามปและแจงผลใหสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมท้ังเปดเผยการติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตอสาธารณชน

หลักเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

หลักเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงใหพิจารณาจากประเด็นตอไปนี้

1) ระบบและกลไกการประกันคุณภาพของคณะวิชาหรือสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคํานึงถึง

มาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด

2) ผลการปฏิบัติงานของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบและกลไกการประกัน

คุณภาพที่กําหนดไว

3) ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดําเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ที่สงผลตอ

คุณภาพการศึกษาตามตัวบงชี้คุณภาพการศึกษา

วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงใหใชแนวปฏิบัติดังนี้

1)ใหคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดใหมีหนวยงานหรือคณะกรรมการท่ี

รับผิดชอบการดําเนินการดานการประกันคุณภาพขึ้น โดยมีหนาที่พัฒนา บริหารและติดตามการดําเนินการ

ประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหนวยงานภายนอก เพื่อใหเกิดความม่ันใจวาการจัดการศึกษาจะ

เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

2)ใหคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อใช

กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษาใหมีประสิทธิภาพภายใตกรอบนโยบายและหลักการที่

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด

3)ใหคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาดําเนินการตามระบบการประกันคุณภาพ

ภายใน โดยถือเปนสวนของกระบวนการบริหารการศึกษา ใหคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดใหมี

ระบบและกลไกควบคุมคุณภาพขององคประกอบตางๆ ที่ใชในการผลิตบัณฑิต ดังนี้ (1) หลักสูตรการศึกษาใน

Page 33: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

28

สาขาวิชาตางๆ (2) คณาจารยและระบบการพัฒนาคณาจารย (3) ส่ือการศึกษาและเทคนิคการสอน

(4) หองสมุดและแหลงการเรียนรูอื่น (5) อุปกรณการศึกษาตาง ๆ (6) สภาพแวดลอมในการเรียนรูและบริการ

การศึกษา(7) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักศึกษา (8) องคประกอบอื่นตามที่แตละ

สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร

ทั้งนี้ แตละคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอาจจัดใหมีระบบการติดตามตรวจสอบ

คุณภาพการศึกษาตามที่เห็นสมควร โดยใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสงเสริมและสนับสนุนใหมี

การพัฒนาดานการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับคณะวิชาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอยางตอเนื่อง

การรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษา

ระบบการประกันคุณภาพภายในถือเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีคณะวิชาและ

สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตองดําเนินการอยางมีระบบและตอเนื่อง สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตองจัดทํา

รายงานประจําปที่เปนรายงานการประเมินคุณภาพภายในเสนอตอสภา หนวยงานตนสังกัด และหนวยงานท่ี

เก่ียวของเพื่อพิจารณาและเปดเผยตอสาธารณชน โดยใหสอดคลองกับเจตนารมณและแนวทางของ

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

การติดตามตรวจสอบของตนสังกัด ใหหนวยงานตนสังกัดของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดใหมีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาน้ันอยางนอยหน่ึงในทุกสามปและแจงผลใหสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตอสาธารณชน แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระบบการประกันคุณภาพศึกษา

สถาบันอุดมศึกษาอาจพัฒนาระบบประกันคุณภาพท่ีเหมาะสมสอดคลองกับระดับการพัฒนาของ

สถาบัน โดยอาจเปนระบบประกันคุณภาพที่ใชกันแพรหลายในระดับชาติหรือนานาชาติ หรือเปนระบบเฉพาะท่ี

สถาบันพัฒนาขึ้นเอง แตไมวาจะเปนระบบคุณภาพแบบใดจะตองมีกระบวนการทํางานท่ีเร่ิมตนจากการ

วางแผน การดําเนินงานตามแผน การตรวจสอบประเมิน และการปรับปรุงพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อใหการดําเนินภารกิจ

ของสถาบันบรรลุเปาประสงคและมีพัฒนาการอยางตอเนื่อง ขณะเดียวกันก็เปนหลักประกันแกสาธารณชนให

ม่ันใจวาสถาบันอุดมศึกษาสามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ

มาตรฐาน ตัวบงชี้และเกณฑประเมินคุณภาพ

มาตรฐานเปนกรอบสําคัญในการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาคือ มาตรฐานการอุดมศึกษา

อยางไรก็ตาม ในปจจุบันสถาบันอุดมศึกษาตาง ๆ ยังตองดําเนินการใหไดตามมาตรฐานและหลักเกณฑอื่นๆ ที่

เก่ียวของอีกมาก เชน มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เกณฑ

มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบัติ

ราชการตามมิติดานตาง ๆ ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของ

รัฐ เปนตน

ตัวบงช้ีเปนขอกําหนดของการประกันคุณภาพภายในที่พัฒนาขึ้นในองคประกอบคุณภาพ 9 ดาน ที่มี

ความครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการอุดมศึกษาและพันธกิจสนับสนุนไดแก(1)ปรัชญา ปณิธาน

วัตถุประสงคและแผนดําเนินการ(2) การผลิตบัณฑิต (3) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา(4) การวิจัย (5) การ

Page 34: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

29

บริหารทางวิชาการแกสังคม (6)การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม(7) การบริหารและการจัดการ (8) การเงิน

และงบประมาณและ(9) ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ซึ่งตัวบงชี้ดังกลาวสามารถชี้วัดคุณลักษณะที่พึง

ประสงคตามมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานและหลักเกณฑอื่น ๆ ที่เก่ียวของกับองคประกอบคุณภาพนั้นๆ ได

ทั้งหมด ดังนั้น ในบทที่ 3 ของคูมือฉบับนี้จึงไดพัฒนาตัวบงชี้ที่สถาบันอุดมศึกษาจําเปนตองใชประเมินคุณภาพ

ภายใน ทั้งตัวบงชี้ที่ใชประเมินปจจัยนําเขากระบวนการและผลผลิตหรือผลลัพธนอกจากน้ีตัวบงชี้ที่ใชประเมิน

กระบวนการยังไดนําเสนอตัวอยางแนวทางปฏิบัติเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานไวดวยในบทท่ี 4 ทั้งนี้ เพื่อ

ประโยชนของสถาบันอุดมศึกษาในการนําตัวบงชี้ดังกลาวไปใช

เกณฑการประเมินเปนมาตรวัดของแตละตัวบงช้ี ซึ่งพัฒนาจากเกณฑและแนวซ่ึงกําหนดโดย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือโดยหนวยงานท่ีเก่ียวของ อาทิ สมศ. เพื่อใหการประเมินคุณภาพ

การศึกษามีความสอดคลองไปในแนวทางเดียวกัน

กลไกการประกันคุณภาพ

ในดานของกลไกการประกันคุณภาพ ผูที่มีความสําคัญสงผลใหการดําเนินงานประสบความสําเร็จและ

นําไปสูการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องคือ คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบันที่จะตอง

ใหความสําคัญและกําหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาท่ีชัดเจนและเขาใจรวมกันทุกระดับ โดย

มอบหมายใหหนวยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุนใหเกิดการ

พัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง หนาที่สําคัญประการหน่ึงของคณะกรรมการหรือหนวยงานน้ี คือ การจัดระบบ

ประกันคุณภาพพรอมทั้งตัวบงช้ีและเกณฑการประเมินคุณภาพท่ีเหมาะสมสําหรับสถาบัน ระบบประกัน

คุณภาพท่ีใชตองสามารถเช่ือมโยงใหเกิดคุณภาพของการปฏิบัติงาน ต้ังแตระดับบุคคล ระดับภาควิชาหรือ

สาขาวิชา ระดับคณะวิชาไปจนถึงระดับสถาบัน โดยอาจจําเปนตองจัดทําคูมือคุณภาพในแตละระดับเพื่อกํากับ

การดําเนินงาน แตที่สําคัญคณะกรรมการหรือหนวยงานนี้ตองประสานงานและผลักดันใหเกิดระบบฐานขอมูล

และสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพซึ่งสามารถใชงานรวมกันไดในทุกระดับ

ระบบฐานขอมูลและระบบสารสนเทศ

การวิเคราะหและวัดผลดําเนินงานเปนส่ิงจําเปนในกระบวนการประกันคุณภาพ การวัดและวิเคราะห

ผลการดําเนินงานจะไมสามารถทําไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพหากปราศจากฐานขอมูลและระบบ

สารสนเทศที่เปนจริง ถูกตองตรงกันทุกระดับต้ังแตระดับบุคคล ภาควิชา คณะวิชา และสถาบัน ตลอดจนเปน

ขอมูลที่สามารถเรียกใชไดอยางรวดเร็ว ดังนั้น ระบบสารสนเทศท่ีดี มีประสิทธิภาพจึงเปนปจจัยสําคัญย่ิงที่จะ

สงผลตอความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา และสงผลตอคุณภาพในทุกขั้นตอนการดําเนินงานต้ังแต

การวางแผน การปฎิบัติงานประจํา การตรวจสอบประเมิน ตลอดจนถึงการปรับปรุงและพัฒนา

Page 35: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

30

การประกันคุณภาพการศกึษาภายนอก

การประเมินคุณภาพภายนอกเปนการประเมินการจัดการศึกษา เพื่อตรวจสอบคุณภาพของ

สถานศึกษาโดยหนวยงานหรือบุคคลภายนอกสถานศึกษา เพื่อมุงใหมีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษาใหดีย่ิงขึ้น ซึ่งตองเร่ิมตนจากการท่ีสถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายใน เพื่อ

วางแผนพัฒนาปรับปรุงคุณภาพของตนเอง ดําเนินการปรับปรุงคุณภาพ มีการกํากํากับติดตามคุณภาพ และมี

ระบบประเมินตนเองกอน ตอจากนั้นจึงรับการประเมินภายนอกโดย สมศ. ซึ่งจะดําเนินการโดยพิจารณาและ

ตรวจสอบจากผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา เพราะตางมุงสูมาตรฐานหรือคุณภาพท่ีคาดหวัง

ใหเกิดขึ้นแกผูเรียน โดยมีวัตถุประสงคของการประเมินคุณภาพภายนอก ดังนี้ วัตถุประสงคของการประเมิน วัตถุประสงคทั่วไป 1. เพื่อใหทราบระดับคุณภาพของสถานศึกษาในการดําเนินภารกิจดานตางๆ

2. เพื่อกระตุนเตือนใหสถานศึกษาพัฒนาคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการบริหารจัดการอยาง

ตอเนื่อง

3. เพื่อใหทราบความกาวหนาของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

4. เพื่อรายงานระดับคุณภาพและพัฒนาการในดานคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาตอ

สาธารณชนและหนวยงานที่เก่ียวของ วัตถุประสงคเฉพาะ 1. เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการดําเนินงานของสถานศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา

ตามมาตรฐานการศึกษา กรอบแนวทางและวิธีการที่ สมศ. กําหนด และสอดคลองกับระบบการประกันคุณภาพ

ของสถานศึกษาและหนวยงานตนสังกัด

2. เพื่อใหไดขอมูลที่ชวยสะทอนความแตกตางของแตละสถานศึกษาท่ีแสดงถึงอัตลักษณ รวมท้ัง

ผลสําเร็จการดําเนินการตามมาตรการสงเสริมของภาครัฐ

3. เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยพิจารณาจากผลผลิต ผลลัพธและ

ผลกระทบมากกวากระบวนการ

4. เพื่อสงเสริมใหสถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพและพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในอยาง

ตอเนื่อง

5. เพื่อสงเสริมใหสถานศึกษามีทิศทางที่สอดคลองกันในการประเมินคุณภาพภายนอกกับการประเมิน

คุณภาพภายใน

6. เพื่อสรางความรวมมือและมีเปาหมายรวมกัน ระหวางหนวยงานตนสังกัดและหนวยงานที่เก่ียวของ

รวมทั้งผูมีสวนไดสวนเสีย เปนการเชื่อมโยงการดําเนินงานสูการพัฒนาคุณภาพรวมกัน

7. เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและเผยแพรผลการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพการ

บริหารจัดการของสถานศึกษาอยางเปนรูปธรรมตอหนวยงานที่เก่ียวของและสาธารณชน

Page 36: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

31

ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. การบริหารจัดการรวมถึงการใชทรัพยาการของสถานศึกษาเปนไปอยางมีประสิทธิผล โดยทําใหการ

ผลิตบัณฑิตทุกระดับ การสรางผลงานวิจัย และการใหบริการวิชาการ เกิดประโยชนสูงสุด และตรงกับความ

ตองการของสังคมและประเทศ

2. สถานศึกษา หนวยงานบริหารการศึกษา และรัฐบาล มีขอมูลที่ถูกตองและเปนระบบในการกําหนด

นโยบาย วางแผน และบริหารจัดการการศึกษาเพื่อการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

3. สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องเขาสูระดับมาตรฐานสากลและมีความเปนเลิศทาง

วิชาการตามอัตลักษณของสถาบันอุดมศึกษา หลักการพัฒนาตัวบงช้ี 1. กําหนดตัวบงชี้ที่ มุงการประเมินผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบมากกวาปจจัยนําเขาและ

กระบวนการ

2. ใหความสําคัญกับลักษณะและประเภทของสถานศึกษา (ส่ิงที่มี ส่ิงที่เปนไปได และส่ิงที่เปนหัวใจ)

3. เนนตัวบงชี้ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ ทั้งเชิงบวกและลบ

4. ตระหนักถึงความสําคัญของปจจัย ขอจํากัด ตลอดจนวัฒนธรรม และความเปนไทย

5. ใหมีตัวบงช้ีพื้นฐานเทาที่จําเปน แตยังคงมีอํานาจจําแนก โดยเพ่ิมตัวบงช้ีอัตลักษณ และตัวบงช้ี

มาตรการสงเสริม

6. คํานึงความเชื่อมโยงระหวางการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก วัตถุประสงคของคูมือการประเมิน คูมือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา จัดทําขึ้นเพื่อใหรายละเอียดเก่ียวกับ

ระบบ หลักเกณฑและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อใชเปนเอกสารอางอิงในการปฏิบัติงานของ

สถานศึกษา โดยมีวัตถุประสงคดังนี้

1. เพื่อเปนแนวทางในการกําหนดตัวบงชี้ในการปฏิบัติงานของสถานศึกษา ใหครอบคลุมการประเมิน

ทุกดานตามพันธกิจ

2. เพื่อเปนแนวทางในการจัดเก็บขอมูลสําหรับการประเมินตามตัวบงช้ีใหเปนระบบ ครบถวน และ

สืบคนไดงาย สําหรับเตรียมการประเมินคุณภาพภายนอก

3. เพื่อเปนแนวทางในการประเมินตนเองของสถานศึกษากอนที่จะรับการประเมินคุณภาพภายนอก

โดยรูปแบบการเขียนรายงานการประเมินตนเองเปนไปตามที่หนวยงานตนสังกัดกําหนด

Page 37: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

32

การเชื่อมโยงระหวางการประกันคุณภาพการศกึษาภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก

ตามมาตรา 48 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

ระบุวา “ใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถือวา

การประกันคุณภาพภายในเปนสวนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดาเนินการอยางตอเนื่อง”

ในขณะท่ีมาตรา 49 ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมินคุณภาพภายนอกไววา “ใหมีสํานักงาน

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเปนองคการมหาชนทําหนาที่พัฒนาเกณฑ วิธีการ

ประเมินคุณภาพภายนอกและทําการประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อใหมีการตรวจสอบคุณภาพของ

สถานศึกษา”จากขอมูลขางตนจะเห็นวาการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนสวนหนึ่งของ

กระบวนการบริหารการศึกษาปกติที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปจจัยที่

เก่ียวของกับคุณภาพ มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานเพื่อนําไปสูการพัฒนาปรับปรุง

คุณภาพอยางสม่ําเสมอ ดวยเหตุนี้ระบบประกันคุณภาพภายในจึงตองดูแลทั้งปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ

(process) และผลผลิตหรือผลลัพธ (output/outcome)ซึ่งตางจากการประเมินคุณภาพภายนอกท่ีเนนการ

ประเมินผลการจัดการศึกษา ดังนั้น ความเช่ือมโยงระหวางการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพ

ภายนอกจึงเปนส่ิงจําเปน

ความสัมพันธระหวางการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก

การประเมินตนเองของสถาบัน

รายงานประจําป

การตรวจเยี่ยม รายงาน

ผลการประเมิน การติดตาม

ผล

ขอมูลปอนกลับ

การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก

การปฏิบัติงานของสถาบัน

ขอมูลปอนกลับ

ติดตามตรวจสอบโดยตนสังกัดทุก 3 ป

Page 38: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

33

บทที่ 2 กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณภาพ สกอ. และ สมศ.

กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในตามกรอบมาตรฐานคุณภาพ สกอ. 1.แนวทางการจัดการกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

จุดมุงหมายของการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในก็เพื่อตรวจสอบและประเมินการดําเนินงานของ

สถาบันตามระบบและกลไกท่ีสถาบันนั้นๆ ไดกําหนดขึ้น ทั้งนี้ เพื่อใหสถาบันไดทราบสถานภาพท่ีแทจริง อันจะ

นําไปสูการกําหนดแนวทางและพัฒนาคุณภาพตามเกณฑและมาตรฐานที่ต้ังไวอยางตอเนื่อง การประเมิน

คุณภาพที่มีประสิทธิภาพนั้น ทั้งคณะผูประเมินและสถาบันที่รับการประเมินจําเปนตองกําหนดบทบาทหนาที่

ของตนเองอยางเหมาะสมและสอดคลองกับกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพ

การศึกษา พ.ศ.2553

ทั้งนี้ สถาบันตองวางแผนจัดกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในใหเสร็จกอนส้ินปการศึกษา

ที่จะเร่ิมวงรอบการประเมิน เพื่อประโยชนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบัน ดังนี้

1) เพื่อใหสามารถนําผลการประเมินและขอเสนอแนะไปใชปรับปรุงและพัฒนาการจัดการศึกษาไดทัน

ในปการศึกษาถัดไป และต้ังงบประมาณไดทันกอนเดือนตุลาคม (กรณีที่เปนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ)

2) เพื่อใหสามารถจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานประเมินคุณภาพภายในสงใหสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษาและเผยแพรตอสาธารณชนไดภายใน 120 วัน นับจากวันส้ินปการศึกษาของแตละ

สถาบัน

เพื่อใหการประกันคุณภาพการศึกษาเกิดประโยชนดังที่กลาวขางตน จึงควรมีแนวทางการจัด

กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ดังปรากฏในตารางท่ี 2.1 ตารางดังกลาวสามารถแยกไดเปน 4

ขั้นตอนตามระบบการพัฒนาคุณภาพ PDCA คือ การวางแผน (plan)การดําเนินงานและเก็บขอมูล (do) การ

ประเมินคุณภาพ (check) และการเสนอแนวทางปรับปรุง

(act) โดยมีรายละเอียดดังนี้

P = กิจกรรมขอที่ 1 เร่ิมกระบวนการวางแผนการประเมินต้ังแตตนปการศึกษา โดยนําผลการประเมินป

กอนหนานี้มาใชเปนขอมูลในการวางแผนดวย กรณีที่มีการเปล่ียนแปลงระบบประกันคุณภาพหรือตัวบงชี้หรือ

เกณฑการประเมิน จะตองมีการประกาศใหทุกหนวยงานในสถาบันไดรับทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกันกอนเร่ิมป

การศึกษา เพราะตองเก็บขอมูลต้ังแตเดือนมิถุนายน

D = กิจกรรมขอที่ 2 ดําเนินงานและเก็บขอมูลบันทึกผลการดําเนินงานต้ังแตตนปการศึกษา คือเดือนที่

1–เดือนที่ 12 ของปการศึกษา (เดือนมิถุนายน–เดือนพฤษภาคม ปถัดไป)

C = กิจกรรมขอที่ 3–8 ดําเนินการประเมินคุณภาพในระดับภาควิชา คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทา

และสถาบัน ระหวางเดือนมิถุนายน–สิงหาคม ของปการศึกษาถัดไป

A = กิจกรรมขอที่ 9 วางแผนปรับปรุงและดําเนินการปรับปรุงตามผลการประเมินโดยคณะ

กรรมการบริหารของสถาบันอุดมศึกษานําขอเสนอแนะและผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ

ภายในมาวางแผนปรับปรุงการดําเนินงาน (รวมทั้งขอเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย) มาทําแผนปฏิบัติการ

Page 39: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

34

ประจําปและเสนอต้ังงบประมาณปถัดไป หรือจัดทําโครงการพัฒนาและเสนอใชงบประมาณกลางปหรือ

งบประมาณพิเศษก็ได

สําหรับกิจกรรมขอที่ 10 ในตารางดังกลาวเปนกิจกรรมที่สถาบันอุดมศึกษาทุกแหงตองดําเนินการตาม

กฎหมาย เพื่อประโยชนของสถาบันในการปรับปรุงคุณภาพ และเพื่อประโยชนของสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษาและหนวยงานตนสังกัดใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย เพื่อการสงเสริมสนับสนุน

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของชาติใหทัดเทียมกับนานาอารยะประเทศและมีความเปนสากล

Page 40: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

35

ตารางที่ 2.1 วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน

เปรียบเทียบปงบประมาณกับปการศึกษา ต.ค.- พค.

มิ.ย.

(เปดเทอม)

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

กิจกรรมดําเนินการ ต.ค.- พค. มิ.ย.

(เปดเทอม) ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1. สถาบันวางแผนการประเมินคุณภาพประจําป

การศึกษาใหมโดยประกาศตัวบงชี้กอนเริ่มตนปการศึกษา

ใหมและแจกคูมือการจัดทํา SAR (กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง

ตัวบงชี้ วิธีการและกําหนดการประเมินคุณภาพภายใน

ประจําป)

2. สถาบันเก็บขอมูลระยะ 12 เดือนตามตัวบงชี้ที่ได

ประกาศใชบนระบบ CHE QA Online (มีทีมงานให

คําปรึกษากับบุคลากร และหรือหนวยงาน และหรือภาควิชา

ในการเก็บขอมูลพรอมทั้งพิจารณาปรับปรุงการดําเนินการ

ตามความเหมาะสม)

ปงบประมาณ (ตค.- กย.) ปงบประมาณถัดไป

ปการศึกษา (มิ.ย. – พ.ค.)

พ.ค.- มิ.ย.

Page 41: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

36

กิจกรรมดําเนินการ ต.ค.- พค.

มิ.ย. (เปดเทอม)

ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

3. ภาควิชาหรือหนวยงานเทียบเทาจัดทํา SAR

และเตรียมการประเมินระดับภาควิชาหรือหนวยงาน

เทียบเทา และแตงตั้งกรรมการประเมินระดับภาควิชาและ

หนวยงานเทียบเทา

4. ประเมินระดับภาควิชาหรือหนวยงานเทียบเทา

5. คณะนําผลการประเ มินระดับภาควิชาหรือ

หนวยงานเทียบเทามาจัดทํา SAR บนระบบ CHE QA

Online และเต รียมการประ เ มินระ ดับคณะวิชาห รือ

หนวยงานเทียบเทา และแตงตั้งกรรมการประเมินระดับ

คณะวิชาและหนวยงานเทียบเทา

6. ประเมินระดับคณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทา

ระบบ CHE QA Online

7. สถาบันนําผลการประเมินระดับคณะวิชาหรือ

หนวยงานเทียบเทามาจัดทํา SAR ระบบ CHE QA Online

และเตรียมการประเมินระดับสถาบันและแตงตั้งกรรมการ

ประเมินระดับสถาบัน

Page 42: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

37

กิจกรรมดําเนินการ ต.ค.- พค.

มิ.ย. (เปดเทอม)

ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

8. ประเมินระดับสถาบันระบบ CHE QA Online

และนําผลการประเมินเสนอสภาสถาบันเพื่อพิจารณา

วางแผนพัฒนาสถาบันในปการศึกษาถัดไป

9. ผูบริหารของสถาบันอุดมศึกษานําผลการประเมิน

และขอเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

(รวมทั้งขอเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย) มาวางแผน

ปรับปรุงการดําเนินงาน หรือปรับแผนกลยุทธ/แผนปฏิบัติ

งานและเสนอตั้งงบประมาณปถัดไป หรือจัดทําโครงการ

พัฒนาและเสนอใชงบประมาณกลางป

10. สงรายงานประจําปที่เปนรายงานการประเมินคุณภาพภายใน (ประกอบดวย SAR และผลการประเมิน

คุณภาพภายในระดับคณะหรือหนวยงานเทียบเทาและ

ระดับสถาบัน) ในสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ผานระบบ CHE QA Online และหนวยงานตนสังกัด

(ภายใน 120 วันนับจากสิ้นปการศึกษา)

Page 43: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

38

2. ขั้นตอนการประเมินคุณภาพการศึกษา 2.1 การเตรียมการของสถาบันกอนการตรวจเย่ียมของผูประเมิน

2.1.1 การเตรียมรายงานประจําป ก. จัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานการประเมินคุณภาพภายใน โดยใชรูปแบบการจัดทํารายงาน

ประจําปที่เปนรายงานการประเมินคุณภาพภายในตามท่ีกําหนดในระบบฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพ

(CHE QA Online)ปจจุบันสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดพัฒนาระบบฐานขอมูลดานการประกัน

คุณภาพ (CHE QA Online) เปนฐานขอมูลกลางเพื่อใชประโยชนในเชิงนโยบายและการสงเสริมสนับสนุนการ

พัฒนาคุณภาพอุดมศึกษา ตลอดจนอํานวยความสะดวกใหกับสถาบันอุดมศึกษาในการดําเนินงานประกัน

คุณภาพการศึกษาผานทางระบบออนไลน ต้ังแตการจัดเก็บขอมูลพื้นฐาน (common data set) และ

เอกสารอางอิง การประเมินตนเอง การประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ รวมทั้งการจัดทํารายงาน

ประจําปที่เปนรายงานการประเมินคุณภาพภายในบนระบบฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส (e-SAR) รวมทั้งเปดเผยตอ

สาธารณะเพ่ือการคุมครองผูบริโภค โดยมีนโยบายใหสถาบันอุดมศึกษาทุกแหงในสังกัดใชฐานขอมูลดังกลาวใน

การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และจัดสงรายงานประจําปที่เปนรายงานการประเมินคุณภาพ

ภายในผานทางระบบออนไลนและเปดเผยตอสาธารณชนตามกฎหมาย

ข. จัดการเตรียมเอกสารหรือหลักฐานอางอิงในแตละองคประกอบคุณภาพ

1) เอกสารหรือหลักฐานอางอิงในแตละตัวบงชี้ตองเปนขอมูลในชวงเวลาเดียวกับที่นําเสนอในรายงาน

การประเมินตนเอง ตลอดจนสาระในเอกสารตองตรงกับช่ือเอกสารที่ระบุในรายงานการประเมินตนเอง

2) การนําเสนอเอกสารในชวงเวลาตรวจเย่ียมอาจทําไดในสองแนวทางคือ จัดเอกสารใหอยูในที่อยู

ปกติตามหนวยงาน ในกรณีนี้ตองระบุใหชัดเจนวาจะเรียกดูเอกสารไดจากผูใด หนวยงานไหน ชื่อหรือหมายเลข

เอกสารอะไร หรืออาจจัดในแนวทางท่ีสอง คือ นําเอกสารมารวมไวที่เดียวกันในหองทํางานของคณะผูประเมิน

โดยจัดใหเปนระบบท่ีสะดวกตอการเรียกใช การนําเสนอเอกสารในแนวทางน้ีเปนที่นิยมกวาแนวทางแรก เพราะ

สามารถเรียกหาเอกสารไดรวดเร็วและดูความเชื่อมโยงในเอกสารฉบับตางๆ ไดในคราวเดียว

ปจจุบัน เอกสารหรือหลักฐานอางอิงที่เก่ียวของกับตัวบงชี้แตละตัวและองคประกอบคุณภาพแตละ

องคประกอบสามารถบรรจุหรือจัดเก็บ (upload) หรือเช่ือมโยง(link) ไวบนระบบฐานขอมูลดานการประกัน

คุณภาพ (CHE QA Online) ซึ่งทําใหการจัดเก็บเปนระบบและงายตอการคนหาของคณะกรรมการประเมิน และ

ไมเปนภาระเร่ืองการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานของสถาบัน 2.1.2 การเตรียมบุคลากร ก. การเตรียมบุคลากรในสถาบัน ควรมีความครอบคลุมประเด็นตางๆดังตอไปนี้

1) ทําความเขาใจเก่ียวกับการประเมินคุณภาพในประเด็นที่สําคัญๆอาทิ การประเมินคุณภาพคืออะไร

มีความสําคัญตอการพัฒนาอยางไร ขั้นตอนการประเมินคุณภาพเปนเชนไร

2) เนนยํ้ากับบุคลากรในการใหความรวมมือการตอบคําถามหรือการสัมภาษณ โดยยึดหลักวาตอบ

ตามส่ิงที่ปฏิบัติจริงและผลที่เกิดขึ้นจริง

3) เปดโอกาสใหมีการอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น เพื่อสรางความกระจางในการดําเนินงาน

ของทุกหนวยงานในทุกประเด็น เพื่อความเขาใจที่ถูกตองของบุคลากร

4) เนนยํ้าใหบุคลากรทุกคนตระหนักวาการประกันคุณภาพ คือภารกิจประจําของทุกคนท่ีตองรวมมือ

กันทําอยางตอเนื่อง

Page 44: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

39

ข. การเตรียมบุคลากรผูประสานงานในระหวางการตรวจเย่ียมจําเปนตองมีบุคลากร จํานวน 1-3 คน

ทําหนาที่ประสานงานระหวางคณะผูประเมิน กับบุคคลหรือหนวยงานที่เก่ียวของ ทั้งนี้ ผูประสานงานควรเตรียม

ตัวดังนี้

1) ทําความเขาใจทุกกิจกรรมของแผนการประเมินอยางละเอียด

2) ทําความเขาใจอยางดีกับภารกิจของคณะวิชาและสถาบันเพื่อสามารถใหขอมูลตอผูประเมิน รวมทั้ง

ตองรูวาจะตองติดตอกับใครหรือหนวยงานใด หากผูประเมินตองการขอมูลเพิ่มเติมที่ตนเองไมสามารถตอบได

3) มีรายชื่อ สถานที่ หมายเลขโทรศัพทของผูที่คณะกรรมการประเมินจะเชิญมาใหขอมูลอยางครบถวน

4) ประสานงานลวงหนากับผูที่จะใหขอมูลที่เปนบุคลากรภายในและภายนอกสถาบันวาจะเชิญมา

เวลาใด หองใด หรือพบกับใครตามตารางการประเมินที่คณะกรรมการประเมินกําหนด

5) เม่ือมีปญหาในการอํานวยความสะดวกแกคณะผูประเมินจะตองสามารถประสานงานแกไขไดทันที 2.1.3 การเตรียมสถานที่สําหรับคณะผูประเมิน ก. หองทํางานของคณะผูประเมิน

1) จัดเตรียมหองทํางานและโตะที่กวางพอสําหรับวางเอกสารจํานวนมาก โดยเปนหองที่ปราศจากการ

รบกวนขณะทํางาน เพื่อความเปนสวนตัวของคณะกรรมการ

2) จัดเตรียมคอมพิวเตอร อุปกรณเคร่ืองเขียนในหองทํางานและอุปกรณเสริมอื่นๆ ใหคณะผูประเมิน

พรอมใชงานไดตามความตองการ

3) จัดเตรียมโทรศัพทพรอมหมายเลขท่ีจําเปนไวในหองทํางานหรือบริเวณใกลเคียง

4) หองทํางานควรอยูใกลกับที่จัดเตรียมอาหารวาง อาหารกลางวันตลอดจนบริการสาธารณูปโภคอื่นๆ

5) ควรประสานงานกับคณะผูประเมิน เพื่อทราบความตองการพิเศษอื่นใด เพิ่มเติม

ข. หองที่ใชสัมภาษณผูบริหาร อาจารย บุคลากร นักศึกษา ฯลฯ ควรจัดไวเปนการเฉพาะใหเหมาะสม

กับการใชงาน 2.1.4 การเตรียมการประสานงานกับทีมคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ก. สถาบันอุดมศึกษาจัดทําคําส่ังแตงต้ังและจัดสงใหคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

ทราบ ทั้งนี้ แนวทางการแตงต้ังคณะกรรมการประเมิน เปนดังนี้

1) คณะกรรมการประเมินระดับภาควิชาหรือหนวยงานเทียบเทา

- มีกรรมการประเมินฯ อยางนอย 3 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับขนาดของภาควิชาหรือหนวยงานเทียบเทา

- เปนผูประเมินจากภายนอกภาควิชาหรือหนวยงานเทียบเทาที่ผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมิน

ของ สกอ. อยางนอย 1 คน ในกรณีที่ผูประเมินจากภายนอกภาควิชาหรือหนวยงานทียบเทาเปนผูที่มีความรู

และประสบการณสูง ซึ่งสามารถใหคําแนะนําที่จะเปนประโยชนอยางย่ิงตอภาควิชาหรือหนวยงานเทียบเทาที่รับ

การประเมิน อาจอนุโลมใหไมตองผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ สกอ. ก็ได สวนผูประเมินจากภายใน

ภาควิชาหรือหนวยงานเทียบเทาตองผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ สกอ. หรือที่สถาบันจัดฝกอบรมให

โดยใชหลักสูตรของ สกอ.

- ประธานคณะกรรมการประเมินฯ เปนผูประเมินจากภายนอกภาควิชาหรือหนวยงานทียบเทา โดย

ตองเปนผูที่ผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ สกอ. หรือที่สถาบันจัดฝกอบรมใหโดยใชหลักสูตรของ สกอ.

Page 45: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

40

2) คณะกรรมการประเมินระดับคณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทา

- มีกรรมการประเมินฯ อยางนอย 3 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับขนาดของคณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทา

- เปนผูประเมินจากภายนอกสถาบันที่ผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ สกอ. อยางนอย 1

คน ในกรณีที่ผปูระเมินจากภายนอกสถาบันเปนผูที่มีความรูและประสบการณสูง ซึ่งสามารถใหคําแนะนําที่จะ

เปนประโยชนอยางย่ิงตอคณะที่รับการประเมินอาจอนุโลมใหไมตองผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ

สกอ. ก็ได สวนผูประเมินจากภายในสถาบันตองผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ สกอ. หรือที่สถาบันจัด

ฝกอบรมใหโดยใชหลักสูตรของ สกอ.

- ประธานคณะกรรมการประเมินฯ เปนผูประเมินจากภายในหรือนอกสถาบันก็ได ในกรณีที่เปนผู

ประเมินภายในสถาบันตองอยูนอกสังกัดคณะท่ีประเมิน โดยประธานตองเปนผูที่ขึ้นบัญชีประธานคณะกรรมการ

ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของ สกอ.

3) คณะกรรมการประเมินระดับสถาบัน

- มีกรรมการประเมินฯ อยางนอย 5 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับขนาดของสถาบัน

- เปนผูประเมินจากภายนอกสถาบันที่ผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ สกอ. อยางนอยรอย

ละ 50 สวนผูประเมินจากภายในสถาบันตองผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ สกอ. หรือที่สถาบันจัด

ฝกอบรมใหโดยใชหลักสูตรของ สกอ.

- ประธานคณะกรรมการประเมินฯ เปนผูประเมินจากภายนอกสถาบันที่ขึ้นบัญชีประธาน

คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของ สกอ.

ข. สถาบันอุดมศึกษาแจงใหคณะกรรมการประเมินคุณภาพทราบวาคณะกรรมการประเมินฯ จะตอง

ทําการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทาและระดับสถาบัน ผานทาง

ระบบ CHE QA Online พรอมทั้งจัดสง username และ password ใหคณะกรรมการประเมินฯ ทุกทานและทุก

ระดับทราบเพื่อเขาไปศึกษารายงานการประเมินตนเองลวงหนากอนวันรับการตรวจเย่ียมอยางนอย2 สัปดาห

โดยในสวนของผูทําหนาที่ประธานคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน

สถาบันอุดมศึกษาจะตองแจงใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดสงรหัสประจําตัว (ID code) ใหดวย

เพื่อใหประธานฯ ทําหนาที่ตรวจสอบและยืนยันความถูกตองของขอมูลพื้นฐาน (common data set) และผลการ

ประเมินกอนสงรายงานการประเมินคุณภาพของคณะกรรมการประเมินฯ เขาสูระบบนอกจากนั้น ใหสถาบันแจง

รายช่ือ ผูทําหนาที่ประสานงานระหวางสถาบันคณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทากับคณะกรรมการประเมินฯ

รวมทั้งเบอรโทรศัพทและ e-mailaddress สําหรับติดตอ

ค. ประสานงานกับประธานหรือตัวแทนของคณะกรรมการประเมินคุณภาพเพื่อรวมเตรียมแผนการ

ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน อาทิ การจัดตารางเวลาเขาตรวจเย่ียมการใหขอมูลที่คณะกรรมการประเมินฯ

ตองการเพิ่มเติมกอนการตรวจเย่ียม การนัดหมายตาง ๆเปนตน 2.2 การดําเนินการของสถาบันระหวางการตรวจเย่ียมเพ่ือประเมินคุณภาพ

1) เปดโอกาสใหบุคลากรทุกคนไดรวมรับฟงคณะกรรมการประเมินคุณภาพช้ีแจงวัตถุประสงคและ

วิธีการประเมินในวันแรกของการตรวจเย่ียม

2) บุคลากรพึงปฏิบัติงานตามปกติระหวางการตรวจเย่ียม แตเตรียมพรอมสําหรับการนําเย่ียมชม หรือ

ตอบถาม หรือรับการสัมภาษณจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพ

Page 46: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

41

3) จัดใหมีผูประสานงานทําหนาที่ตลอดชวงการตรวจเย่ียม ทั้งนี้ เพื่อประสานงานกับบุคคลหรือ

หนวยงานที่คณะกรรมการประเมินฯ ตองการขอมูลและเพื่อนําการเย่ียมชมหนวยงานภายใน ตลอดจนอํานวย

ความสะดวกอื่นๆ

4) ในกรณีที่คณะกรรมการประเมินฯ ทํางานตอหลังเวลาราชการ ควรมีผูประสานงานสวนหนึ่งอยู

อํานวยความสะดวก

5) บุคลากรทุกคนควรไดมีโอกาสรับฟงการใหขอมูลปอนกลับจากคณะกรรมการประเมินฯเม่ือส้ินสุด

การตรวจเย่ียม ตลอดจนเปดโอกาสใหซักถามหรือขอความเห็นเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม 2.3 การดําเนินการของสถาบันภายหลังการประเมินคุณภาพ

1) ผูบริหารระดับภาควิชา คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทา และระดับสถาบันรวมทั้งผูเก่ียวของนําผล

การประเมินและขอเสนอแนะเขาสูการประชุมหรือสัมมนาระดับตางๆเพื่อวางแผนพัฒนาหรือปรับปรุงการดําเนิน

ภารกิจอยางเปนรูปธรรมตอไป โดยอาจจัดทําเปนแผนปฏิบัติการในการแกไขจุดที่ควรปรับปรุง และเสริมจุดแข็ง

ซึ่งประกอบดวยกิจกรรมที่ตองดําเนินการ กําหนดเวลาเร่ิมตนจนถึงเวลาส้ินสุดกิจกรรม งบประมาณสําหรับแต

ละกิจกรรมตลอดจนผูรับผิดชอบกิจกรรมเหลานั้น ทั้งนี้ เพื่อใหสามารถติดตามตรวจสอบผลการพัฒนาไดอยาง

ตอเนื่อง

2) พิจารณาการจัดกิจกรรมเสริมสรางขวัญและกําลังใจ โดยแสดงใหเห็นวาสถาบันชื่นชมผลสําเร็จที่

เกิดขึ้น และตระหนักวาผลสําเร็จทั้งหมดมาจากความรวมมือรวมใจของทุกฝาย

3) ภาควิชา คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทา และสถาบันควรใหขอมูลยอนกลับแกคณะกรรมการ

ประเมินคุณภาพเพื่อประโยชนในการพัฒนาผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายในตอไป

Page 47: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

42

กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกตามกรอบมาตรฐานคุณภาพ สกอ. กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก ประกอบดวย การจัดคณะผูประเมิน การเก็บรวมรวมขอมูลการ

ประเมินขั้นตอนการประเมิน การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของผูประเมิน และการติดตามผลการ

พัฒนาของสถานศึกษา ซึ่งมีมีรายละเอียดดังนี้

การจัดคณะผูประเมิน

ผูประเมินภายนอก หมายถึง บุคคลหรือหนวยงานที่ไดรับการรับรองจาก สมศ. ใหทําการประเมิน

ภายนอก(เพราะราชกฤษฏีกาจัดต้ัง สมศ. พ.ศ. 2553)

ผูประเมินภายนอกระดับอุดมศึกษา แบงออกเปน ผูประเมินภายนอกประเภทผูทรงคุณวุฒิรับเชิญ และ

ผูประเมินภายนอกประเภทอิสระ

ผูประเมินภายนอกประเภทผูทรงคุณวุฒิรับเชิญ คือ บุคคลที่ไดรับคัดเลือกโดยคณะกรรมการจากผูที่มี

คุณสมบัติเหมาะสมและเปนที่เช่ือถือและยอมรับในระดับอุดมศึกษาหรือเปนผูที่ไดรับการคัดเลือกจากรายช่ือที่

เสนอโดยองคกรของผูบริหารการศึกษาระดับอุดมศึกษาหรือองคกรอื่นตามหลักเกณฑที่สํานักงานกําหนด

1. คุณสมบัติของผูประเมินภายนอกใหเปนไปตามเกณฑของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน

คุณภาพการศึกษา(องคการมหาชน)

2. บทบาทหนาที่ของผูประเมินภายนอก

ในการประเมินคุณภาพภายนอกผูประเมินภายนอกตองปฏิบัติงานอยางมืออาชีพ โดยยึดถือบทบาทใน

ลักษณะ “เพื่อนรวมวิชาชีพ” และเปน “กัลยาณมิตร” กับสถานศึกษาและชุมชนที่ตางฝายตางเรียนรูซึ่งกันและ

กันหนาที่สําคัญของคณะผูประเมินภายนอก มีดังนี้

1) ตรวจเย่ียมสถานศึกษา สรางความเขาใจและเจตคติที่ถูกตองใหกับบุคลากรของสถานศึกษาและ

ผูเก่ียวของกับการประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2) รวบรวมขอมูลและตรวจสอบหลักฐานขอมูลเพื่อยืนยันความเปนจริงในการพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาตามที่สถานศึกษาไดรายงานไวในรายงานประเมินตนเอง และตามหลักฐานที่สะทอนสภาพความเปน

จริงที่ไมไดอยูในรายงานการประเมินตนเอง

3) ตรวจสอบกระบวนการและวิธีการที่สถานศึกษาใชในการไดมาซ่ึงขอมูลหลักฐานที่ระบุในรายงาน

การประเมินตนเองวามีความเหมาะสม ครอบคลุม และนาเช่ือถือเพียงใด

4) ตรวจสอบผลการพัฒนาเทียบเคียงกับเปาหมายหรือแผนพัฒนาของสถานศึกษา และมาตรฐาน

การศึกษาท่ี สมศ. กําหนดเพื่อการประเมินภายนอก รวมทั้งตรวจสอบเปาหมายหรือแผนพัฒนาท่ีสถานศึกษา

ควรดําเนินการตอไป เพื่อดูความสอดคลองกับผลการประเมิน

5) ประมวล วิเคราะหขอมูล และประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการประเมินภายนอก และ

ใหขอเสนอแนะแกสถานศึกษา เพื่อนําไปสูการพัฒนาการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพย่ิงขึ้น

6 )การใหความคิดเห็นเพิ่มเติมแก สมศ. วาควรใหการรับรองหรือไมรับรองคุณภาพของสถานศึกษา

หรือไมอยางไร

3. จรรยาบรรณของผูประเมินภายนอก

Page 48: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

43

ผูประเมินภายนอกตองปฏิบัติงานดวยความรับผิดชอบ โปรงใส ตรวจสอบได โดยยึดจรรยาบรรณ

ตอไปนี้เปนหลัก

1) ตองใหขอมูลแกผูรับการประเมินเทาที่จําเปนและในโอกาสที่เหมาะสม

2) มีความเที่ยงตรง ยุติธรรม โปรงใส มีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได

3) ตองไมประพฤติตนใหเส่ือมเสียตอช่ือเสียงของตนหรือตอช่ือเสียงของ สมศ.

4) รักษาความลับของขอมูลสารสนเทศสวนบุคคลและสถานศึกษาท่ีไดรับระหวางการตรวจเย่ียมและ

การประเมินคุณภาพภายนอกอยางเครงครัด

5) ไมรับและไมเรียกรองในส่ิงที่ไมเก่ียวของกับการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา เชน ไมรับ

อามิสสินจาง รางวัล ของกํานัล การตอนรับ การรับรอง และการอํานวยความสะดวกจากสถานศึกษาท่ีเกิดความ

จําเปน

6) ไมแสวงหาผลประโยชนใหตัวเองหรือผูอื่นไมวาโดยทางตรงหรือทางออมโดยใชขอมูลใดๆ ซึ่ง สมศ.

ยังไมเปดเผยตอสาธารณะ และไมดําเนินการใดๆ ในลักษณะที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอ

สํานักงานฯ

7) ปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมายอยางครบถวนสมบูรณโดยคํานึงถึงประโยชนที่อาจเกิดขึ้นกับผูเรียน

สถานศึกษา และประเทศเปนหลัก

ทั้งนี้ อาจมีการปรับเปล่ียนจรรยาบรรณของผูประเมินคุณภาพภายนอกตามความเหมาะสม การเก็บรวบรวมขอมูลการประเมิน การเก็บรวบรวมขอมูลถือเปนขั้นตอนที่สําคัญสําหรับการประเมินคุณภาพภายนอกซ่ึงสามารถทําได

หลายวิธีในที่นี้นําเสนอ 3 วิธี ไดแก

1. การศึกษาจากเอกสาร แหลงขอมูลเอกสาร ไดแก รายงานประจําปของสถานศึกษา รายงานการ

ประเมินตนเอง รายงานการประชุม รายงานวิจัยที่เก่ียวกับสถานศึกษาน้ันๆ เอกสารที่รายงานเก่ียวกับผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนของผูเรียน เปนตน ทั้งนี้อาจรวมถึงปายกระดาน แผนที่ เทปบันทึกเสียง วีดีทัศน เปนตน

2. การสัมภาษณ เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยดําเนินการสัมภาษณบุคคลเปาหมาย และบันทึก

ในที่นี้ หมายถึง สัมภาษณบุคลากรทางการศึกษา เชน ผูบริหารสถานศึกษา อาจารย นักศึกษา ผูใชนักศึกษาที่

สําเร็จการศึกษา เปนตน แหลงขอมูลที่เปนคนอาจมีจํานวนมาก ผูเก็บรวบรวมจึงตองคิดพิจารณาวาจะเลือก

เก็บรวบรวมจากใครจึงจะไดขอมูลที่นาเช่ือถือมากที่สุด ซึ่งการรวบรวมขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณอาจใชวิธีการ

สัมภาษณแบบเผชิญหนา การสัมภาษณทางโทรศัพท การสัมภาษณแบบหนึ่งตอหนึ่ง การสัมภาษณแบบกลุม

การสัมภาษณเชิงลึก เปนตน

3. การสังเกต เปนวิธีเก็บขอมูลโดยตรงจากปฏิกิริยา ทาทางของกลุมเปาหมาย หรือเหตุการณหรือ

ปรากฏการณหรือสภาพแวดลอมที่เกิดขึ้นในขณะใดขณะหน่ึง และจดบันทึกไวโดยไมมีการสัมภาษณ ไดแก

แหลงขอมูลดานกายภาพของสถานศึกษา แหลงขอมูลทางสังคมรอบๆ สถานศึกษา หรืออาจจะเปนการสังเกต

การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา เปนตน

ขั้นตอนการประเมิน

Page 49: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

44

การประเมินคุณภาพภายนอกมีการดําเนินงานตามขึ้นตอนที่สําคัญ ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ

ขั้นตอนท่ี 1 กอนการตรวจเย่ียมสถานศึกษา ขั้นตอนท่ี 2 ระหวางการตรวจเย่ียมสถานศึกษาและขั้นตอนท่ี 3

หลังการตรวจเย่ียมสถานศึกษา การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของผูประเมิน ในระหวางและภายหลังการประเมินสถานศึกษาของคณะผูประเมินภายนอก สมศ. จะดําเนินการ

กํากับดูแลคุณภาพ และประเมินผลงานของคณะผูประเมิน โดยอาศัยทั้งขอมูลยอนกลับจากสถานศึกษาที่ไดรับ

การประเมินและบุคคลอื่นที่เก่ียวของ วาผูประเมินไดปฏิบัติหนาที่อยางเหมาะสมตรงตามวัตถุประสงคและ

ขอกําหนดของ สมศ. หรือไมนอกจากนั้นยังมีการตรวจสอบคุณภาพของผูประเมินจากรายงานการประเมิน

คุณภาพภายนอกสถานศึกษาท่ีคณะผูประเมินจัดสงรายงานฯ มายัง สมศ. การติดตามผลการพัฒนาของสถานศึกษา การติดตามผลเปนขั้นตอนท่ีทําใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่องและนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและ

มาตรฐานการศึกษา การติดตามผลการพัฒนาของสถานศึกษาใหพิจารณาจากรายงานประจําปที่สถานศึกษา

แตละแหงตองดําเนินการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 แกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

และจากรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก โดยคณะผูประเมินภายนอกที่ สมศ.ใหการรับรอง รวมทั้งการ

ติดตามสงเสริม สนับสนุนประสาน เช่ือมโยงกับหนวยงานตนสังกัดในการประเมินคุณภาพภายใน ตลอดจนการ

พัฒนาสถานศึกษาตามขอเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอก นอกจากนี้ยังติดตามตรวจสอบวิจัยกรณี

ตัวอยางวาสถานศึกษาน้ันๆ ไดใชผลการประเมินในการปรับปรุงแกไขภายในระยะเวลาที่กําหนดหรือไม

Page 50: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

45

บทที่ 3 องคประกอบคุณภาพ ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมิน

องคประกอบคุณภาพ ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ หลักการ

สถาบันอุดมศึกษาแตละแหงมีปรัชญา ปณิธาน และจุดเนนที่อาจแตกตางกัน ดังนั้น จึงเปน

หนาที่ที่สถาบันจะกําหนดวิสัยทัศน แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําปใหชัดเจนและสอดคลองกับปรัชญา

ปณิธาน กฎหมาย และจุดเนนของสถาบัน ที่สนับสนุนภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาตามหลักการอุดมศึกษา

มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพ (ถามี) ตลอดจนสอดคลองกับกรอบแผน

อุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) และการเปล่ียนแปลงของกระแสโลก

ในกระบวนการกําหนดวิสัยทัศนและแผนกลยุทธ สภาสถาบันเปดโอกาสใหมีสวนรวมของสมาชิกทุกกลุมใน

สถาบัน และมีการถายทอดวิสัยทัศนและแผนกลยุทธที่กําหนดแลวใหรับทราบท่ัวกันทั้งอาจารย เจาหนาที่

นักศึกษา ตลอดจนผูที่มีสวนไดสวนเสีย เชน ผูปกครอง ชุมชน ผูใชบริการและสังคมโดยรวม มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ

1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

2. พระราชบัญญัติสถาบัน อุดมศึกษาของรัฐและเอกชน

3. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) สํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษา

4. มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2547 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

5. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

6. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2551 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

7. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 (Thai Qualification

Framework for Higher Education) (TQF: HEd.) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

8. หลักการอุดมศึกษา

ตัวบงช้ี จํานวน 1 ตัวบงชี้ คือ

1.1 กระบวนการพัฒนาแผน

ตัวบงช้ีที่ 1.1 : กระบวนการพัฒนาแผน

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : สถาบันอุดมศึกษามีพันธกิจหลัก คือ การเรียนการสอน การวิจัย การ

บริการทางวิชาการแก สังคม และการทํานุบํา รุง ศิลปะและวัฒนธรรม ในการดําเนินพันธกิจหลัก

สถาบันอุดมศึกษาจําเปนตองมีการกําหนดทิศทางการพัฒนาและการดําเนินงานของสถาบัน เพ่ือให สถาบัน

ดําเนินการสอดคลองกับอัตลักษณหรือจุดเนน มีคุณภาพ มีความเปนสากล และเจริญเติบโตอยาง ย่ังยืน ดังนั้น

สถาบันตองกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ตลอดจนมีการพัฒนาแผนกลยุทธและแผนดําเนินงาน เพื่อเปนแนวทางใน

Page 51: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

46

การดําเนินงานของสถาบัน ในการพัฒนาแผนกลยุทธ นอกเหนือจากการพิจารณาอัตลักษณหรือ

จุดเนนของสถาบันแลว จะตองคํานึงถึงหลักการอุดมศึกษา กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐาน

การศึกษาของชา ติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพที่เก่ียวของ ยุทธศาสตรดานตางๆ ของชาต

รวมถึงทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชา ติ และการเปล่ียนแปลงของ

กระแสโลก ทั้งนี้ เพื่อใหการดําเนินงานของสถาบันเปนไปอยางมีคุณภาพ เปนที่ยอมรับ และสามารถ ตอบสนอง

สังคมในทิศทางที่ถูกตองเหมาะสม เกณฑมาตรฐาน

1. มีการจัดทําแผนกลยุทธที่สอดคลองกับนโยบายของสภาสถาบัน โดยการมีสวนรวมของ

บุคลากรในสถาบัน และไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน โดยเปนแผนที่เช่ือมโยงกับปรัชญาหรือ ปณิธาน

และพระราชบัญญัติสถาบัน ตลอดจนสอดคลองกับจุดเนนของกลุมสถาบัน กรอบแผนอุดมศึกษา ระยะยาว 15

ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551 - 2565) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551 - 2554)

2. มีการถายทอดแผนกลยุทธระดับสถาบันไปสูทุกหนวยงานภายใน

3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธเปนแผนปฏิบัติการประจําปครบ 4 พันธกิจ คือ ดานการ

เรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปะและวฒันธรรม

4. มีตัวบงชี้ของแผนกลยุทธ แผนปฏิบัติการประจําป และคาเปาหมายของแตละ ตัวบง ชี้ เพื่อ

วัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป

5. มีการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจําปครบ 4 พันธกิจ 6. มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติการประจํา ป อยางนอยปละ 2

คร้ัง และรายงานผลตอผูบริหารเพื่อพิจารณา

7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของแผนกลยุทธ อยางนอยปละ 1 คร้ัง และ

รายงานผลตอผูบริหารและสภาสถาบันเพื่อพิจารณา

8. มีการนําผลการพิจารณา ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะของสภาสถาบันไปปรับปรุงแผนกล

ยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 หรือ 7 ขอ

มีการดําเนินการ

8 ขอ

Page 52: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

47

องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต หลักการ

พันธกิจที่สําคัญที่สุดของสถาบันอุดมศึกษา คือ การผลิตบัณฑิต หรือการจัดกิจกรรม การ

เรียนการสอนใหผูเรียนมีความรูในวิชาการและวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรที่กําหนด การเรียน การสอน

ในยุคปจจุบันใชหลักการของการจัดกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ดังนั้น พันธกิจ ดังกลาวจึงเก่ียวข

องกับการบริหารจัดการหลักสูตรและการเรียนการสอน เร่ิมต้ังแตการกําหนดปจจัยนําเขา ที่ไดมาตรฐานตามที่

กําหนด ประกอบดวย การมีอาจารยที่มีปริมาณและคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตรมีกระบวนการบริหารจัดการ

การเรียนการสอนท่ีอาศัยหลักการรวมมือรวมพลังของทุกฝายที่เก่ียวของทั้ง ภายในและภายนอกสถาบัน

ดังนั้น จึงจําเปนตองมีการวางระบบและกลไกการควบคุมคุณภาพขององคประกอบตางๆ ที่

ใชในการผลิตบัณฑิต ไดแก (ก) หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาตางๆ (ข) คณาจารยและระบบการพัฒนา

อาจารย (ค) ส่ือการศึกษาและเทคนิคการสอน (ง) หองสมุดและแหลงการเรียนรูอื่น (จ) อุปกรณการศึกษา (ฉ)

สภาพแวดลอมในการเรียนรูและบริการการศึกษา (ช) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียน ของ

นักศึกษา (ซ) องคประกอบอื่นตามท่ีแตละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร ตามที่กฎกระทรวง วาดวย

ระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 กําหนด มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ

1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชา ติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

2. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) สํานักงาน คณะกรรมการ

การอุดมศึกษา

3. มาตรฐานการศึกษาของชา ติ พ.ศ. 2547 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

4. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

5. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2551 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

6. ประกาศ ก.พ.อ. เร่ือง มาตรฐานของจรรยาบรรณที่พึงมีในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

7. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชา ติ พ.ศ. 2552 (Thai Qualification

Framework for Higher Education) (TQF: HEd.) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 8. กฎกระทรวง วาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553

กระทรวงศึกษาธิการ

9. แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชา ติ พ.ศ. 2552

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

10.เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 สํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา

11.มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สํานักงาน

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.)

Page 53: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

48

ตัวบงช้ี จํานวน 5 ตัวบงชี้ คือ

2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

2.2 อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

2.3 อาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ

2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

2.5 หองสมุด อุปกรณการศึกษา และสภาพแวดลอมการเรียนร

2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน

2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต

2.8 ระดับความสําเร็จของการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมที่จัดใหกับนักศึกษา ตัวบงช้ีที่ 2.1 : ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : สถาบันอุดมศึกษามีหนาที่พัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับปรัชญา

ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ และความพรอมของสถาบัน ตลอดจนสอดคลองกับความตองการทางดานวิชาการ

และวิชาชีพของสังคม มีการประเมินหลักสูตรอยางสม่ําเสมอตามหลักเกณฑและตัวบงชี้ของการประกันคุณภาพ

หลักสูตร มีการวางระบบและกลไกบริหารหลักสูตรอยางมีประสิทธิภาพและมีการปรับปรุงหลักสูตรใหทันตอการ

เปล่ียนแปลง เกณฑมาตรฐานทั่วไป

1. มีระบบและกลไกการเปดหลักสูตรใหมและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนด โดย

คณะกรรมการการอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

2. มีระบบและกลไกการปดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดยคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

3. ทุกหลักสูตรมีการดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และ

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชา ติ (การดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา

แหงชา ติ หมายถึง ตองมีการประเมินผลตาม "ตัวบงชี้ผลการดําเนินงานตามประกาศ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา

หรือสาขาวิชา เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน" กรณีที่ หลักสูตรใดยังไมมีประกาศ

มาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา ใหประเมินตามตัวบงชี้กลางท่ีกําหนดใน ภาคผนวก ก) สําหรับหลักสูตร

สาขาวิชาชีพตองไดรับการรับรองหลักสูตรจากสภาหรือองคกรวิชาชีพที่ เก่ียวของดวย

(หมายเหตุ : สําหรับหลักสูตรเกาหรือหลักสูตรปรับปรุงที่ยังไมไดดําเนินการตามกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติกอนปการศึกษา 2555 ใหยึดตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 )

4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการไดครบถวนทั้งขอ 1 ขอ 2 และขอ 3

ขางตนตลอดเวลาท่ีจัดการศึกษา และมีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอยางนอยตามกรอบเวลาท กําหนดใน

Page 54: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

49

เกณฑมาตรฐานหลักสูตรฯ กรณีหลักสูตรที่ดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแหงชา ติ

จะตองควบคุมกํากับใหการดําเนินงานตามตัวบงชี้ในขอ 3 ผานเกณฑการ ประเมิน 5 ขอแรกและอยางนอยรอย

ละ 80 ของตัวบงชี้ที่กําหนดในแตละ ป ทุกหลักสูตร

5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการไดครบถวนทั้งขอ 1 ขอ 2 และ ขอ

3 ขางตนตลอดเวลาท่ีจัดการศึกษา และมีการพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในขอ 4 กรณี

หลักสูตรที่ดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชา ติ จะตองควบคุมกํากับให การ

ดําเนินงานตามตัวบงชี้ในขอ 3 ผานเกณฑการประเมินครบ ทุกตัวบงชี้และทุกหลักสูตร เกณฑมาตรฐานเพ่ิมเติมเฉพาะกลุม

6. มีความรวมมือในการพัฒนาและบริหารหลักสูตรระหวางสถาบันกับภาครัฐหรือภาคเอกชน

ที่เก่ียวของกับวิชาชีพของหลักสูตร มากกวารอยละ 30 ของจํานวนหลักสูตรวิชาชีพทั้งหมดทุกระดับ การศึกษา

(เฉพาะกลุม ค1 และ ค2) หมายเหตุ

1. การนับหลักสูตรปริญญาโทแผน ก และปริญญาเอก ใหนับหลักสูตรที่มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนใน

รอบปการศึกษาท่ีทําการประเมิน สําหรับการนับหลักสูตรทั้งหมดใหนับหลักสูตรที่ไดรับอนุมัติใหเปดสอนทุก

ระดับปริญญา โดยนับรวมหลักสูตรที่งดรับนักศึกษา แตไมนับรวมหลักสูตรที่สภาสถาบันอนุมัติใหปดดําเนินการ

แลว

2. การนับจํานวนนักศึกษาในเกณฑมาตรฐานขอ 8 ใหนับตามจํานวนหัวนักศึกษาในปการศึกษาน้ันๆ

และนับทั้งนักศึกษาภาคปกติและภาคพิเศษ ทั้งในที่ต้ังและนอกที่ต้ัง

3. คณะกรรมการรับผิดชอบ หมายถึง คณะกรรมการที่รับผิดชอบในการเสนอหลักสูตรใหม หรือเสนอ

ปรับปรุงหลักสูตร หรือเสนอปดหลักสูตร และคณะกรรมการท่ีรับผิดชอบบริหารหลักสูตรใหเปนไปตาม

รายละเอียดหลักสูตรที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ ซึ่งอาจเปนชุดเดียวกันทั้งหมดหรือตางชุดก็ได เกณฑการประเมิน

1. เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ค1 ค2 และ ง คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

ครบ 5 ขอตาม

เกณฑทั่วไป และ

ครบถวนตามเกณฑ

มาตรฐานเพิ่มเติม

เฉพาะกลุม

Page 55: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

50

ตัวบงช้ีที่ 2.2 : รอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

ชนิดของตัวบงช้ี : ปจจัยนําเขา

คําอธิบายตัวบงช้ี : การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเปนการศึกษาระดับสูงสุดที่ต องการ

บุคลากรที่มีความรูความสามารถและความลุมลึกทางวิชาการ เพื่อปฏิบัติพันธกิจสําคัญของสถาบันในการ ผลิต

บัณฑิต ศึกษาวิจัยเพื่อการติดตามความกาวหนาทางวิชาการและการพัฒนาองคความ รู ดังนั้น สถาบัน จึงควร

มีอาจารยที่มีระดับคุณวุฒิทางการศึกษาในสัดสวนที่เหมาะสมกับพันธกิจหรือจุดเนนของสถาบัน เกณฑการประเมิน : สถาบันสามารถเลือกใชเกณฑการประเมินจาก 2 แนวทางตอไปนี้

1) แปลงคารอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปนคะแนนระหวาง

0 - 5 หรือ

2) แปลงคาการเพิ่มขึ้นของคารอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

เปรียบเทียบกับปที่ผานมาเปนคะแนนระหวาง 0 - 5 1. เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ข และ ค2

1) คารอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5

= รอยละ 30 ขึ้นไป หรือ

2) คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบ

กับปที่ผานมา ที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 6 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ 1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอก

รอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก =

2. แปลงคารอยละที่คํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนที่ได =

หรือ

1. คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปที่ผาน

มา= รอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกในปที่ประเมิน ลบดวย รอยละของอาจารยประจําที่มี

คุณวุฒิปริญญาเอกในปกอนหนาที่ประเมิน

2. แปลงคาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับป

ที่ผานมา ที่คํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

จํานวนอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก x 100

จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด

รอยละของอาจารยประจําที่มีวฒุิปริญญาเอก x 5

รอยละของอาจารยประจําที่มีวฒุิปริญญาเอกที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5

Page 56: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

51

คะแนนที่ได = หมายเหตุ

1. คุณวุฒิปริญญาเอก พิจารณาจากระดับคุณวุฒิที่ไดรับหรือเทียบเทาตามหลักเกณฑการพิจารณา

คุณวุฒิของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีที่มีการปรับวุฒิการศึกษาใหมีหลักฐานการสําเร็จการศึกษาภายในรอบป

การศึกษาน้ัน ทั้งนี้ อาจใชคุณวุฒิอื่นแทนคุณวุฒิปริญญาเอกไดสําหรับกรณีที่บางสาขาวิชาชีพ มีคุณวุฒิอื่นที่

เหมาะสมกวา ทั้งนี้ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา

2. การนับจํานวนอาจารยประจํา ใหนับตามปการศึกษาและนับทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ ใน

กรณีที่มีอาจารยบรรจุใหมใหคํานวณตามเกณฑอาจารยประจําที่ระบุในคําช้ีแจงเก่ียวกับการนับจํานวนอาจารย

ประจําและนักวิจัยประจํา

3. คณะสามารถเลือกประเมินตามเกณฑการประเมินแนวทางใดแนวทางหนึ่งก็ได ไมจําเปนตองเลือก

เหมือนกับสถาบัน

ตัวบงช้ีที่ 2.3 : รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ

ชนิดของตัวบงช้ี : ปจจัยนําเขา

คําอธิบายตัวบงช้ี : สถาบันอุดมศึกษาถือเปนขุมปญญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบที่

จะตองสงเสริมใหอาจารยในสถาบันทําการศึกษาวิจัยเพื่อแสวงหาและพัฒนาองคความรูในศาสตรสาขาวิชา

ตางๆ อยางตอเนื่อง เพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน รวมทั้งการแกไขปญหาและพัฒนาประเทศ การดํารง

ตําแหนงทางวิชาการเปนส่ิงสะทอนการปฏิบัติงานดังกลาวของอาจารยตามพันธกิจของสถาบัน

เกณฑการประเมิน สถาบันสามารถเลือกใชเกณฑการประเมินจาก 2 แนวทางตอไปนี้

1) แปลงคารอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการเปนคะแนนระหวาง 0 - 5

หรือ

2) แปลงคาการเพิ่มขึ้นของคารอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ

เปรียบเทียบกับปที่ผานมาเปนคะแนนระหวาง 0 - 5 1. เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ข และ ค2

1) คารอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย

และศาสตราจารยรวมกัน ที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 60 ขึ้นไป หรือ

2) คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย

รองศาสตราจาร ย และศาสตราจารยรวมกัน เปรียบเทียบกับปที่ผานมา ที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 =

รอยละ 12 ขึ้นไป

คาการเพ่ิมขึน้ของรอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปทีผ่านมา x 5

คาการเพ่ิมขึน้ของรอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปทีผ่านมา ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม

Page 57: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

52

สูตรการคํานวณ 1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ

รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ =

2. แปลงคารอยละที่คํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนที่ได =

หมายเหต ุ

1. การนับจํานวนอาจารยประจํา ใหนับตามปการศึกษาและนับทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

2. คณะสามารถเลือกประเมินตามเกณฑการประเมินแนวทางใดแนวทางหนึ่งก็ได ไมจําเปนตองเลือก

เหมือนกับสถาบัน

ตัวบงช้ีที่ 2.4 : ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : การจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ จําเปนตองมีการ บริหาร

และพัฒนาคณาจารยอยางเหมาะสมทั้งในดานเทคนิคการสอน การประเมินผลการเรียน รู และการใชส่ือการ

สอนที่ทันสมัย รวมทั้งมีการปรับกระบวนการเรียนการสอนโดยใชผลการเรียนรูและขอมูลจาก ความคิดเห็นของผู

เรียน นอกจากนั้น ยังจําเปนตองมีบุคลากรสายสนับสนุนที่มีคุณภาพสอดคลองกับพันธ กิจและเปาหมายของ

สถาบัน

เกณฑมาตรฐาน

1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารยทั้งดานวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผลและ

มีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ

2. มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนใหเปนไปตามแผนที่กําหนด

3. มีสวัสดิการเสริมสรางสุขภาพที่ ดี และสรางขวัญและกําลังใจใหคณาจารยและบุคลากรสาย

สนับสนุนสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

4. มีระบบการติดตามใหคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนนําความรูและทักษะท่ีไดจากการ

พัฒนามาใชในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรูของนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติงาน ที่เก่ียว

ของ

5. มีการใหความรูดานจรรยาบรรณอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมใหคณา

จารยและบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ

6. มีการประเมินผลความสําเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากร สาย

สนับสนุน

จํานวนอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ x 100

จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด

รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงแหนงทางวิชาการ x 5

รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงแหนงทางวิชาการที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5

Page 58: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

53

7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและ

บุคลากรสายสนับสนุน หมายเหต ุ

หลักฐานสําหรับการประเมินในเกณฑมาตรฐานขอที่ 3 เชน ผลการประเมิน หรือผลการสํารวจ

ความพึงพอใจของคณาจารยและบุคลากร ดานสวัสดิการ การเสริมสรางสุขภาพท่ีดี และการสรางขวัญและ

กําลังใจ หรือหลักฐานเชิงประจักษอื่นๆ ที่เช่ือมโยงใหเห็นการทํางานไดดีขึ้น

เกณฑการประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 หรือ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 หรือ 6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ตัวบงช้ีที่ 2.5 : หองสมุด อุปกรณการศึกษาและสภาพแวดลอมการเรียนรู

ชนิดของตัวบงช้ี : ปจจัยนําเขา

คําอธิบายตัวบงช้ี : นอกเหนือจากการเรียนการสอน สถาบันอุดมศึกษาควรจัดบริการดาน กาย

ภาพอยางครบถวน โดยเฉพาะในเรื่องการบริการส่ิงอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการเรียน เชน ส่ือ เทคโนโลยี

เพื่อการศึกษา หองสมุดและแหลงการเรียนรูอื่นๆ การบริการดานงานทะเบียน การบริการ นักศึกษานานาชา ติ

เปนตน นอกจากนั้น ยังจําเปนตองมีสภาพแวดลอมและการบริการดานกายภาพท่ี สงเสริมคุณภาพชีวิตของ

นักศึกษา เชน ส่ิงแวดลอมในสถาบัน หอพักนักศึกษา หองเรียน สถานที่ออกกําลังกาย บริการอนามัย การจัดจํา

หนายอาหาร เปนตน

เกณฑมาตรฐาน

1. มีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อใหนักศึกษามีเคร่ืองคอมพิวเตอรใชในอัตราไมสูงกวา 8 FTES

ตอเคร่ือง

2. มีบริการหองสมุดและแหลงเรียนรูอื่นๆ ผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร และมีการ ฝกอบรม

การใชงานแกนักศึกษาทุกปการศึกษา

3. มีบริการดานกายภาพที่เหมาะสมตอการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษา อยาง

นอยในดานหองเรียน หองปฏิบัติการ อุปกรณการศึกษา และจุดเชื่อมตออินเตอรเน็ตในระบบไรสาย

4. มีบริการส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีจําเปนอื่นๆ อยางนอยในดานงานทะเบียนนักศึกษาผาน

ระบบเครือขายคอมพิวเตอร การบริการอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการดานอาหาร และ

สนามกีฬา

5. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ อยาง

นอยในเร่ืองประปา ไฟฟา ระบบกําจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณปองกันอัคคีภัย ใน

บริเวณอาคารตาง ๆ โดยเปนไปตามกฎหมายที่เก่ียวของ

6. มีผลการประเมินคุณภาพของบริการใน ขอ 2 - 5 ทุกขอไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

Page 59: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

54

7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพใน ขอ 6 มาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการจัดบริการดาน

กายภาพท่ีสนองความตองการของผูรับบริการ หมายเหตุ

1. ในเกณฑมาตรฐานขอ 1 ใหนับรวม notebook และ mobile device ตางๆ ของนักศึกษาท่ีมีการ

ลงทะเบียนการใช wifi กับสถาบันดวย

2. การคิดจํานวน FTES ใหนําจํานวน FTES ของแตละระดับการศึกษารวมเขาดวยกันโดยไมตองเทียบ

เปน FTES ของระดับปริญญาตรี เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ตัวบงช้ีที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน

ชนิดของตัวบงช้ี : ปจจัยนําเขา

คําอธิบายตัวบงช้ี : กระบวนการจัดการเรียนการสอนตองเปนไปตามแนวทางท่ีกําหนดใน

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ มี

การจัดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมและยืดหยุน โดยการมีสวนรวมจากบุคคล สถาบัน หรือชุมชน

ภายนอก มีการจัดกระบวนการเรียนรูที่คํานึงถึงความแตกตางเฉพาะตัวของนักศึกษาซ่ึงเปนเร่ืองที่สําคัญมาก

ตอความสนใจใฝรูและตอศักยภาพในการแสวงหาความรูของนักศึกษา เชน การเปดโอกาสใหนักศึกษาไดคน

ควาวิจัยโดยอิสระในรูปโครงการวิจัยสวนบุคคล การจัดใหมีชั่วโมงเรียนในภาคปฏิบั ติในหองปฏิบัติการ รวมทั้ง

มีการฝกประสบการณภาคสนามอยางพอเพียง มีการจัดสัมมนา จัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทําโครงการ มีการ

เรียนการสอนทางเครือขายคอมพิวเตอ ร (Internet) และมี หองสมุดและระบบสืบคนขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่

เพียงพอสําหรับการศึกษาหาความรูเพิ่มเติมไดดวยตนเอง

เกณฑมาตรฐาน

1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญทุก

หลักสูตร

2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณภาคสนาม (ถามี)

กอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษา ตามที่กําหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แหงชาติ

3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่สงเสริมทักษะการเรียนรูดวยตนเอง และการใหผูเรียนไดเรียนรูจากการ

ปฏิบัติทั้งในและนอกหองเรียนหรือจากการทําวิจัย

4. มีการใหผูมีประสบการณทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหนวยงานหรือชุมชนภายนอกเขามา มี

สวนรวมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร

5. มีการจัดการเรียนรูที่พัฒนาจากการวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรูเพื่อ พัฒนาการ

Page 60: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

55

เรียนการสอน

6. มีการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและส่ิง

สนับสนุนการเรียนรูทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความพึงพอใจแตละรายวิชาตองไม

ตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือการประเมินผล การ

เรียน รู ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา หมายเหตุ

1. มหาวิทยาลัยหรือคณะจะตองประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอคุณภาพการเรียนการสอน

และส่ิง สนับสนุน การเรียนรุทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา ยกเวน รายวิชาที่ไมมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนหรือ

ในหองปฏิบัติการ เชน การฝกงาน สหกิจศึกษา การคนควาอิสระ วิชาโครงงาน สารนิพนธ และวิทยานิพนธ เปน

ตน

2. งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนตามเกณฑขอ 5 หมายถึงงานวิจัยของผูสอนของสถาบันที่ได

พัฒนาข้ึน และนําไปใชในการพัฒนาวิธีการสอนกรณีหลักสูตรที่ไมเปนไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (TQF)ตองมีการจัดทํารายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณภาคสนาม (ถามี)

กอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษาดวย เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ตัวบงช้ีที่ 2.7 : ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิการเรียนตามคุณลักษณะของ

บัณฑิต ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : คุณลักษณะของบัณฑิต หมายถึง คุณสมบัติที่พึงประสงคซึ่งผูสําเร็จ

การศึกษาระดับอุดมศึกษาพึงมี ประกอบดวย 2 สวน คือ คุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ

แหงชาติของแตละหลักสูตร และคุณลักษณะของบัณฑิตตามความตองการของผูใชบัณฑิต คุณลักษณะตาม

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติมี 5 ดาน ไดแก ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความ รู ดาน ทักษะทางปญญา

ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ ดานทักษะการวิเคราะห เชิงตัวเลข การส่ือสารและ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ สวนคุณลักษณะบัณฑิตตามความตองการของผูใช บัณฑิต อาจมีความแตกตางกัน

ตามลักษณะอาชีพหรือบริบทของผูใช และอาจปรากฏในกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิแหงชา ติ หรือที่มีลักษณะ

เพิ่มเติมจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ เชน การบริหารจัดการ การเปนผูใฝรู ใฝเรียน การกาวทันวิทยาการ

ความสามารถในการประยุกตความรูกับการปฏิบัติงานจริง สําหรับผูสําเร็จ การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หรือผู

สําเร็จการศึกษาในหลักสูตรที่เนนการวิจัย ควรมีคุณลักษณะเพิ่มเติม ดานความเปนนักวิชาการ การเปนผูนํา

ทางความคิด โดยเฉพาะความสามารถดานการคิดเชิงวิพากษ และการนําเสนอผลงาน

Page 61: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

56

เกณฑมาตรฐาน

1. มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิตอยาง

นอยสําหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาต รี ทุกรอบระยะเวลาตามแผนกําหนดการศึกษาของหลักสูตร

2. มีการนําผลจากขอ 1 มาใชในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดผล

การศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนที่สงเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะของบณัฑิตที่พึงประสงค

ตามความตองการของผูใชบัณฑิต

3. มีการสงเสริมสนับสนุนทรัพยากรท้ังดานบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณท่ี

เอื้อตอการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต 4. มีระบบและกลไกการสงเสริมใหนักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเขารวม

กิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนําเสนอผลงานทางวิชาการในท่ีประชุมระหวางสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติ

หรือนานาชาติ

5. มีกิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมใหแกนักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาท่ีจัด

โดยสถาบัน เกณฑการประเมิน

1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

ตัวบงช้ีที่ 2.8 : ระดับความสําเร็จของการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมที่จัดใหกับ

นักศึกษา ชนิดของตัวบงช้ี : ผลผลิต

คําอธิบายตัวบงช้ี : คุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาเปนคุณลักษณะท่ีพึงประสงคและเปน

ปจจัยสําคัญของคุณภาพบัณฑิตตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติและกรอบ มาตรฐาน

คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชา ติ รวมทั้งความคาดหวังของผูใชบัณฑิตและสังคม ดังนั้น สถาบัน จึงควรมีการวัด

ระดับความสําเร็จของการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมที่สถาบันจัดใหกับนักศึกษา

เกณฑมาตรฐาน

1. มีการกําหนดพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมสําหรับนักศึกษาท่ีตองการสงเสริมไว

เปนลายลักษณอักษร

2. มีการถายทอดหรือเผยแพรพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมสําหรับนักศึกษาตองการ

สงเสริม ตามขอ 1 ไปยังผูบริหาร คณาจารย นักศึกษาและผูเก่ียวของทราบอยางทั่วถึงทั้งสถาบัน 3. มีโครงการหรือกิจกรรมสงเสริมการพัฒนาพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมกําหนดใน

ขอ 1 โดยระบุตัวบงชี้และเปาหมายวัดความสําเร็จที่

4. มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษา ตามตัว

Page 62: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

57

บงช้ีและเปาหมายที่กําหนดในขอ 3 โดยมีผลการประเมินบรรลุเปาหมายอยางนอยรอยละ 90 ของ ตัวบงชี้

5. มีนักศึกษาหรือกิจกรรมท่ีเก่ียวกับนักศึกษาไดรับการยกยองชมเชย ประกาศ

เกียรติคุณดานคุณธรรมจริยธรรม โดยหนวยงานหรือองคกรระดับชาติ หมายเหตุ :

1. การยกยองชมเชยประกาศเกียรติคุณดานคุณธรรม จริยธรรม หากดําเนินการในระดับมหาวิทยาลัย

ตองมีกรรมการภายนอกมหาวิทยาลัยอยางนอยรอยละ 50 และมีผูเขารวมการแขงขันหรือเขารวมการคัดเลือก

ที่มาจากหลากหลายสถาบัน (ต้ังแต 3 สถาบันขึ้นไป)

2. หนวยงานหรือองคกรระดับชาติ หมายถึง หนวยงานนอกสถาบันระดับกรมหรือเทียบเทาขึ้นไป (เชน

ระดับจังหวัด) หรือรัฐวิสาหกิจ หรือองคการมหาชน หรือบริษัทมหาชนท่ีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย หรือ

องคกรกลางระดับชาติทั้งภาครัฐและเอกชน (เชน สภาอุตสาหกรรม สภาหอการคา สภาวิชาชีพ)

เกณฑการประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ 3

ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ 5

ขอ

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา หลักการ

การดําเนินงานดานกิจการนักศึกษาเปนกิจกรรมที่สถาบันอุดมศึกษาสนับสนุนสงเสริมเพื่อให

นักศึกษาเปนบัณฑิตที่มีคุณสมบัติพรอม นอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนที่จัดขึ้นตามหลักสูตร กิจกรรม

การพัฒนานักศึกษาแบงออกไดเปนสองสวน คือ (1) การจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกาซ่ึง สถาบันจัดขึ้น

ใหสอดคลองกับความตองการ และเกิดประโยชนสูงสุดตอนักศึกษาและศิษยเกา และ (2) การ จัดกิจกรรม

นักศึกษาท่ีดําเนินการโดยองคกรนักศึกษาซ่ึงไดรับการสนับสนุนสงเสริมจากสถาบัน ท้ังนี้ เพื่อใหนักศึกษาได

พัฒนารางกาย อารม ณ สังคม สติปญญา ตลอดจนคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคไดแก คุณธรรม

จริยธรรม ความ รู ทักษะทางปญญา ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ รับผิดชอบ รวมทั้งทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

2. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) สํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษา

3. มาตรฐานการศึกษาของชา ติ พ.ศ. 2547 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

4. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 5. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2551 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

6. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชา ติ พ.ศ. 2552 (Thai Qualification

Page 63: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

58

Framework for Higher Education) (TQF: HEd.) สํานักงานคณะกรรมการการ 7. มาตรฐานกิจการนักศึกษา พ.ศ. 2541 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

8. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สํานักงาน

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.) ตัวบงช้ี จํานวน 2 ตัวบงชี้ คือ

3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูลขาวสาร

3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ตัวบงช้ีที่ 3.1 : ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบรกิารดานขอมูล ขาวสาร ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : สถาบันอุดมศึกษาควรจัดบริการดานตางๆ ใหนักศึกษาและศิษยเกา อยางครบ

ถวน โดยเฉพาะในกิจกรรมตอไปน้ี (1) การบริการดานการแนะแนวและการใหคําปรึกษา ทั้งดาน วิชาการและ

การใชชีวิต (2) การบริการดานขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา เชน ทุน กูยืมการศึกษา

แหลงทุนการศึกษาตอ การบริการจัดหางาน แหลงขอมูลการฝกประสบการณวิชาชีพ ขอมูล ขาวสารความ

เคล่ือนไหวในและนอกสถาบันที่จําเปนแกนักศึกษาและศิษยเกา และ (3) การจัดโครงการเพื่อ พัฒนาประสบกา

รณทางวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกาในรูปแบบตาง ๆ เกณฑมาตรฐาน

1. มีการจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใชชีวิตแกนักศึกษา

2. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอนักศึกษา 3. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาการและวิชาชีพแกนักศึกษา

4. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอศิษยเกา

5. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรูและประสบการณใหศิษยเกา 6. มีผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการในขอ 1 - 3 ทุกขอไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนน

เต็ม 5

7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการ

จัดบริการที่สนองความตองการของนักศึกษา หมายเหต ุ

ในกรณีคณะหรือสถาบันที่ยังไมมีศิษยเกาถือวาผานเกณฑมาตรฐานขอ 4 และขอ 5 โดยอนุโลม เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

Page 64: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

59

ตัวบงช้ีที่ 3.2 : ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : สถาบันอุดมศึกษาตองสงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมนักศึกษาตาง ๆ อยาง

เหมาะสมและครบถวน กิจกรรมนักศึกษาหมายถึงกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ดําเนินการท้ังโดยสถาบันและ โดย

องคกรนักศึกษา เปนกิจกรรมที่ผูเขารวมจะมีโอกาสไดรับการพัฒนาสติปญญา สังคม อารม ณ รางกาย และ

คุณธรรมจริยธรรมสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสง ค 5 ประการ ไดแก (1) คุณธรรม จริยธรรม

(2) ความ รู (3) ทักษะทางปญญา (4) ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ (5) ทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และสอดคลองกับคุณลักษณะ ของบัณฑิตที่พึง

ประสงคที่สภา/องคกรวิชาชีพไดกําหนดเพิ่มเติม ตลอดจนสอดคลองกับความตองการของ ผูใชบัณฑิต เกณฑมาตรฐาน

1. สถาบันจัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีสงเสริมผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติทุกดาน

2. มีกิจกรรมใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา

3. มีการสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใชในการจัดกิจกรรมที่ดําเนินการโดยนักศึกษาอยางนอย 5 ประเภทสําหรับระดับปริญญาตรี และอยางนอย 2 ประเภทสําหรับระดับ

บัณฑิตศึกษา จากกิจกรรมตอไปนี้

- กิจกรรมวิชาการที่สงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค

- กิจกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ

- กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาส่ิงแวดลอม

- กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม

- กิจกรรมสงเสริมศิลปะวัฒนธรรม

4. มีการสนับสนุนใหนักศึกษาสรางเครือขายพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและระหวางสถาบัน

และมีกิจกรรมรวมกัน

5. สถาบันมีการประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา

6. สถาบันมีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ 3

หรือ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

องคประกอบที่ 4 การวิจัย หลักการ

สถาบันอุดมศึกษาแตละแหงอาจมีจุดเนนในเร่ืองการวิจัยที่แตกตางกันขึ้นกับสภาพแวดลอมและ

ความพรอมของแตละสถาบัน อยางไรก็ตาม ทุกสถาบันอุดมศึกษาจําเปนตองมีพันธกิจนี้เปนสวนหนึ่งของพันธกิจ

สถาบัน ดังนั้น จึงตองมีระบบและกลไกควบคุมใหสามารถดําเนินการในพันธกิจดานนี้อยางมีประสิทธิภาพและ

Page 65: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

60

คุณภาพตามจุดเนนเฉพาะของแตละสถาบัน เพื่อใหไดผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่เกิดประโยชน การวิจัย

จะประสบความสําเร็จและเกิดประโยชนจําเปนตองมีสวนประกอบที่สําคัญ 3 ประการ คือ 1) สถาบันตองมี

แผนการวิจัย มีระบบและกลไก ตลอดจนมีการสนับสนุนทรัพยากรใหสามารถดําเนินการไดตามแผน 2)

คณาจารยมีสวนรวมในการวิจัยอยางเขมแข็ง โดยบูรณาการงานวิจัยกับการจัดการเรียนการสอน และพันธกิจ

ดานอื่นๆ ของสถาบัน และ 3) ผลงานวิจัยมีคุณภาพ มีประโยชน สนองยุทธศาสตรของชาติและมีการเผยแพร

อยางกวางขวาง มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ

1. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ .ศ . 2551-2565) สํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา

2. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2551 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

4. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สํานักงาน

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.)

5. นโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของชา ติ (พ.ศ. 2551-2554) สํานักงานคณะกรรมการ

วิจัยแหงชาติ

6. แนวทางปฏิบัติจรรยาบรรณนักวิจัย พ.ศ. 2541 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

ตัวบงช้ี จํานวน 3 ตัวบงชี้ คือ

4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค

4.2 ระบบและกลไกจัดการความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค

4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย

ตัวบงช้ีที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : สถาบันอุดมศึกษาตองมีการบริหารจัดการงานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่มี

คุณภาพ โดยมีแนวทางการดําเนินงานท่ีเปนระบบและมีกลไกสงเสริมสนับสนุนครบถวน เพื่อใหสามารถ

ดําเนินการไดตามแผนท่ีกําหนดไว ทั้งการสนับสนุนดานการจัดหาแหลงทุนวิจัยและการจัดสรรทุนวิจัย การ

สงเสริมและพัฒนาสมรรถนะแกนักวิจัยและทีมวิจัย การสนับสนุนทรัพยากรท่ีจําเปน ซึ่งรวมถึงทรัพยากรบุคคล

ทรัพยากรเงิน เคร่ืองมืออุปกรณตาง ๆ ที่เก่ียวของ เกณฑมาตรฐานทั่วไป

1. มีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองานสรางสรรค เพื่อใหบรรลุเปาหมายตามแผนดานการวิจัยของสถาบัน และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

2. มีการบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสรางสรรคกับการจัดการเรียนการสอน

3. มีการพัฒนาศักยภาพดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคและใหความรูดานจรรยาบรรณการวิจัยแกอาจารยประจําและนักวิจัย

4. มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน เพื่อเปนทุนวิจัยหรืองานสรางสรรค

5. มีการสนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคตามอัตลักษณของสถาบันอยางนอยในประเด็นตอไปนี้

Page 66: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

61

- หองปฏิบัติการวิจัยฯ หรือหนวยวิจัยฯ หรือศูนยเคร่ืองมือ หรือศูนยใหคําปรึกษาและ

สนับสนุนการวิจัยฯ

- หองสมุดหรือแหลงคนควาขอมูลสนับสนุนการวิจัยฯ

- ส่ิงอํานวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัยฯ เชน ระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยในหองปฏิบัติการวิจัย

- กิจกรรมวิชาการที่สงเสริมงานวิจัยฯ เชน การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงาน

สรางสรรค การจัดใหมีศาสตราจารยอาคันตุกะหรือศาสตราจารยรับเชิญ (visiting professor)

6. มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในขอ 4 และขอ 5 อยางครบถวนทุกประเด็น

7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการสนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคของสถาบัน

เกณฑมาตรฐานเพ่ิมเติมเฉพาะกลุม :

8. มีระบบและกลไกเพื่อสรางงานวิจัยหรืองานสรางสรรคบนพื้นฐานภูมิปญญาทองถ่ิน หรือจาก

สภาพปญหาของสังคม เพื่อตอบสนองความตองการของทองถ่ินและสังคม และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด (เฉพาะกลุม ข และ ค 2) เกณฑการประเมิน

1. เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ข และ ค2 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ 4

หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

ครบ 7 ขอตาม

เกณฑทั่วไป และ

ครบถวนตามเกณฑ

มาตรฐานเพิ่มเติม

เฉพาะกลุม

ตัวบงช้ีที่ 4.2 : ระบบและกลไกจัดการความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : การบริหารจัดการความรูจากผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรค เพื่อเผยแพร

ไปยังคณาจารย นักศึกษา วงการวิชาการ หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนชุมชนเปาหมายท่ีจะนํา

ผลการวิจัยไปใชประโยชน เปนเร่ืองที่มีความสําคัญสําหรับทุกสถาบันอุดมศึกษา ดังนั้น สถาบันตองจัดระบบ

สงเสริมสนับสนุนใหมีการรวบรวม เผยแพร และแลกเปล่ียนเรียนรูในทรัพยสินทางปญญาจากงานวิจัยหรืองาน

สรางสรรคอยางเหมาะสมกับผูใชแตละกลุม โดยส่ิงที่เผยแพรตองมีคุณภาพเชื่อถือไดและรวดเร็วทันเหตุการณ เกณฑมาตรฐานทั่วไป

1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในการ

ประชุมวิชาการหรือการตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ

Page 67: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

62

2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจากงานวิจัยหรืองาน

สรางสรรค เพื่อใหเปนองคความรูที่คนทั่วไปเขาใจได และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

3. มีการประชาสัมพันธและเผยแพรองคความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดจากขอ 2 สู

สาธารณชนและผูเก่ียวของ

4. มีการนําผลงานงานวิจัยหรืองานสรางสรรคไปใชใหเกิดประโยชน และมีการรับรองการใชประโยชนจริงจากหนวยงานภายนอกหรือชุมชน

5. มีระบบและกลไกเพื่อชวยในการคุมครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ 3

ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ5

ขอ

ตัวบงช้ีที่ 4.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจํา

และนักวิจัยประจํา ชนิดของตัวบงช้ี : ปจจัยนําเขา คําอธิบายตัวบงช้ี : ปจจัยสําคัญที่สงเสริมสนับสนุนให เ กิดการผลิตงานวิจัยหรืองาน

สรางสรรคในสถาบันอุดมศึกษา คือ เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรค ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจึงตอง

จัดสรรเงินจากภายในสถาบันและที่ไดรับจากภายนอกสถาบันเพื่อสนับสนุนการทําวิจัยหรืองานสรางสรรคอยาง

มีประสิทธิภาพตามสภาพแวดลอมและจุดเนนของสถาบัน

นอกจากนั้นเงินทุนวิจัยหรืองานสรางสรรคที่สถาบันไดรับจากแหลง

ทุนภายนอกยังเปนตัวบงชี้ที่สําคัญ ที่แสดงถึงศักยภาพดานการวิจัยของสถาบัน โดยเฉพาะสถาบันที่อยูในกลุมที่

เนนการวิจัย เกณฑการประเมิน โดยการแปลงจํานวนเงินตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

1. เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ข และ ค2 จําแนกเปน 3 กลุมสาขาวิชา 1.1 กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันที่

กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปตอคน 1.2 กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันที่

กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปตอคน 1.3 กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันที่

กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปตอคน

Page 68: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

63

2. เกณฑประเมินเฉพาะสถาบันกลุม ค1 และ ง จําแนกเปน 3 กลุมสาขาวิชา 2.1 กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันที่กําหนดให

เปนคะแนนเต็ม 5 = 180,000 บาทขึ้นไปตอคน กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันที่กําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 150,000 บาทขึ้นไปตอคน 2.2 กลุมสาขาวิชามนษุยศาสตรและสังคมศาสตร

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันที่

กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = 75,000 บาทขึ้นไปตอคน สูตรการคํานวณ

1. คํานวณจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ = จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯจากภายในและภายนอก

จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา 2. แปลงจํานวนเงินที่คํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯจากภายในและภายนอก x 5

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 สรุปคะแนนที่ไดในระดับคณะวิชาและระดับสถาบัน 1. คะแนนที่ไดในระดับคณะวิชา = คาเฉล่ียของคะแนนที่ไดของทุกกลุมสาขาวิชาในคณะวิชา

2. คะแนนที่ไดในระดับสถาบัน = คาเฉล่ียของคะแนนที่ไดของทุกคณะวิชาในสถาบัน หมายเหตุ

1. จํานวนอาจารยและนักวิจัยประจํา ใหนับตามปการศึกษา และนับเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริงไมนับรวม

ผูลาศึกษาตอ

2. ใหนับจํานวนเงินที่มีการลงนามในสัญญารับทุนในปการศึกษา ปปฏิทิน หรือปงบประมาณน้ันๆ

ไมใชจํานวนเงินที่เบิกจายจริง

3. กรณีที่มีหลักฐานการแบงสัดสวนเงินสนับสนุนงานวิจัย ซึ่งอาจเปนหลักฐานจากแหลงทุนหรือ

หลักฐานจากการตกลงรวมกันของสถาบันที่รวมโครงการ ใหแบงสัดสวนเงินตามหลักฐานที่ปรากฏกรณีทีไมมี

หลักฐาน ใหแบงเงินตามสัดสวนผูรวมวิจัยของแตละสถาบัน

4. การนับจํานวนเงินสนับสนุนโครงการวิจัย สามารถนับเงินโครงการวิจัยสถาบันที่ไดลงนามในสัญญา

รับทุนโดยอาจารยหรือนักวิจัย แตไมสามารถนับเงินโครงการวิจัยสถาบันที่บุคลากรสายสนับสนุนที่ไมใชนักวิจัย

เปนผูดําเนินการ

Page 69: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

64

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม หลักการ

การบริการทางวิชาการแกสังคมเปนหนึ่งในภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา สถาบันพึงใหบริการทาง

วิชาการแกชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในรูปแบบตางๆ ตามความถนัดและในดานที่สถาบันมีความเช่ียวชาญ

การใหบริการทางวิชาการอาจใหเปลาโดยไมคิดคาใชจายหรืออาจคิดคาใชจายตามความเหมาะสม โดย

ใหบริการทั้งหนวยงานภาครัฐและเอกชน หนวยงานอิสระ หนวยงานสาธารณะ ชุมชน และสังคมโดยกวาง

รูปแบบการใหบริการทางวิชาการมีความหลากหลาย เชน การอนุญาตใหใชประโยชนทรัพยากรของสถาบัน

เปนแหลงอางอิงทางวิชาการ ใหคําปรึกษา ใหการอบรม จัดประชุมหรือสัมมนาวิชาการ ทํางานวิจัยเพ่ือตอบ

คําถามตางๆ หรือเพื่อช้ีแนะสังคม การใหบริการทางวิชาการนอกจากเปนการทําประโยชนใหสังคมแลว สถาบัน

ยังไดรับประโยชนในดานตาง ๆ คือ เพิ่มพูนความรูและประสบการณของอาจารยอันจะนํามาสูการพัฒนา

หลักสูตร มีการบูรณาการเพื่อใชประโยชนทางดานการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย พัฒนาตําแหนงทาง

วิชาการของอาจารย สรางเครือขายกับหนวยงานตาง ๆ ซึ่งเปนแหลงงานของนักศึกษาและเปนการสรางรายได

ของสถาบันจากการใหบริการทางวิชาการดวย มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ

1. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษา

2. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2551 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

4. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสามพ.ศ.2553 สํานักงาน

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.)

ตวับงช้ี จํานวน 2 ตัวบงชี้

5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม

5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม

ตัวบงช้ีที่ 5.1 : ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : การบริการทางวิชาการแกสังคมเปนภารกิจหลักอยางหนึ่งของสถาบัน

อุดมศึกษา สถาบันพึงกําหนดหลักเกณฑและขั้นตอนการบริการทางวิชาการอยางเปนระบบ และมีการจัด

โครงสรางสถาบันเพื่อเปนกลไกในการขับเคล่ือน ระบบดังกลาว การใหบริการทางวิชาการตองมีความเชื่อมโยง

กับการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย และสามารถบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคม กับการเรียน

การสอนและการวิจัยอยางเปนรูปธรรม เกณฑมาตรฐาน

1. มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

2. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการเรียนการสอน

3. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการวิจัย

4. มีการประเมินผลความสําเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย

Page 70: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

65

5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการเรียนการ สอนและการวิจัย

หมายเหต ุ เกณฑมาตรฐานขอที่ 4 ตองมีการประเมินความสําเร็จของการบูรณาการตามเกณฑขอ 2 และขอ 3

เกณฑการประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ 3

ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

ตัวบงช้ีที่ 5.2 : กระบวนการบริการทางวิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : ความสามารถในการใหบริการทางวิชาการในลักษณะหวงโซคุณภาพท่ี

สนองความตองการและเปนที่พึ่งของชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน หนวยงานวิชาชีพ สังคมไดอยางมีคุณภาพตาม

ศักยภาพและความพรอมตามจุดเนนของสถาบัน พิจารณาไดจาก (1) ประโยชนหรือผลกระทบของการใหบริการ

ทางวิชาการ (2) การสรางความรวมมือกับหนวยงานภายนอก และ (3) ความรูที่เกิดจากการใหบริการทาง

วิชาการและการเผยแพรความรูนั้นทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เกณฑมาตรฐาน

1. มีการสํารวจความตองการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหนวยงานวิชาชีพ เพื่อ

ประกอบการกําหนดทิศทางและการจัดทําแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเนนของสถาบัน

2. มีความรวมมือดานบริการทางวิชาการเพื่อการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน

หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือหนวยงานวิชาชีพ

3. มีการประเมินประโยชนหรือผลกระทบของการใหบริการทางวชิาการตอสังคม

4. มีการนําผลการประเมินในขอ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการใหบริการทาง

วิชาการ

5. มีการพัฒนาความรูที่ไดจากการใหบริการทางวิชาการและถายทอดความรูสูบุคลากรภายในสถาบันและเผยแพรสูสาธารณชน เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

Page 71: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

66

องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม หลักการ

การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมถือเปนพันธกิจสําคัญประการหน่ึงของสถาบันอุดมศึกษา

ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจึงตองมีระบบและกลไกการดําเนินงานดานนี้ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและ

คุณภาพ โดยอาจมีจุดเนนเฉพาะท่ีแตกตางกันตามปรัชญา และธรรมชาติของแตละสถาบัน และมีการบูรณาการ

เขากับพันธกิจอื่นๆ โดยเฉพาะการผลิตบัณฑิต รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมที่ฟนฟู อนุรักษ สืบสาน พัฒนา เผยแพร

ศิลปะและวัฒนธรรม สรางสรรค สงเสริมภูมิปญญาทองถ่ินใหเปนรากฐานการพัฒนาองคความรูที่ดีขึ้น มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ

1. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป (พ.ศ. 2551-2565) สํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา

2. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2551 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

4. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ.2553 สํานักงาน

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.)

ตัวบงช้ี จํานวน 1 ตัวบงชี้

6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวบงช้ีที่ 6.1 : ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : สถาบันอุดมศึกษาตองมีนโยบาย แผนงาน โครงสราง และการบริหาร

จัดการงานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมทั้งการอนุรักษ ฟนฟู สืบสาน เผยแพรวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน

ตามจุดเนนของสถาบันอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการบูรณาการการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

กับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา เกณฑมาตรฐาน

1. มีระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

2. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

3. มีการเผยแพรกิจกรรมหรือการบริการดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมตอสาธารณชน

4. มีการประเมินผลความสําเร็จของการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

6. มีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานคุณภาพดานศิลปะและวัฒนธรรมและมีผลงานเปนที่ยอมรับในระดับชาติ

Page 72: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

67

เกณฑการประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 หรือ 6 ขอ

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ หลักการ

สถาบันอุดมศึกษาตองใหความสําคัญกับการบริหารจัดการ โดยมีสภามหาวิทยาลัยทําหนาที่ใน

การกํากับดูแลการทํางานของสถาบันใหมีประสิทธิภาพ สถาบันอุดมศึกษาจะตองบริหารจัดการดานตางๆ ใหมี

คุณภาพ เชน ทรัพยากรบุคคล ระบบฐานขอมูล การบริหารความเส่ียง การบริหารการเปล่ียนแปลง การ

บริหารทรัพยากรทั้งหมด ฯลฯ เพื่อสัมฤทธิผลตามเปาหมายท่ีกําหนดไว โดยใชหลักธรรมาภิบาล (Good

Governance) มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ

1. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) สํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษา

2. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สํานักงานคณะกรรมการการอดุมศึกษา

3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2551 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

4. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)

5. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สํานักงานรับรองมาตรฐานและ

ประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.)

6. เกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาติเพื่อสถาบันที่เปนเลิศ 2009-2010

7. เกณฑการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

8. ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง คูมือและแนวปฏิบัติในการพิจารณาออก

ใบอนุญาตใหจัดต้ังสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2551

9. ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เร่ือง มาตรฐานหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2544

ตัวบงช้ี จํานวน 6 ตัวบงชี้

7.1 ภาวะผูนําของสภาสถาบันและผูบริหารทุกระดับของสถาบัน

7.2 การพัฒนาสถาบันสูสถาบันเรียนรู

7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ

7.4 ระบบบริหารความเส่ียง

ตัวบงช้ีที่ 7.1 : ภาวะผูนําของสภาสถาบันและผูบริหารทุกระดับของสถาบัน

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : ปจจัยสนับสนุนที่สําคัญตอการเจริญกาวหนาของสถาบันอุดมศึกษา คือ

สภาสถาบันและผูบริหารทุกระดับของสถาบันนั้น ๆ หากสภาสถาบันและผูบริหารมีวิสัยทัศน เปนผูนําที่ดี มี

ธรรมาภิบาล รับผิดชอบตอสังคม รักความกาวหนา ดูแลบุคลากรอยางดี เปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวนรวมใน

Page 73: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

68

การบริหาร มีความสามารถในการตัดสินใจแกปญหา และกํากับดูแล ติดตามผลการดําเนินงานของสถาบันไปใน

ทิศทางที่ถูกตอง จะทําใหสถาบันเจริญรุดหนาอยางรวดเร็ว เกณฑมาตรฐาน

1. สภาสถาบันปฏิบัติหนาที่ตามท่ีกฎหมายกําหนดครบถวนและมีการประเมินตนเองตามหลักเกณฑที่กําหนดลวงหนา

2. ผูบริหารมีวิสัยทัศน กําหนดทิศทางการดําเนินงาน และสามารถถายทอดไปยังบุคลากรทุก

ระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุทธ มีการนําขอมูลสารสนเทศเปนฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนา

สถาบัน

3. ผูบริหารมีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถ

ส่ือสารแผนและผลการดําเนินงานของสถาบันไปยังบุคลากรในสถาบัน

4. ผูบริหารสนับสนุนใหบุคลากรในสถาบันมีสวนรวมในการบริหารจัดการ ใหอํานาจในการตัดสินใจแกบุคลากรตามความเหมาะสม

5. ผูบริหารถายทอดความรูและสงเสริมพัฒนาผูรวมงาน เพื่อใหสามารถทํางานบรรลุ

วัตถุประสงคของสถาบันเต็มตามศักยภาพ

6. ผูบริหารบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล โดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนได

สวนเสีย

7. สภาสถาบันประเมินผลการบริหารงานของสถาบันและผูบริหารนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอยางเปนรูปธรรม หมายเหต ุ

หากจะประเมินผานเกณฑการประเมินมาตรฐานขอที่ 6 นั้น ตองแสดงขอมูลการบริหารงานตามหลัก

ธรรมาภิบาลครบถวนทั้ง 10 ประการ ตามนิยามศัพทที่ระบุไว ซึ่งสอดคลองเปนไปตามเกณฑของ สมศ. เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ตัวบงช้ีที่ 7.2 : การพัฒนาสถาบันสูสถาบันเรียนรู

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ คําอธิบายตัวบงช้ี : มาตรฐานการอุดมศึกษาขอที่ 3 กําหนดใหสถาบันมีการสรางและพัฒนา

สังคมฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู ซึ่งตองมีการจัดการความรูเพื่อมุงสูสถาบันแหงการเรียนรู โดยมีการ

รวบรวมองคความรูที่มีอยูในสถาบันซ่ึงกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาใหเปนระบบ เพื่อให

ทุกคนในสถาบันสามารถเขาถึงความรู และพัฒนาตนเองใหเปนผูรู รวมทั้งปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ อัน

จะสงผลใหสถาบันอุดมศึกษามีความสามารถในเชิงแขงขันสูงสุด กระบวนการในการบริหารจัดการความรูใน

สถาบัน ประกอบดวย การระบุความรู การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บความรู การเขาถึงขอมูล และการ

แลกเปล่ียนความรูทั้งภายในและภายนอกสถาบัน การสรางบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรูภายในสถาบัน

Page 74: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

69

การกําหนดแนววิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

ความรูในสถาบันใหดีย่ิงขึ้น เกณฑมาตรฐาน

1. มีการกําหนดประเด็นความรูและเปาหมายของการจัดการความรูที่สอดคลองกับแผน

กลยุทธของสถาบันอยางนอยครอบคลุมพันธกิจดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัย 2. กําหนดบุคลากรกลุมเปาหมายที่จะพัฒนาความรูและทักษะดานการผลิตบัณฑิตและดาน

การวิจัยอยางชัดเจนตามประเด็นความรูที่กําหนดในขอ 1 3. มีการแบงปนและแลกเปล่ียนเรียนรูจากความรู ทักษะของผูมีประสบการณตรง (Tacit

Knowledge) เพื่อคนหาแนวปฏิบัติที่ ดีตามประเด็นความรูที่ กําหนดในขอ 1 และเผยแพรไปสูบุคลากร

กลุมเปาหมายที่กําหนด 4. มีการรวบรวมความรูตามประเด็นความรูที่กําหนดในขอ 1 ทั้งที่มีอยูในตัวบุคคลและแหลง

เรียนรูอื่นๆ ที่เปนแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอยางเปนระบบโดยเผยแพรออกมาเปนลายลักษณอักษร

(Explicit Knowledge) 5. มีการนําความรูที่ไดจากการจัดการความรูในปการศึกษาปจจุบันหรือปการศึกษาที่ผานมา ที่

เปนลายลักษณอักษร (Explicit Knowledge) และจากความรู ทักษะของผูมีประสบการณตรง (Tacit

Knowledge) ที่เปนแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใชในการปฏิบัติงานจริง เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

ตัวบงช้ีที่ 7.3 : ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจ

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : สถาบันควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ

ที่สอดรับกับนโยบายและการวางแผนระดับสถาบัน เพื่อใหเปนระบบที่สมบูรณสามารถเช่ือมโยงกับทุกหนวยงาน

ที่เก่ียวของทั้งภายในและภายนอก เปนระบบที่ใชงานไดทั้งเพื่อการบริหาร การวางแผน และการตัดสินใจของ

ผูบริหารทุกระดับ เพื่อการปฏิบัติงานตามภารกิจทุกดานของบุคลากร เพื่อการติดตามตรวจสอบและประเมินการ

ดําเนินงาน ตลอดจนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาสถาบัน ทั้งนี้ ระบบดังกลาวตองมีความสะดวกในการใชงาน

โดยประเมินจากความพึงพอใจของผูใช เกณฑมาตรฐาน

1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan)

2. มีระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจตามพันธกิจของสถาบัน โดยอยางนอย

ตองครอบคลุมการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริหารจัดการ และการเงิน และสามารถนําไปใชในการ

ดําเนินงานประกันคุณภาพ

3. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบสารสนเทศ

4. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบสารสนเทศมาปรับปรุงระบบสารสนเทศ

Page 75: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

70

5. มีการสงขอมูลผานระบบเครือขายของหนวยงานภายนอกที่เก่ียวของตามที่กําหนด เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

ตัวบงช้ีที่ 7.4 : ระบบบริหารความเส่ียง

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษามีระบบบริหารความเส่ียง โดยการบริหารและ

ควบคุมปจจัย กิจกรรม และกระบวนการดําเนินงานท่ีอาจเปนมูลเหตุของความเสียหาย (ทั้งในรูปของตัวเงิน

หรือไมใชตัวเงิน เชน ช่ือเสียง และการฟองรองจากการไมปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล หรือความคุมคา) เพื่อใหระดับความเส่ียง และขนาดของความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอยูใน

ระดับที่ยอมรับและควบคุมได โดยคํานึงถึงการเรียนรูวิธีการปองกันจากการคาดการณปญหาลวงหนาและ

โอกาสในการเกิด เพื่อปองกันหรือบรรเทาความรุนแรงของปญหา รวมท้ังการมีแผนสํารองตอภาวะฉุกเฉิน

เพื่อใหม่ันใจวาระบบงานตาง ๆ มีความพรอมใชงาน มีการปรับปรุงระบบอยางตอเนื่องและทันตอการ

เปล่ียนแปลงเพื่อการบรรลุเปาหมายของสถาบันตามยุทธศาสตรหรือกลยุทธเปนสําคัญ เกณฑมาตรฐาน

1. มีการแตงต้ังคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเส่ียง โดยมีผูบริหารระดับสูงและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสถาบันรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํางาน

2. มีการวิเคราะหและระบุความเส่ียง และปจจัยที่กอใหเกิดความเส่ียงอยางนอย 3 ดาน ตาม

บริบทของสถาบัน จากตัวอยางตอไปนี้

- ความเสี่ยงดานทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร

สถานที่)

- ความเส่ียงดานยุทธศาสตร หรือกลยุทธของสถาบัน

- ความเส่ียงดานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

- ความเส่ียงดานการปฏิบัติงาน เชน ความเส่ียงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การ

บริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ

- ความเส่ียงดานบุคลากรและความเส่ียงดานธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของ

อาจารยและบุคลากร

- ความเส่ียงจากเหตุการณภายนอก

3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเส่ียงและจัดลําดับความเส่ียงที่ไดจากการวิเคราะหในขอ 2

4. มีการจัดทําแผนบริหารความเส่ียงที่มีระดับความเส่ียงสูง และดําเนินการตามแผน

5. มีการติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามแผน และรายงานตอสภาสถาบันเพื่อ

พิจารณาอยางนอยปละ 1 คร้ัง

Page 76: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

71

6. มีการนําผลการประเมิน และขอเสนอแนะจากสภาสถาบันไปใชในการปรับแผนหรือวิเคราะห

ความเส่ียงในรอบปถัดไป หมายเหต ุ

คะแนนการประเมินจะเทากับ 0 หากพบวาเกิดเหตุการณรายแรงขึ้นภายในสถาบันในรอบปการ

ประเมิน ที่สงผลกระทบตอชีวิตและความปลอดภัยของนักศึกษา คณาจารย บุคลากร หรือตอชื่อเสียง

ภาพลักษณ หรือตอความม่ันคงทางการเงินของสถาบัน อันเนื่องมาจากความบกพรองของสถาบันในการควบคุม

หรือจัดการกับความเส่ียง หรือปจจัยเส่ียงที่ไมมีประสิทธิภาพเพียงพอโดยมีหลักฐานประกอบท่ีชัดเจน

ตัวอยางความเส่ียงรายแรงท่ีใหผลประเมินเปนศูนย (0) คะแนน เชน

1. มีการเสียชีวิตและถูกทํารายรางกายหรือจิตใจอยางรุนแรงของนักศึกษา คณาจารยบุคลากรภายใน

สถาบัน ทั้งๆ ที่อยูในวิสัยที่สถาบันสามารถปองกันหรือลดผลกระทบในเหตุการณที่เกิดขึ้นได แตไมพบแผนการ

จัดการความเส่ียงหรือไมพบความพยายามของสถาบันในการระงับเหตุการณดังกลาว

2. สถาบันหรือหนวยงานเส่ือมเสียช่ือเสียงหรือมีภาพลักษณที่ไมดี อันเนื่องมาจากปจจัยตางๆ เชน

คณาจารย นักวิจัยหรือบุคลากรขาดจริยธรรม จรรยาบรรณการไมปฏิบัติตามมาตรฐานหรือกฎกระทรวง และ

เกิดเปนขาวปรากฏใหเห็นตามส่ือตาง เชน หนังสือพิมพ ขาว online เปนตน

3. สถาบันหรือหนวยงานขาดสภาพคลองในดานการเงินจนทําใหตองปดหลักสูตรหรือไมสามารถ

ปฏิบัติตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดสงผล

กระทบตอนักศึกษาปจจุบันที่เรียนอยูอยางรุนแรง เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 หรือ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ หลักการ

การเงินและงบประมาณเปนส่ิงที่สําคัญอยางหน่ึงของสถาบันอุดมศึกษา ไมวาแหลงเงินทุนของ

สถาบันอุดมศึกษาจะไดมาจากงบประมาณแผนดิน (สําหรับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) หรือเงินรายไดของ

สถาบัน เชน คาหนวยกิต คาธรรมเนียม คาบํารุงการศึกษาตางๆ ของนักศึกษา รายไดจากงานวิจัย บริการทาง

วิชาการ คาเชาทรัพยสิน ฯลฯ ผูบริหารสถาบันจะตองมีแผนการใชเงินที่สะทอนความตองการใชเงินเพื่อการ

ดําเนินงานตามแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติงานประจําปของสถาบันไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําความเขาใจกับ

การวิเคราะหทางการเงิน เชน คาใชจายทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษา ทรัพยสินถาวรตอจํานวนนักศึกษา คาใชจาย

ที่สถาบันใชสําหรับการผลิตบัณฑิตตอหัว จําแนกตามกลุมสาขา รายไดทั้งหมดของสถาบันหลังจากหักงบ

(คาใชจาย) ดําเนินการท้ังหมด งบประมาณในการพัฒนาอาจารย ความรวดเร็วในการเบิกจาย รอยละของ

งบประมาณที่ประหยัดไดหลังจากที่ปฏิบัติตามภารกิจทุกอยางครบถวน ส่ิงเหลานี้จะเปนการแสดงศักยภาพเชิง

การบริหารจัดการดานการเงินของสถาบันที่เนนถึงความโปรงใส ความถูกตอง ใชเม็ดเงินอยางคุมคา มี

Page 77: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

72

ประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุด

มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ 1. แผนพัฒนาดานการเงินระดับอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

2. แผนปฏิบัติงานประจําปของสถาบัน

3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2551 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

4. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสามพ.ศ.2553 สํานักงาน

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.)

5. มาตรฐานแผนการปฏิบัติราชการของสํานักงบประมาณ

6. รายงานงบประมาณแผนดิน (สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) และเงินรายได

ตัวบงช้ี จํานวน 1 ตัวบงชี้ 1.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

ตัวบงช้ีที่ 8.1 : ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : สถาบันอุดมศึกษาจะตองมีระบบในการจัดหาและจัดสรรเงินอยางมี

ประสิทธิภาพ จะตองมีแผนกลยุทธทางดานการเงินซ่ึงเปนแผนจัดหาเงินทุนจากแหลงเงินทุนตาง ๆ ที่สามารถ

ผลักดันแผนกลยุทธของสถาบันใหสามารถดําเนินการได มีการวิเคราะหรายได คาใชจายของการดําเนินงาน ทั้ง

จากงบประมาณแผนดินและเงินรายไดอื่น ๆ ที่สถาบันไดรับ มีการจัดสรรงบประมาณและการจัดทํารายงาน

ทางการเงินอยางเปนระบบครบทุกพันธกิจ มีระบบการตรวจสอบการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ รายงานทาง

การเงินตองแสดงรายละเอียดการใชจายในทุกพันธกิจ โครงการ กิจกรรม เพื่อใหสามารถวิเคราะหสถานะทาง

การเงินและความม่ันคงของสถาบันได เกณฑมาตรฐาน

1. มีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับแผนกลยุทธของสถาบัน

2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน หลักเกณฑการจัดสรร และการวางแผนการใชเงิน

อยางมีประสิทธภิาพ โปรงใส ตรวจสอบได

3. มีงบประมาณประจําปที่สอดคลองกับแผนปฎิบัติงานในแตละพันธกิจและการพัฒนาสถาบันและบุคลากร

4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ และรายงานตอสภาสถาบันอยางนอยปละ 2

คร้ัง

5. มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะทางการเงิน

และความม่ันคงของสถาบันอยางตอเนื่อง

6. มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจ ติดตามการใชเงินใหเปนไปตาม

ระเบียบและกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด

7. ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจาก

รายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ

Page 78: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

73

หมายเหต ุ แผนกลยุทธทางการเงิน เปนแผนระยะยาวท่ีระบุที่มาและใชไปของทรัพยากรทางการเงินของสถาบันที่

สามารถผลักดันแผนกลยุทธของสถาบันใหสามารถดําเนินการได แผนกลยุทธทางการเงินจะสอดรับไปกับแผน

กลยุทธของสถาบัน สถาบันควรประเมินความตองการทรัพยากรท่ีตองจัดหาสําหรับการดําเนินงานตามกลยุทธ

แตละกลยุทธและประเมินมูลคาของทรัพยากรออกมาเปนเงินทุนที่ตองการใช ซึ่งจะเปนความตองการเงินทุนใน

ระยะยาวเทากับเวลาท่ีสถาบันใชในการดําเนินการใหกลยุทธนั้นบังเกิดผล จากน้ันจึงจะกําหนดใหเห็นอยาง

ชัดเจนถึงที่มาของเงินทุนที่ตองการใชวาสามารถจัดหาไดจากแหลงเงินทุนใด เชน รายไดคาธรรมเนียมการศึกษา

งบประมาณแผนดินหรือเงินอุดหนุนจากรัฐบาล เงินทุนสะสมของหนวยงาน เงินบริจาคจากหนวยงานภายนอก

หรือศิษยเกา หรือสถาบันจะตองมีการระดมทุนดวยวิธีการอื่นๆ อีกเพิ่มเติมระยะเวลาของแผนกลยุทธทาง

การเงินจะเทากับระยะเวลาของแผนกลยุทธของสถาบัน เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ หลักการ

ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนปจจัยสําคัญที่แสดงถึงศักยภาพการ

พัฒนาคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา โดยตองครอบคลุมทั้งปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ และ

ผลกระทบที่เกิดขึ้น สถาบันอุดมศึกษาจะตองพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในอยาง

ตอเนื่อง และมีกระบวนการจัดการความรู เพื่อใหเกิดนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เปน

ลักษณะเฉพาะของสถาบัน มาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวของ

1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

2. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) สํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษา

3. กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา

4. มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2547 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

5. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

6. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2551 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

7. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 (Thai Qualification

Framework for Higher Education) (TQF: HEd.) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

8. เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 สํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา

Page 79: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

74

9. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สํานักงาน

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.)

ตัวบงช้ี จํานวน 1 ตัวบงชี้

9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ตัวบงช้ีที่ 9.1 : ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา

ตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่ง

สถาบันตองสรางระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ ประเมินและพัฒนาการดําเนินงานของสถาบันให

เปนไปตามนโยบาย เปาประสงค และระดับคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนดโดยสถาบันและหนวยงานตนสังกัด

ตลอดจนหนวยงานที่เก่ียวของมีการวัดผลสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน รวมทั้งการรายงานผล

การประกันคุณภาพตอหนวยงานท่ีเก่ียวของ และเปดเผยตอสาธารณชน มีการประเมินและปรับปรุงอยาง

ตอเนื่อง และมีนวัตกรรมที่เปนแบบอยางที่ดี การประกันคุณภาพการศึกษาภายในถือเปนสวนหนึ่งของกระบวนการ

บริหารการศึกษาท่ีตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการสรางจิตสํานึกใหเห็นวาเปนความรับผิดชอบรวมกัน

ของทุกคนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเปนหลักประกันแกสาธารณชนใหม่ันใจไดวาสถาบัน

สามารถ สรางผลผลิตทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ เกณฑมาตรฐานทั่วไป

1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับ

พันธกิจและพัฒนาการของสถาบัน ต้ังแตระดับภาควิชาหรือหนวยงานเทียบเทา และดําเนินการตามระบบท่ี

กําหนด

2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเร่ืองการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดย

คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบัน

3. มีการกําหนดตัวบงชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณของสถาบัน

4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครบถวน ประกอบดวย 1) การ

ควบคุม ติดตามการดําเนินงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานประเมิน

คุณภาพเสนอตอสภาสถาบันและสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามกําหนดเวลา โดยเปนรายงาน ที่

มีขอมูลครบถวนตามที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดใน CHE QA Online และ 3) การ นําผล

การประเมินคุณภาพไปทําแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบัน 5. มีการนําผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุงการทํางาน และสงผลใหมีการ

พัฒนาผลการดําเนินงานของตัวบงชี้ตามแผนกลยุทธทุกตัวบงชี้

6. มีระบบสารสนเทศที่ใหขอมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในครบทั้ง 9

องคประกอบคุณภาพ 7. มีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะนักศึกษา

Page 80: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

75

ผูใชบัณฑิต และผูใชบริการตามพันธกิจของสถาบัน 8. มีเครือขายการแลกเปล่ียนเรียนรูดานการประกันคุณภาพการศึกษาระหวางสถาบัน และมี

กิจกรรมรวมกัน 9. มีแนวปฏิบัติที่ดีหรืองานวิจัยดานการประกันคุณภาพการศึกษาที่หนวยงานพัฒนาข้ึน และ

เผยแพรใหหนวยงานอื่นนําไปใชประโยชน เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 หรือ 8 ขอ

องคประกอบคุณภาพ ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) ตัวบงช้ีที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป คําอธิบาย บัณฑิตปริญญาตรีที่สําเร็จการศึกษาในหลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษ และภาคนอกเวลาในสาขาน้ันๆ

ที่ไดงานทํา หรือมีกิจกรรมของตนเองที่มีรายไดประจํา ภายในระยะเวลา 1 ป นับจากวันที่สําเร็จการศึกษา เม่ือ

เทียบกับบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาในปการศึกษานั้น

การนับการมีงานทํา สามารถนับกรณกีารทํางานสุจริตทุกประเภทที่สามารถสรางรายไดเขามาประจํา

เพื่อเล้ียงชีพตนเอง โดยการนับจํานวนผูมีงานทําของผูสําเร็จการศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนในภาคพิเศษหรือภาค

นอกเวลาใหนับเฉพาะผูที่เปล่ียนใหมหลังสําเร็จการศึกษาเทานั้น วิธีการคํานวณ จํานวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป X 100

จํานวนบัณฑิตที่ตอบแบบสํารวจทั้งหมด หมายเหต ุ ไมนับรวมบัณฑิตที่มีงานทํากอนเขาศึกษาหรือมีกิจกรรมของตนเองที่มีรายไดประจําอยูแลว และผูที่

ศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษา(หักออกทั้งตัวต้ังและตัวหาร) เกณฑการใหคะแนน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ กําหนดรอยละ 100 เทากับ 5 คะแนน

Page 81: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

76

ตัวบงช้ีที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาติ คําอธิบาย คุณภาภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (TQF:HEd.หรือ

Thai Qualifications Framework for Higher Education) หมายถึง คุณลักษณะของบัณฑิตระดับปริญญาตรี

ปริญญาโทและปริญญาเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ สกอ.ระบุ โดยเปน

คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคตามที่สถาบันกําหนด ครอบคลุมอยางนอย 5 ดาน คือ 1) ดานคุณธรรม

จริยธรรม 2) ดานความรู 3)ดานทักษะทางปญญา 4) ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ และ5) ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้ง TQF

ตามสาขาวิชาชีพที่ประกาศใชตลอดจนสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคที่สภาหรือองคกร

วิชาชีพกําหนดเพิ่มเติม หรือสอดคลองกับความตองการของผูใชบัณฑิต

กรณีที่เปนวิชาชีพที่มีการเพิ่มเติมคุณลักษณะของบัณฑิตที่เพิ่มเติมจากกรอบมาตรฐานท้ัง 5 ดาน ตอง

ทําการประเมินครบทุกดาน วิธีการคํานวณ ผลรวมของคาคะแนนที่ไดจากการประเมินบัณฑิต

จํานวนบัณฑิตที่ไดรับการประเมินทั้งหมด เกณฑการใหคะแนน ใชคาเฉล่ียของคะแนนประเมินบัณฑิต(คะแนนเต็ม 5) ตัวบงช้ีที่ 3 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร คําอธิบาย ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพรเปนปจจัยสําคัญของ

คุณภาพของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่แสดงถึงความเปนผูนําทางความคิดความสามารถดานการคิด

เชิงวิพากษการนําเสนอผลงาน มีทักษะในการวิจัย ทักษะและภูมิปญญาในฐานะนักวิชาการและนักวิชาชีพขั้น

สูง

ผลงานผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หมายถึง บทความวิจัยของวิทยานิพนธ สารนิพนธที่

ตีพิมพ หรือศิลปะนิพนธที่เผยแพร

การตีพิมพ หมายถึง การตีพิมพบทความจากวิทยานิพนธ สารนิพนธ ในวารสารวิชาการ(Journal) ใน

ระดับชาติหรือนานาชาติที่ปรากฏในฐานขอมูลที่กําหนด รวมถึงบทความวิจัยฉบับสมบูรณ (Full Paper) ที่

ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติตามเงื่อนไขที่กําหนด

บทความจากวิทยานิพนธ สารนิพนธ ที่ไดรับการตีพิมพและสามารถนํามานับไดมีเฉพาะ Article หรือ

Conference Paper หรือ Review เทานั้น สวนบทความท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนั้น

สามารถนํามานับไดเฉพาะท่ีเปนบทความวิจัยฉบับสมบูรณ (Full Paper)

การเผยแพร หมายถึง การเผยแพรงานสรางสรรคจากศิลปะนิพนธ โดยการจัดนิทรรศการ

(Exhibition)หรือ จัดการแสดง (Performance) ซึ่งเปนการนําเสนอผลงาน หรือส่ิงประดิษฐทางศิลปะ ดนตรี ที่

เปนงานวิชาการ(นอกเหนือจากงานวิจัย) สูสาธารณะและ/หรือกลุมเปาหมาย โดยมีการจัดการนําเสนอใน

ระดับชาติหรือนานาชาติอยางเปนระบบและเปนวิธีการที่ยอมรับในวงวิชาชีพ หรือไดรับการสนับสนุนจากองคกร

Page 82: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

77

สมาคมที่เก่ียวของและมีชื่อเสียงในระดับชาติหรือนานาชาติ และมีกระบวนการประเมินคุณคาของผลงานในการ

เผยแพร เชน

- มีคณะกรรมการผูพิจารณากล่ันกรองคุณภาพของผลงานกอนเผยแพร ซึ่งอาจประกอบดวย ศิลปน

ระดับชาติ ผูทรงคุณวุฒิ และนักวิชาการที่เปนที่ยอมรับในวงวิชาการ

- การประกวด มีรางวัลรับรองคุณภาพจากหนวยงานที่มีคุณภาพ และท่ีเปนที่ยอมรับในวงวิชาการ วิธีการคํานวณ ผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานที่ตีพิมพหรือเผยแพร

ของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท X 100

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด เกณฑการประเมิน กําหนดระดับคุณภาพบทความวิจัยที่ตีพิมพ ดังนี้

คาน้ําหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย

0.125 บทความวิจัยฉบับสมบูรณ (Full Paper)ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ

ระดับชาติที่มีกองบรรณาธิการจัดทํารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุมกอบดวย

ศาสตราจารย หรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผูทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเปนที่ยอมรับใน

สาขาน้ันๆ จากนอกสถาบันเจาภาพอยางนอยรอยละ 25 และมีผูประเมินบทความที่เปน

ผูเช่ียวชาญในสาขานั้นจากนอกสถาบันของเจาของบทความ

0.25 บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับชาติที่ปรากฏใน

ฐานขอมูล TCI หรือ บทความวิจัยฉบับสมบูรณ(Full Paper)ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการ

ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ที่มีกองบรรณาธิการจัดทํารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัด

ประชุมประกอบดวยศาสตราจารยหรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผูทรงคุณวุฒิที่มี

ผลงานเปนที่ยอมรับในสาขาน้ันๆจากตางประเทศอยางนอยรอยละ 25และมีผูประเมินบทความ

ที่เปนผูเช่ียวชาญในสาขานั้น จากตางประเทศ

0.50 บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ(Journal)ที่มีชื่อปรากฏอยูในบัญชี

รายชื่อวารสารระดับชาติที่ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพรใน Web siteของ

สํานักงานฯ

0.75 บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติที่

ปรากฏในฐานขอมูลสากลอื่นๆ ที่ยอมรับในศาสตรนั้นนอกเหนือจากฐานขอมูล ISI หรือบทความ

จากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสาร(Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยูในบัญชีรายชื่อวารสาร

ระดับนานาชาติที่ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพรใน Web siteของสํานักงานฯ

1.00 บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ(Journal) ระดับนานาชาติที่ปรากฏ

ในฐานขอมูลสากล ISI

Page 83: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

78

กําหนดระดับแหลงเผยแพรงานสรางสรรคดังนี้

คาน้ําหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย

0.125 มีการเผยแพรโดยการจัดนิทรรศการ(Exhibition)หรือการจัดการแสดง(Performance) ระดับ

สถาบันหรือจังหวัด

0.25 มีการเผยแพรโดยการจัดนิทรรศการ(Exhibition)หรือการจัดการแสดง(Performance) ระดับชาติ

0.50 มีการเผยแพรโดยการจัดนิทรรศการ(Exhibition)หรือการจัดการแสดง(Performance) ระดับ

ความรวมมือระหวางประเทศ

0.75 มีการเผยแพรโดยการจัดนิทรรศการ(Exhibition)หรือการจัดการแสดง(Performance)ระดับ

ภูมิภาคอาเซียน*

1.00 มีการเผยแพรโดยการจัดนิทรรศการ(Exhibition)หรือการจัดการแสดง(Performance) ระดับ

นานาชาติ (ทั้งในและนอกประเทศ)

* อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแหงเอเซียนตะวันออกเฉียงใต(Association of South East

Asian Nations) มี 10 ประเทศ ไดแก กัมพูชา ไทยา บรูไน พมา ฟลิปปนส มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปรและ

อินโดนีเซีย เกณฑการใหคะแนน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ กําหนดรอยละ 50 เทากับ 5 คะแนน ทุกกลุมสาขาวิชา ตัวบงช้ีที่ 4. ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ไดรับการตีพิมพ คําอธิบาย ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกท่ีไดรับการตีพิมพเปนปจจัยสําคัญของคุณภาพของ

ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่แสดงถึงความเปนผูนําทางความคิด ความสามารถดานการคิดเชิงวิพากษ

การนําเสนอผลงาน มีทักษะในการวิจัย ทักษะและภูมิปญญาในฐานะนักวิชาการและนักวิชาชีพขั้นสูง

ผลงานของผู สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก หมายถึง บทความจากผลงานวิจัยหรือ

วิทยานิพนธปริญญาเอกที่ตีพิมพ

การตีพิมพ หมายถึง การตีพิมพบทความจากวิทยานิพนธ ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับชาติหรือ

นานาชาติที่ปรากฏในฐานขอมูลที่กําหนด รวมถึงบทความวิจัยฉบับสมบูรณ (Full Paper) ที่ตีพิมพในรายงาน

สืบเนื่องจาการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติตามเงื่อนไขที่กําหนด

บทความจากวิทยานิพนธ ที่ ได รับการตีพิมพและสามารถนํามานับได มีเฉพาะ Article หรือ

Conference Paper หรือ Review เทานั้น สวนบทความท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนั้น

สามารถนํามานับไดเฉพาะท่ีเปนบทความวิจัยฉบับสมบูรณ (Full Paper) เทานั้น วิธีการคํานวณ ผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานที่ตีพิมพของผูสําเร็จการศึกษา

ระดับปริญญาเอก X 100

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด

Page 84: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

79

เกณฑการประเมิน กําหนดระดับคุณภาพบทความวิจัยที่ตีพิมพ ดังนี้

คาน้ําหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย

0.125 บทความวิจัยฉบับสมบูรณ (Full Paper)ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ

ระดับชาติที่ มีกองบรรณาธิการจัดทํารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุมกอบดวย

ศาสตราจารย หรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผูทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเปนที่ยอมรับใน

สาขานั้นๆ จากนอกสถาบันเจาภาพอยางนอยรอยละ 25 และมีผูประเมินบทความท่ีเปน

ผูเช่ียวชาญในสาขานั้นจากนอกสถาบันของเจาของบทความ

บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับชาติที่ปรากฏใน

ฐานขอมูล TCI หรือ บทความวิจัยฉบับสมบูรณ(Full Paper)ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการ

ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ที่มีกองบรรณาธิการจัดทํารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัด

ประชุมประกอบดวยศาสตราจารยหรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผูทรงคุณวุฒิที่มี

ผลงานเปนที่ยอมรับในสาขาน้ันๆจากตางประเทศอยางนอยรอยละ 25และมีผูประเมินบทความ

ที่เปนผูเช่ียวชาญในสาขานั้น จากตางประเทศ

0.50 บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ(Journal)ที่มีชื่อปรากฏอยูในบัญชี

รายชื่อวารสารระดับชาติที่ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพรใน Web siteของ

สํานักงานฯ

0.75 บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติที่

ปรากฏในฐานขอมูลสากลอื่นๆ ที่ยอมรับในศาสตรนั้นนอกเหนือจากฐานขอมูล ISI หรือบทความ

จากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสาร(Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยูในบัญชีรายช่ือวารสาร

ระดับนานาชาติที่ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพรใน Web siteของสํานักงานฯ

1.00 บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ(Journal) ระดับนานาชาติที่ปรากฏ

ในฐานขอมูลสากล ISI

เกณฑการใหคะแนน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ กําหนดรอยละ 100 เทากับ 5 คะแนน

Page 85: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

80

ตัวบงช้ีที่ 5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร คําอธิบาย การวิจัยเปนพันธกิจหนึ่งที่สําคัญของของสถาบันอุดมศึกษา การดําเนินการตามพันธกิจอยางมี

ประสิทธิภาพและประสบการความสําเร็จ สามารถพิจารณาไดจากผลงานวิจัยและงานสรางสรรคทีมีคุณภาพ

และมีการเผยแพรอยางขวางจากการเปรียบเทียบจํานวนบทความวิจัยที่ตีพิมพและจํานวนผลงานสรางสรรคที่

เผยแพรในระดับชาติหรือระดับนานาชาติของอาจารยประจําและนําวิจัยประจํา

การตีพิมพ หมายถึง การตีพิมพบทความจากผลงานวิจัยในวารสารวิชาการ (Journal) ในระดับชาติ

หรือนานาชาติที่ปรากฏในฐานขอมูลที่กําหนด รวมถึงบทบาทความวิจัยฉบับสมบูรณ (Full Paper) ที่ตีพิมพใน

รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติเงื่อนไขที่กําหนด

บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพที่สามารถนํามานับไดมีเฉพาะ Article หรือ Conference

Paper หรือ Review เทานั้น สวนบทความจากผลงานวิจัยที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนั้น

สามารถนํามานับไดเฉพาะท่ีเปน บทความวิจัยฉบับสมบูรณ (Full Paper) เทานั้น

การเผยแพร หมายถึง การเผยแพรงานสรางสรรค โดยการจัดนิทรรศการ(Exhibition)หรือ จัดการ

แสดง (Performance) ซึ่งเปนการนําเสนอผลงาน ศิลปะแขนงตางๆ อาทิ ผลงานศิลปะ ดนตรี และแสดงที่เปน

ผลงานวิชาการ(นอกเหนือจากงานวิจัย)สูสาธารณะและ/หรือกลุมเปาหมาย โดยมีการจัดการนําเสนอใน

ระดับชาติหรือนานาชาติอยางเปนระบบและเปนวิธีการที่ยอมรับในวงวิชาชีพ หรือไดรับการสนับสนุนจากองคกร

สมาคมที่เก่ียวของและมีชื่อเสียงในระดับชาติหรือนานาชาติ และมีกระบวนการประเมินคุณคาของผลงานในการ

เผยแพร เชน

- มีคณะกรรมการผูพิจารณากล่ันกรองคุณภาพของผลงานกอนเผยแพร ซึ่งอาจประกอบดวย ศิลปน

ระดับชาติ ผูทรงคุณวุฒิ และนักวิชาการที่เปนที่ยอมรับในวงวิชาการ

- การประกวด มีรางวัลรับรองคุณภาพจากหนวยงานที่มีคุณภาพ และท่ีเปนที่ยอมรับในวงวิชาการ วิธีการคํานวณ ผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรค

ที่ตีพิมพหรือเผยแพร X 100

อาจารยประจําและนักวิจัยประจําทั้งหมด

Page 86: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

81

เกณฑการประเมิน กําหนดระดับคุณภาพบทความวิจัยที่ตีพิมพ ดังนี้

คาน้ําหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย

0.125 บทความวิจัยฉบับสมบูรณ (Full Paper)ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ

ระดับชาติที่ มีกองบรรณาธิการจัดทํารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุมกอบดวย

ศาสตราจารย หรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผูทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเปนที่ยอมรับใน

สาขานั้นๆ จากนอกสถาบันเจาภาพอยางนอยรอยละ 25 และมีผูประเมินบทความท่ีเปน

ผูเช่ียวชาญในสาขานั้นจากนอกสถาบันของเจาของบทความ

0.25 บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับชาติที่ปรากฏใน

ฐานขอมูล TCI หรือ บทความวิจัยฉบับสมบูรณ(Full Paper)ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการ

ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ที่มีกองบรรณาธิการจัดทํารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัด

ประชุมประกอบดวยศาสตราจารยหรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผูทรงคุณวุฒิที่มี

ผลงานเปนที่ยอมรับในสาขาน้ันๆจากตางประเทศอยางนอยรอยละ 25และมีผูประเมินบทความ

ที่เปนผูเช่ียวชาญในสาขานั้น จากตางประเทศ

0.50 บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ(Journal)ที่มีชื่อปรากฏอยูในบัญชี

รายชื่อวารสารระดับชาติที่ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพรใน Web siteของ

สํานักงานฯ

0.75 บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติที่

ปรากฏในฐานขอมูลสากลอื่นๆ ที่ยอมรับในศาสตรนั้นนอกเหนือจากฐานขอมูล ISI หรือบทความ

จากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสาร(Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยูในบัญชีรายช่ือวารสาร

ระดับนานาชาติที่ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพรใน Web siteของสํานักงานฯ

1.00 บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ(Journal) ระดับนานาชาติที่ปรากฏ

ในฐานขอมูลสากล ISI

กําหนดระดับแหลงเผยแพรงานสรางสรรคดังนี้

คาน้ําหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย

0.125 มีการเผยแพรโดยการจัดนิทรรศการ(Exhibition)หรือการจัดการแสดง(Performance) ระดับ

สถาบันหรือจังหวัด

0.25 มีการเผยแพรโดยการจัดนิทรรศการ(Exhibition)หรือการจัดการแสดง(Performance) ระดับชาติ

0.50 มีการเผยแพรโดยการจัดนิทรรศการ(Exhibition)หรือการจัดการแสดง(Performance) ระดับ

ความรวมมือระหวางประเทศ

0.75 มีการเผยแพรโดยการจัดนิทรรศการ(Exhibition)หรือการจัดการแสดง(Performance)ระดับ

ภูมิภาคอาเซียน*

1.00 มีการเผยแพรโดยการจัดนิทรรศการ(Exhibition)หรือการจัดการแสดง(Performance) ระดับ

นานาชาติ (ทั้งในและนอกประเทศ)

Page 87: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

82

* อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแหงเอเซียตะวันออกเฉียงใต(Association of South East

Asian Nations) มี 10 ประเทศ ไดแก กัมพูชา ไทยา บรูไน พมา ฟลิปปนส มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปรและ

อินโดนีเซีย เกณฑการใหคะแนน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ โดยกําหนดรอยละเทากับ 5 คะแนน จําแนกตามกลุมสาขาวิชา ดังนี้

กลุมสาขาวิชา 5 คะแนน

วิทยาศาสตรสุขภาพ 20

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 20

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 10

ตัวบงช้ีที่ 6 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน คําอธิบาย การวิจัยเปนพันธกิจหนึ่งที่สําคัญของของสถาบันอุดมศึกษา การดําเนินการตามพันธกิจอยางมี

ประสิทธิภาพและประสบความสําเร็จนั้น สามารถพิจารณาไดจากผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่มีคุณภาพ

และมีประโยชนสูการนําไปใชจากการเปรียบเทียบจํานวนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคของอาจารยประจําและ

นักวิจัยประจําที่นําไปใชประโยชนในการแกปญหาตามวัตถุประสงคที่ระบุไวในโครงการวิจัยและรายงานการวิจัย

โดยไดรับการรับรองการใชประโยชนจากหนวยงานที่เก่ียวของของอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

การนําไปใชประโยชนของงานวิจัย เปนการนําไปใชประโยชนตามวัตถุประสงคที่ระบุไวในโครงการ

โครงการวิจัย และรายงานการวิจัยอยางถูกตอง สามารถนําไปสูการแกปญหาไดอยางเปนรูปธรรมกับ

กลุมเปาหมาย โดยมีหลักฐานปรากฏอยางชัดเจนถึงการนําไปใชจนกอใหเกิดประโยชนไดจริงตามวัตถุประสงค

และไดการรับรองการใชประโยชนจากหนวยงานที่เก่ียวของ

การนําไปใชประโยชนของงานสราง จะตองปรากฏชัดตามที่ระบุไวในวัตถุประสงคของโครงการ

สรางสรรค ซึ่งไดนําเสนอรายงานขั้นตอนการสรางสรรค ผานการวิเคราะหและสรุปผลตามผลงานอยางเปนระบบ

สามารถนําผลงานและรายงานการดําเนินงานไปใชเปนประโยชนไดจริงตามวัตถุประสงค และไดนําเสนอผลการ

นําไปใชจากผูที่เก่ียวของ เชน สถาบันการศึกษา สถาบันศิลปะ เปนตน วิธีการคํานวณ

ผลรวมของจํานวนวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน X 100

อาจารยประจําและนักวิจัยประจําทั้งหมด เกณฑการใหคะแนน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ โดยกําหนดรอยละ 20 เทากับ 5 คะแนน ทุกกลุมสาขาวิชา ตัวบงช้ีที่ 7 ผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพ คําอธิบาย ผลงานวิชาการท่ีมีคุณภาพ สะทอนถึงสมรรถนะในการศึกษา คนควา สังเคราะห วิจัย การปฏิบัติจริง

และไดนําไปใชในการแกปญหา หรือพัฒนางานในหนาที่จนเกิดผลดีตอการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

และเปนประโยชนตอความกาวหนาทางวิชาการ

Page 88: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

83

วิธีการคํานวณ

ผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานวิชาการท่ีไดรับรองคุณภาพ X 100

อาจารยประจําละนักวิจัยประจําทั้งหมด เกณฑการประเมิน กําหนดระดับคุณภาพผลงานวิชาการ ดังนี้

คาน้ําหนัก ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ

0.25 บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสาระดับชาติ

0.50 บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ

0.75 ตําราหรือหนังสือที่มีการตรวจอานโดยผูทรงคุณวุฒิ

1.00 ตําราหรือหนังสือที่ใชในการขอผลงานทางวิชาการและผานการพิจารณาตามเกณฑการขอ

ตําแหนงทางวิชาการแลว หรือตําราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผูทรงคุณวุฒิตรวจอานตาม

เกณฑการขอตําแหนงทางวิชาการ

เกณฑการใหคะแนน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ โดยกําหนดรอยละ 10 เทากับ 5 คะแนน ทุกกลุมสาขาวิชา ตัวบงช้ีที่ 8 การนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย คําอธิบาย การใหบริการวิชาการ หมายถึง การที่สถาบันการศึกษาซ่ึงอยูในฐานะที่เปนที่พึ่งของชุมชนหรือสังคม

หรือเปนแหลงอางอิงทางวิชาการ หรือทําหนาที่ใดๆ ที่มีผลตอการพัฒนาชุมชนในดานวิชาการหรือการพัฒนา

ความรูตลอดจนความเข็มแข็งประเทศชาติและนานาชาติ การบริการวิชาการเปนการบริการที่มีคาตอบแทน และ

บริการวิชาการใหเปลา โดยมีการนําความรูและประสบการณมาใชพัฒนาหรือบูรณาการเขากับการเรียนการ

สอนหรือการวิจยั อาทิ บทความ ตํารา หนังสือ รายวิชาหรือหลักสูตร เปนตน ประเด็นการพิจารณา 1. รอยละของจํานวนโครงการบริการวิชาการที่ใชกับการเรียนการสอนตอจํานวนโครงการบริการ

วิชาการทั้งหมดไมนอยกวารอยละ 10

2. รอยละของจํานวนโครงการบริการวิชาการที่ใชกับการวิจัยตอจํานวนโครงการบริการวิชาการทั้งหมด

ไมนอยกวารอยละ 10

3. รอยละของจํานวนโครงการบริการวิชาการที่ใชกับการขยายผลสูการปรับปรุงรายวิชาตอจํานวน

โครงการบริการวิชาการทั้งหมดไมนอยกวารอยละ 5

4. รอยละของจํานวนโครงการบริการวิชาการท่ีใชกับการขยายผลสูการเปดรายวิชาใหมตอจํานวน

โครงการบริการวิชาการทั้งหมดไมนอยกวารอยละ 5

5. รอยละของจํานวนโครงการบริการวิชาการที่ใชกับการตอยอดสูหนังสือหรือตําราตอจํานวนโครงการ

บริการวิชาการทั้งหมดไมนอยกวารอยละ 5

Page 89: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

84

เกณฑการใหคะแนน 1 2 3 4 5

ปฏิบัติได 1 ขอ ปฏิบัติได 2 ขอ ปฏิบัติได 3 ขอ ปฏิบัติได 4 ขอ ปฏิบัติได 5 ขอ ตัวบงช้ีที่ 9 การเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือองคกรภายนอก คําอธิบาย โครงการที่มีผลตอการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน หมายถึง โครงการทีสถาบันจัดขึ้น

เพื่อพัฒนาชุมชนหรือองคกรภายนอกและเม่ือดําเนินการแลวมีผลกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นแก

ชุมชนหรือองคกรภายนอกในดานตางๆ หรือ ทําใหชุมชนหรือองคกรภายนอกสามารถพ่ึงพาตนเองไดตาม

ศักยภาพของตน ประเด็นพิจารณา 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุภาพ (PDCA) โดยการมีสวนรวมของชุมชนหรือองคกร

2. บรรลุเปาหมายตามแผนไมตํ่ากวารอยละ 80

3.ชุมชนหรือองคกรมีผูนําหรือสมาชิกที่มีการเรียนรูและดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง

4. ชุมชนหรือองคกรสรางกลไกที่มีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องและย่ังยืน โดยคงอัตลักษณและ

วัฒนธรรมของชุมชนหรือองคกร

5. มีผลกระทบที่เกิดประโยชนสรางคุณคาตอสังคม หรือชุมชน/องคกรมีความเขมแข็ง เกณฑการใหคะแนน

1 2 3 4 5

ปฏิบัติได 1 ขอ ปฏิบัติได 2 ขอ ปฏิบัติได 3 ขอ ปฏิบัติได 4 ขอ ปฏิบัติได 5 ขอ ตัวบงช้ีที่ 10 การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม คําอธิบาย การสงเสริมและสนับสนุน หมายถึง การใหความสําคัญและการขยายขอบเขตในโครงการหรือ

กิจกรรมใหดีมีคุณภาพอยางสมบูรณขึ้นดวยปจจัยตางๆ เชน งบประมาณ วัสดุอุปกรณ อาคารสถานที่ บุคลากร

ความรู โอกาสและกําลังใจ เพื่อใหบรรลุผลตามวัตถุประสงคและเปาหมายท่ีมีความเปนไปไดอยางเปนธรรม

สามารถจะดําเนินการไดอยางตอเนื่อง ม่ันคง และย่ังยืน

ศิลปะ คือ งานสรางสรรคที่สงเสริมสรางสุนทรีย ความงาม และความสุข แกผูคน สภาพแวดลอม และ

สังคมเพื่อพัฒนาการยกระดับความมีรสนิยม ความสุนทรีย เขาใจคุณคาและความสําคัญของศิลปะ ตลอดจน

เปนแนวทางในการพัฒนาตอเนื่อง ม่ันคง และย่ังยืน

วัฒนธรรม หมายถึง ความเจริญงอกงามของมวลมนุษยที่มีพัฒนาการอยางตอเนื่อง เชน เร่ือง

ความคิด ความรูสึก ความเชื่อ ซึ่งกอใหเกิดเปนวัฒนธรรม โดยสามารถเห็นไดจากพฤติกรรมในวิถีชีวิตและสังคม

รวมทั้งผลที่เกิดจากกิจกรรมหรือผลผลิตกิจกรรมของมนุษย วัฒนธรรมมีลักษณะเฉพาะและมีลักษณะสากล

เปล่ียนแปลงตามสมัยนิยม วัฒนธรรมปจจุบันที่ดีควรมีความสอดคลองกับความเปนสากล แตมีรากฐานของ

วัฒนธรรมตนเองที่มีคุณคา สําหรับวัฒนธรรมในสถาบันอุดมศึกษา หมายถึง วัฒนธรรมท่ีแสดงความเปน

อุดมศึกษาที่ถือเปนแบบอยางที่ดีตอสังคม มีความเจริญงอกงามทางปญญา ความรู ความคิด ทัศนคติ และ

Page 90: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

85

จิตใจ การมีน้ําใจเสียสละและการมีสวนรวมกับสังคม สามารถตอการปกปองวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย และ

พัฒนาแนวทางการดํารงชีวิตทามกลางกระแสวัฒนธรรมสากลไดเหมาะสมอยางฉลาดรู

1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุภาพ (PDCA)

2. บรรลุเปาหมายตามแผนไมตํ่ากวารอยละ 80

3. มีผลกระทบที่เกิดประโยชนและสรางคุณคาตอสังคม

4. ไดรับการยกยองระดับชาติ

5. ไดรับการยกยองระดับนานาชาติ เกณฑการใหคะแนน

1 2 3 4 5

ปฏิบัติได 1 ขอ ปฏิบัติได 2 ขอ ปฏิบัติได 3 ขอ ปฏิบัติได 4 ขอ ปฏิบัติได 5 ขอ ตัวบงช้ีที่ 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม คําอธิบาย การพัฒนาสุนทรียภาพ หมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยางมีแผนท่ีเปนระบบเก่ียวกับความ

งามทางศิลปะและวัฒนธรรม ที่มีผลกระทบตอบุคคล สถาบัน สภาพแวดลอม และสังคมในแนวทางท่ีดีขึ้น โดยมี

เปาหมายที่ชัดเจน และเปนที่ยอมรับรวมกันได ผลการปรับปรุงเปล่ียนแปลงหรือสรางส่ิงใหมตองไมเปนการ

ทําลายคุณคาทางสุนทรียของศิลปะและวัฒนธรรมเดิม การพัฒนาเชิงวัฒนธรรมสามารถสรางวัฒนธรรมใหมที่

สอดคลองและเหมาะสมกับสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงและมีนวัตกรรมใหม ทั้งทางเทคโนโลยี ระบบสังคม และ

ความนิยม เพื่อใหอยูรวมกันไดอยางเขาใจมีความเจริญกาวหนาอยางสันติสุข

สุนทรียะทางศิลปะและวัฒนธรรม หมายถึง คุณคาทางความงานของศิลปะและวัฒนธรรม ที่สงผล

ตอการรับรูและความรูสึก สามารถจรรโลงจิตใจใหมีความสุข มีรสนิยม กอใหเกิดวิถีชีวิตมนุษย ที่งดงาม

สามารถอยูรวมกันในสังคมที่เขาใจและผูกพัน ตลอดจนการรับรูถึงคุณคาที่เปนรูปธรรมและนามธรรมของศิลปะ

และวัฒนธรรมเชิงประวิติศาสตรเพื่อการดํารงรักษสืบตอไป ประเด็นการพิจารณา 1. การมีสวนรวมของบุคลากรในสถาบันที่กอใหเกิดวัฒนธรรมที่ดี

2. อาคารสถานท่ี สะอาดถูกสุขลักษณะ และตกแตงอยางมีความสุนทรีย

3. ปรับแตงและรักษาภูมิทัศนในสวยงาม สอดคลองกับธรรมชาติ และเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม

4. มีพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เอื้อและสงเสริมตอการจัดกิจกรรม และมีการจัดกิจกรรมอยางสมํ่าเสมอ

5. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษาไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 เกณฑการใหคะแนน

1 2 3 4 5

ปฏิบัติได 1 ขอ ปฏิบัติได 2 ขอ ปฏิบัติได 3 ขอ ปฏิบัติได 4 ขอ ปฏิบัติได 5 ขอ ตัวบงช้ีที่ 12 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบัน คําอธิบาย สภาสถาบันอุดมศึกษาถือเปนองคกรหลักของสถาบันอุดมศึกษาที่ตองมีบทบาทในการกําหนด

นโยบายกรอบทิศทางการดําเนินงานตามอัตลักษณของสถาบันอุดมศึกษา กําหนดระบบกลไกและกระบวนการ

Page 91: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

86

ที่เปนรูปธรรมในการบริหารจัดการเพื่อใหเกิดการกํากับดูแลและขับเคล่ือนสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งการควบคุม

และตรวจสอบการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาใหเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการพัฒนาสถาบัน

อยางย่ังยืน

การประเมินผลความสําเร็จในการปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบันจะมุงเนนการประเมิน

คุณภาพในการกําหนดทิศทางกํากับดูแลขับเคล่ือนการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาตามหนาที่และบทบาท

ของสภาสถาบัน การบริหารและการจัดการตามหลักธรรมาภิบาล และการดําเนินงานตามมติการประชุมสภา

สถาบันอุดมศึกษา เกณฑการใหคะแนน ใชคาคะแนนผลการประเมินผลการดําเนินงานของสภาสถาบัน (คะแนนเต็ม 5) ตัวบงช้ีที่ 13 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารสถาบัน คําอธิบาย การประเมินผลตามหนาที่ และบทบาทของผูบริหารในการบริหารและการจัดการใหบรรลุผลสําเร็จตาม

แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติงานประจําปของสถาบันอุดมศึกษา จะมุงเนนการประเมินคุณภาพของการ

บริหารงานตามนโยบายของสภาสถาบันอุดมศึกษา ประสิทธิผลของแผนปฏิบัติการประจําป ความสามารถใน

การบริหารและการจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของผูบริหาร เกณฑการใหคะแนน ใชคาคะแนนผลการประเมินผลผูบริหารโดยคณะกรรมการท่ีสภาสถาบันแตงต้ัง (คะแนนเต็ม 5) ตัวบงช้ีที่ 14 การพัฒนาคณาจารย คําอธิบาย คุณภาพของคณาจารยเปนปจจัยสําคัญที่สงผลตอคุณภาพของผู เ รียน รวมทั้งพิจารณาจาก

ความสําเร็จของสถาบันในการสงเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพอาจารย เพื่อใหอาจารยติดตาม

ความกาวหนาทางวิชาการอยางตอเนื่อง อันจะทําใหสถาบันสามารถแขงขันไดในระดับสากล คุณภาพอาจารย

พิจารณาจากคุณวุฒิและตําแหนงทางวิชาการ เกณฑการพิจารณา กําหนดคาน้ําหนักระดับคุณอาจารย ดังนี้

วุฒิการศึกษา ตําแหนงทางวิชาการ

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก

อาจารย 0 2 5

ผูชวยศาสตราจารย 1 6 6

รองศาสตราจารย 3 5 8

ศาสตราจารย 6 8 10

วิธีการคํานวณ ผลรวมถวงน้ําหนักของอาจารยประจํา อาจารยประจําทั้งหมด

Page 92: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

87

เกณฑการใหคะแนน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ โดยกําหนดใหคาดัชนีคุณภาพอาจารยเปน 6 เทากับ 5 คะแนน ตัวบงช้ีที่ 15 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด คําอธิบาย ตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ระบุไววา

“..ใหหนวยงานตนสังกัดของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดใหมีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาน้ัน

อยางนอยหนึ่งคร้ังในทุกสามป และแจงผลใหสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปดเผยผลการติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตอสาธารณชน...” ทั้งนี้ สถานศึกษาจะดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ที่ครอบคลุมตัวบงช้ีที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือตนสังกัดกําหนด โดยจะเปนตัวบงชี้ที่เนนดาน

ปจจัยนําเขาและกระบวนการ ซึ่งผลการประเมินการประกันคุณภาพในโดยตนสังกัดนี้ จะเปนคะแนนท่ีสามารถ

สะทอนประสิทธิภาพประสิทธิผลของคุณภาพการดําเนินงานดานตางๆ ของสถาบันอุดมศึกษาได ดังนั้น ในการ

ประเมินตัวบงช้ีนี้ จะใชคาเฉล่ียคะแนนประเมินการประกันคุณภาพภายในโดยตนสังกัด โดยไมตองทําการ

ประเมินใหม วิธีการคํานวณ ผลรวมคะแนนประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโดยตนสังกัด จํานวนป หมายเหต ุ

ใชคะแนนประเมินระบบประกันคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษาระดับสถาบัน ตามที่หนวยงาน

ตนสังกัดกําหนด ยอนหลัง 3 ป ทั้งนี้ สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)เร่ิมใช

คะแนนต้ังแตปการศึกษา 2553 (เนื่องจากใชเกณฑการประเมินใหม) เชน

- ประเมินป 2554 ใชคะแนนประเมิน 1 ป คือ ป 2553

- ประเมินป 2555 ใชคาเฉล่ียคะแนนประเมิน 2 ป คือ ป 2554 และ 2553

- ประเมินป 2556 ใชคาเฉล่ียคะแนนประเมิน 3 ป คือ ป 2555 , 2554 และ 2553

เกณฑการใหคะแนน

ใชคาเฉล่ียของคะแนนประเมินการประกันคุณภาพภายในโดยตนสังกัด 3 ป ยอยหลังเปนคะแนนของ

ตัวบงช้ีนี้(เนื่องจากระบบประเมินภายใน มีคะแนนเต็ม 5 เชน เดียวกับการประเมินภายนอก) ตัวบงช้ีที่ 16 ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงของการจัดตั้งสถาบัน คําอธิบาย

สถาบันอุดมศึกษาเปนสถาบันที่ผลิตกําลังคนที่มีภารกิจหลัก 4 ประการคือ การผลิตและพัฒนา

กําลังคนระดับกลางและระดับสูง การวิจัยเพื่อสรางและพัฒนาองคความรู การบริการวิชาการแกสังคมและการ

ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โดยการจัดต้ังสถาบันอุดมศึกษาทําใหเกิดความหลากหลายตามภารกิจหลัก ซึ่งจะตอง

มีความสอดคลองกับพระราชบัญญัติของสถาบันอุดมศึกษา ทั้งนี้แตละแหงมีการกําหนดปรัชญา ปณิธาน พันธ

กิจ ของสถาบันอุดมศึกษาท่ีหลากหลายตามวัตถุประสงคของการจัดต้ังสถาบันอุดมศึกษา นําไปสูการกําหนด

เปาหมายแผนการปฏิบัติงาน รวมท้ังแผนพัฒนาคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาซ่ึงทําใหไดบัณฑิตที่มี

คุณลักษณะสอดคลองกัลปปรัชญา ปณิธาน พันธกิจดังกลาว

เกณฑการพิจารณา

Page 93: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

88

1. มีการกําหนดกลยุทธการปฏิบัติงานท่ีสอดคลองกับอัตลักษณ ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและ

วัตถุประสงคของการจัดต้ังสถาบันอุดมศึกษา โดยไดรับการเห็นชอบจากสภาสถาบัน

2. มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียนและบุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธที่กําหนดอยาง

ครบถวนสมบูรณ และบุคลากรไมนอยกวารอยละ 50 ใหความรวมมือในการปฏิบัติอยางตอเนื่อง

3. มีการประเมินความพึงพอใจของประชาคมในสถาบันอุดมศึกษาโดยอยูในระดับดีไมนอยกวารอยละ

80

4. ผลการดําเนินงานบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงคของการจัด ต้ัง

สถาบันอุดมศึกษาและเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชนและสรางคุณคาตอสังคม

5. ผูเรียนมีคุณลักษณะที่สะทอนถึงอัตลักษณ ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงคของการจัดต้ัง

สถาบันอุดมศึกษาจนเปนที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ

เกณฑการใหคะแนน 1 2 3 4 5

ปฏิบัติได 1 ขอ ปฏิบัติได 2 ขอ ปฏิบัติได 3 ขอ ปฏิบัติได 4 ขอ ปฏิบัติได 5 ขอ

ตัวบงช้ีที่ 17 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน คําอธิบาย พิจารณาผลการดําเนินงานตามจุดเนน จุดเดน หรือความเช่ียวชาญเฉพาะของสถาบันที่สงผลสะทอน

เปนเอกลักษณของสถาบันซึ่งเปนผลลัพธจากการดําเนินงานของสถาบันนั้น ประเด็นการพิจารณา 1. มีการกําหนดกลยุทธการปฏิบัติงานที่สอดคลองกับจุดเนน จุดเดนหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ

สถาบันโดยไดรับการเห็นชอบจากสภาสถาบัน

2. มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียนและบุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธที่กําหนดอยาง

ครบถวนสมบูรณและบุคลากรไมนอยกวารอยละ 50 ใหความรวมมือในการปฏิบัติอยางตอเนื่อง

3. มีการประเมินความพึงพอใจของประชาชนในสถาบันอุดมศึกษาโดยอยูในระดับดีไมนอยกวารอยละ

80

4. ผลการดําเนินงานบรรลุตามจุดเนน จุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถาบันและเกิด

ผลกระทบที่เกิดประโยชนและสรางคุณคาตอสังคม

5. สถาบันมีเอกลักษณตามจุดเนนจุดเดนหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะท่ีกําหนดและไดรับการยอมรับใน

ระดับชาติหรือนานาชาติ เกณฑการใหคะแนน

1 2 3 4 5

ปฏิบัติได 1 ขอ ปฏิบัติได 2 ขอ ปฏิบัติได 3 ขอ ปฏิบัติได 4 ขอ ปฏิบัติได 5 ขอ

Page 94: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

89

ตัวบงช้ีที่ 18 ผลการช้ีนํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในดานตางๆ คําอธิบาย

สถาบันอุดมศึกษาเลือกดําเนินการ 2 เร่ือง จากประเด็นเร่ืองที่ชี้นําหรือแกปญหาสังคมในดานตางๆ

อาทิ การสงเสริมและสืบสานโครงการกอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ความรักชาติ บํารุงศาสนาและเทิดทูน

พระมหากษัตริย สุขภาพ คานิยม จิตสาธารณะ ความคิดสรางสรรค ผูดวยโอกาสและผูสูงอายุ นโยบายรัฐบาล

เศรษฐกิจ การพรอมรับการเปนสมาชิกสังคมอาเซียน พลังงานส่ิงแวดลอม อุบัติภัย ส่ิงเสพติด ความฟุมเฟอย

การแกปญหาความขัดแยงสรางสังคมสันติสุขและความปรองดอง ตลอดจนการนอมนําหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง ใหเปนสถานศึกษาพอเพียงแบบอยางเปนตน

ทั้งนี้ประเด็นเร่ืองที่ชี้นําหรือแกปญหาสังคมในดานตางๆ ที่สถาบันอุดมศึกษาเลือกดําเนินการในแตละ

เร่ืองนั้นตองผานการเห็นชอบจากสภาสถาบัน ประเด็นการพิจารณา

1. การดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ(PDCA)

2. บรรลุเปาหมายตามแผนไมตํ่ากวารอยละ 80

3.มีผลกระทบที่เกิดประโยชนและสรางคุณคาตอสังคม

4.ไดรับการยกยองระดับชาติ

5. ไดรับการยกยองระดับนานาชาติ เกณฑการใหคะแนน

1 2 3 4 5

ปฏิบัติได 1 ขอ ปฏิบัติได 2 ขอ ปฏิบัติได 3 ขอ ปฏิบัติได 4 ขอ ปฏิบัติได 5 ขอ

Page 95: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

90

บทที่ 4 การวิเคราะหและแนวทางปฏิบัติเพ่ือใหเปนไป ตามเกณฑมาตรฐาน

การวิเคราะหและแนวทางปฏิบัติเพื่อใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานสํานกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา(สกอ.) องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ ตัวบงช้ีที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน 1. มีการจัดทําแผนกลยุทธที่สอดคลองกับนโยบายของสภาสถาบัน โดยการมีสวนรวมของบุคลากรในสถาบัน และไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน โดยเปนแผนที่เช่ือมโยงกับปรัชญาหรือปณิธานและพระราชบัญญัติสถาบัน ตลอดจนสอดคลองกับจุดเนนของกลุมสถาบัน และแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2565) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551 - 2554)

1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธานของสถาบัน หากสถาบันไดกําหนดปรัชญาหรือ

ปณิธานอยูแลวต้ังแตเร่ิมตน สถาบันควรทบทวนวาปรัชญาหรือปณิธานยังมีความเหมาะสมกับสภาพการณใน

ปจจุบันของสถาบันหรือไม หากเหมาะสมตองดําเนินการใหแนใจวาสมาชิกในสถาบันและผูมีสวนเก่ียวของได

รับทราบโดยทั่วกัน

1.2 หากตองมีการปรับแกปรัชญาหรือปณิธานของสถาบันตามสภาพการณที่เปล่ียนไป ควร

เปนการกําหนดปรัชญาหรือปณิธานรวมกันทั้งผูบริหาร อาจารยและเจาหนาที่ เพื่อเปนที่ยอมรับของทุกฝาย อัน

จะนําไปสูความรวมมือรวมใจกันปฏิบัติงานใหบรรลุผลตามปรัชญาหรือปณิธานที่ไดกําหนด รวมกัน และไดรับ

ความเห็นชอบจากสภาสถาบัน

1.3 มีการพัฒนาแผนกลยุทธใหสอดคลองกับปรัชญาหรือปณิธานและนโยบายของสภาสถาบัน

ตลอดจนพระราชบัญญัติสถาบัน จุดเนนของสถาบัน และแผนอุดมศึกษาระยะยาว รวมทั้งหลักการและมาตรฐาน

ตาง ๆ ที่เก่ียวของ โดยทําตารางวิเคราะหใหชัดเจนวาปรัชญาหรือปณิธานและนโยบายของสภาสถาบันและกล

ยุทธสอดคลองกันในประเด็นใด อยางไรหากมีประเด็นที่ไมสอดคลองควรพิจารณาปรับแกใหสอดคลอง

1.4 มีการจัดต้ังคณะกรรมการจัดทําแผนกลยุทธ (strategy) เพื่อนําสถาบันไปสูความสําเร็จที่

พึงประสงค ประกอบดวย วิสัยทัศน (vision) พันธกิจ (mission) เปาประสงค (goal) และวัตถุประสงค

(objective) คณะกรรมการควรวิเคราะหจุดแข็ง (strength) จุดออน (weakness) โอกาส (opportunity) และ

ภัยคุกคาม (threat) เพื่อนําไปสูการกําหนดกลยุทธที่ชัดเจนและครอบคลุมทุกภารกิจของสถาบัน อันไดแก การ

เรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม วิสัยทัศนและแผน

กลยุทธที่สถาบันกําหนดควรผานการประชาพิจารณรวมกันจากท้ังผูบริหาร อาจารยและเจาหนาที่ เพื่อใหเกิด

การยอมรับของทุกฝาย อันจะนําไปสูความรวมมือรวมใจกันปฏิบัติงานเพื่อใหบรรลุผลตามความมุงหวังของ

สถาบัน และไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน

Page 96: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

91

2. การถายทอดแผนกลยุทธระดับสถาบันไปสูทุกหนวยงานภายใน 2.1 มีการช้ีแจงทําความเขาใจกับผูบริหารหนวยงานยอยภายในถึงวิสัยทัศน กลยุทธและ

เปาหมายของกลยุทธ และมีการกําหนดหนวยงานภายในรับผิดชอบดําเนินงานตามแผนกลยุทธอยางเปน

ทางการ

2.2 มีการกําหนดเปาหมายในการดําเนินงานตามแผนกลยุทธของแตละหนวยงานภายในและ

มีการมอบหมายอยางเปนทางการ 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธเปนแผนปฏิบัติงานประจําปครบ 4 พันธกิจ คือ ดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

3.1 มีการจัดทําแผนท่ีกลยุทธ (Strategic map) เพื่อชวยในการแปลงแผนกลยุทธไปสูแผน

ปฎิบัติการตามกระบวนการของ Balance scorecard

3.2 มีการจัดทํารายงานผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางแผนกลยุทธกับแผนปฏิบัติ

งานประจําปทั้ง 4 พันธกิจ คือ ดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทํานุบํารุง

ศิลปวัฒนธรรม 4. มีตัวบงช้ีของแผนกลยุทธ แผนปฏิบัติงานประจําป และคาเปาหมายของแตละตัวบงช้ี เพ่ือวัดความสําเร็จของการดําเนนิงานตามแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติงานประจําป

4.1 มีการจัดทําตัวบงช้ี (KPI) พรอมทั้งเปาหมาย (target) ของแตละตัวบงชี้ที่จะใชวัด

ความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ และแผนปฏิบัติงานประจําป ทั้งนี้ ควรจัดทําพรอมกับการจัดทํา

แผนกลยุทธ และแผนปฏิบัติงานประจําป

4.2 มีกระบวนการสงเสริมใหผูบริหาร อาจารยและเจาหนาที่ผูที่เก่ียวของในการดําเนินการ

ตามตัวบงชี้เขามีสวนรวมในการจัดทําตัวบงชี้และคาเปาหมาย เพื่อใหเกิดการยอมรับของทุกฝาย อันจะนําไปสู

ความรวมมือรวมใจกันปฏิบัติงานใหบรรลุผลตามเปาหมายที่ไดกําหนดรวมกัน 5. มีการดําเนินการตามแผนปฏิบัตงิานประจําปครบ 4 พันธกิจ

สถาบันควรจัดทําปฏิทินการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานทั้ง 4 พันธกิจเพื่อใชเปนแนวทางการ

ดําเนินงานและสรางความเช่ือม่ันวาไดมีการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานในเวลาท่ีเหมาะสม 6. มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติงานประจําป อยางนอยปละ 2 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหารเพ่ือพิจารณา

มีการพัฒนาระบบการติดตามการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานวาเปนไปตามแผนหรือไม และ

ควรมีการรายงานผลการดําเนินตามตัวบงชี้เทียบกับคาเปาหมายเสนอตอผูบริหาร ในชวงเวลาหน่ึง ๆ เชน 3

เดือน หรือ 6 เดือน หากไมเปนไปตามแผนควรจะมีการวิเคราะหถึงสาเหตุและนําเสนอแนวทางการแกไขปรับปรุง 7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของแผนกลยทุธ อยางนอยปละ 1 ครั้ง และ

รายงานผลตอผูบริหารและสภาสถาบันเพ่ือพิจารณา มีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธโดยการเปรียบเทียบผลของตัวบงชี้การ

ดําเนินงานตามแผนกลยุทธกับคาเปาหมาย และนําผลการประเมินที่ไดบรรจุเขาวาระเพื่อพิจารณาในที่ประชุม

ผูบริหารสถาบันและที่ประชุมสภาสถาบันเปนประจําอยางนอยปละ 1 คร้ัง

Page 97: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

92

8. มีการนําผลการพิจารณา ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะของสภาสถาบันไปปรับปรุงแผน กลยุทธและแผนปฏิบัติงานประจําป

8.1 มีการมอบหมายผูรับผิดชอบในการดําเนินงานตามขอเสนอแนะท่ีไดรับมา และมีการ

จัดทําแผนการปรับปรุงตามขอเสนอแนะ

8.2 มีการนําแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติงานประจําปที่ไดรับการปรับปรุงเสนอสภาสถาบัน องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบงช้ีที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

1. มีระบบและกลไกการเปดหลักสูตรใหมและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบที่กําหนด

1.1 มีการกําหนดวิธีการหรือขั้นตอนในการดําเนินการเพื่อเปดหลักสูตรใหมและปรับปรุง

หลักสูตรและกําหนดหนวยงานหรือคณะกรรมการท่ีรับผิดชอบพิจารณาหลักสูตรใหมและหลักสูตรปรับปรุง

คณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรควรประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีมีความเช่ียวชาญและประสบการณ

ในสาขาวิชานั้น ๆ

1.2 การเปดหลักสูตรใหมควรมีการศึกษาความตองการบัณฑิตในสาขาวิชานั้นๆ ในตลาดงาน

วามีมากนอยเพียงใด การผลิตบัณฑิตสาขาวิชานั้น ๆ สอดคลองกับนโยบายและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติหรือไม สถาบันมีความพรอมในการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชานั้นๆ หรือไม นอกจาก

ศึกษาความตองการหรือความจําเปนแลว ควรมีการวิเคราะหทรัพยากรของการดําเนินการของหลักสูตรใหมและ

คํานวณจุดคุมทุนประกอบการขออนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย

1.3 การปรับปรุงหลักสูตรควรศึกษาความกาวหนาทางวิชาการของสาขาวิชานั้น ๆ ความ

คิดเห็นจากบัณฑิตและผูประกอบการที่รับบัณฑิตเขาทํางานเพื่อใหทราบจุดที่ควรปรับปรุงหลักสูตร

1.4 มีการเสนอหลักสูตรใหมหรือหลักสูตรที่ปรับปรุงผานการพิจารณาตามระบบท่ีสถาบัน

กําหนด เชน คณะกรรมการบริหารคณะวิชา สภาวิชาการ เปนตน และนําเสนอสภามหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณา

อนุมัติ

1.5 มีการเสนอหลักสูตรใหมหรือหลักสูตรปรับปรุงตามแบบฟอรมที่คณะกรรมการการ

อุดมศึกษากําหนด และนําเสนอตอสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาภายใน 30 วันนับจากวันที่สภา

สถาบันอนุมัติ 2.มีระบบและกลไกการปดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดยคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบที่กําหนด 2.1 มีการกําหนดหลักเกณฑ ขั้นตอนการดําเนินงานและการอนุมัติการปดหลักสูตร โดย

พิจารณาหลักสูตรที่ไมสอดคลองกับความตองการบัณฑิตในตลาดงาน หลักสูตรที่มีผูสมัครเรียนนอย หรือ

หลักสูตรที่องคความรูลาสมัยไมเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศ เปนตน

2.2 เม่ือหลักสูตรใดเขาเกณฑของการปดหลักสูตร ใหเสนอเร่ืองผานการอนุมัติของคณะกรรมการ

ตางๆ ตามที่สถาบันกําหนด เชน คณะกรรมการบริหารคณะวิชา สภาวิชาการ เปนตน และเสนอสภา

มหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาอนุมัติ รวมท้ังแจงสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาภายใน 30 วันนับจากวันที่

สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ

Page 98: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

93

3. ทุกหลักสูตรมีการดําเนินงานในเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ(การดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ หมายถึง ตองมีการประเมินผลตาม “ตัวบงช้ีผลการดําเนินงานตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา เพ่ือการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน” กรณีที่หลักสูตรใดยังไมมีประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา ใหประเมินตามตัวบงช้ีกลางที่กําหนดนาคผนวก ก) สําหรับหลักสูตรสาขาวิชาชีพตองไดรับการรับรองหลักสูตรจากสภาหรือองคกรวิชาชีพที่เกี่ยวของดวย

3.1 หลักสูตรทุกหลักสูตรที่เปดสอนตองเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร และยังตอง

ดําเนินการใหเปนไปตามเกณฑฯตลอดระยะเวลาท่ีมีการจัดการเรียนการสอน

3.2 มีการดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ และมีการประกัน

คุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง โดยกําหนดตัวบงชี้และเกณฑการประเมินที่สะทอน

การดําเนินการตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา(กรณีที่หลักสูตรใดยังไมมีประกาศมาตรฐาน

คุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชาควรประเมินตามตัวบงชี้กลาง)ทั้งในประเด็นการบริหารหลักสูตร การบริหาร

ทรัพยากรการเรียนการสอน การบริหารคณาจารย การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน การสนับสนุน

และการใหคําแนะนํานักศึกษา ความตองการของตลาดแรงงานหรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต มีการควบคุม

ติดตาม และประเมินคุณภาพตามตัวบงชี้ที่กําหนดและรายงานผลการดําเนินการตอผูเก่ียวของและสาธารณชน

3.3 สําหรับหลักสูตรสาขาวิชาชีพ ผูบริหารหลักสูตรควรทําการศึกษาอยางละเอียดและรอบคอบ

เก่ียวกับหลักเกณฑและรายละเอียดของการรับรองหลักสูตร ทั้งนี้ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรควรมี

ผูทรงคุณวุฒิจากสภาหรือองคกรวิชาชีพอยางนอย 1 คนในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และดําเนินการให

หลักสูตรไดรับการรับรองจากสภาหรือองคกรวิชาชีพที่เก่ียวของกอนการรับนักศึกษาและจัดการเรียนการสอน

และดําเนินการขอรับรองตามกําหนดเวลาอยางตอเนื่อง 4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการไดครบถวนทั้งขอ 1 ขอ 2 และ

ขอ 3ขางตนตลาดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอยางนอยตามกรอบเวลาที่กําหนดในเกณฑมาตรฐานหลักสูตรฯกรณีหลักสูตรที่ดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับใหการดําเนินงานตามตัวบงช้ีในขอ 3 ผานเกณฑการประเมิน 5 ขอแรกและอยางนอยรอยละ 80 ของตวับงช้ีที่กําหนดในแตละป ทุกหลักสูตร

4.1 สรางกลไกกํากับดูแลใหทุกหลักสูตรดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

มาตรฐานวิชาชีพ และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติตลอดเวลาท่ีจัดการศึกษา โดยจัดในรูป

ของคณะกรรมการ ทั้งนี้ อาจเปนชุดเดียวกับคณะกรรมการบริหารหลักสูตรของภาควิชา หรือคณะวิชาที่มีอยู

หรือแตงต้ังคณะกรรมการรับผิดชอบโดยเฉพาะ

4.2 จัดใหมีการประเมินผลการดําเนินงานทุกหลักสูตรตามตัวบงชี้และเกณฑที่กําหนดอยาง

นอยทุกปการศึกษา เพื่อวัดคุณภาพของการดําเนินการหลักสูตรวาเปนตามมาตรฐานหลักสูตรและกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติเพียงใด

4.3 มีการกําหนดระบบการรายงานการดําเนินงานตามบงชี้ที่กําหนดของแตละหลักสูตร โดย

อาจจัดทําเปนแบบฟอรมใหผูรับผิดชอบกรอกขอมูลตัวบงชี้ วิเคราะหผลการประเมิน และแนวทางการปรับปรุง

หรือพัฒนาเสนอตอคณะกรรมการที่เก่ียวของ

Page 99: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

94

5.มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการไดครบถวนทั้งขอ 1 ขอ 2 และขอ 3ขางตนตลอดเวลาที่จัดการศึกษาและมีการพัฒนาหลักสูตรทุกหลักตามผลการประเมินใน ขอ 4 กรณีหลักสูตรที่ดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับใหการดําเนินงานตามตัวบงช้ีใน ขอ 3 ผานเกณฑการประเมินครบ ทุกตัวบงช้ีและทุกหลักสูตร

คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรทุกหลักสูตร ดําเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรตามผล

การประเมินที่ไดจากขอ 4 จนทําใหผลการดําเนินงานเปนไปตามมาตรฐานและตัวบงชี้ผานเกณฑการประเมิน

ครบทุกตัวบงชี้และทุกหลักสูตร 6. มีความรวมมือในการพัฒนาและบริหารหลักสูตรระหวางสถาบันกับภาครัฐหรือภาคเอกชนที่เกี่ยวของกับวิชาชีพของหลักสูตรมากกวารอยละ 30 ของจํานวนหลักสูตรวิชาชีพทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุม ค1 และ ค2)

คณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรในเกณฑขอ 1 และคณะกรรมการบริหารคณะวิชาหรือภาควิชา

ควรประกอบดวย ของผูทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีมาจากหนวยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนที่เก่ียวของกับวิชาชีพของ

หลักสูตร เพื่อใหไดความคิดเห็นเก่ียวกับความรูความสามารถและทักษะที่จําเปนในการปฏิบัติงานจริงที่จะเปน

ประโยชนตอการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ตลอดจนกระบวนการการเรียนการสอนใหผูเรียนสามารถออกไป

ปฏิบัติงานไดจริงเม่ือสําเร็จการศึกษา 7.หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัยที่เปดสอน (ปริญญาโท เฉพาะแผน ก และปริญญาเอก) มีจํานวนมากกวารอยละ 50 ของจํานวนหลักสูตรทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุม ค1 และ ง)

สถาบันที่อยูในกลุมเฉพาะทางที่เนนระดับบัณฑิตศึกษาและกลุมเนนการวิจัยขั้นสูงและผลิต

บัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอกควรเนนการเปดสอนระดับบัณฑิตศึกษามากกวาระดับ

ปริญญาตรีไมนอยกวาคร่ึงหนึ่ง โดยหลักสูตรระดับปริญญาโทควรเนนการเรียนตามแผน ก เพื่อใหสอดคลองกับ

จุดเนนของสถาบัน โดยอาจพิจารณาจัดสรรทุนการศึกษาระดับปริญญาโทแผน ก เพื่อจูงใจนักศึกษา 8. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัยที่เปดสอน (ปริญญาโท เฉพาะแผน ก และปริญญาเอก) มีจํานวนนักศึกษาที่ศึกษาอยูในหลักสูตรมากกวารอยละ 30 ของจํานวนนักศึกษาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุม ค1 และ ง)

สถาบันที่อยูในกลุมเฉพาะทางที่เนนระดับบัณฑิตศึกษาและกลุมเนนการวิจัยขั้นสูงและผลิต

บัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอกไมเพียงแตเปดหลักสูตรระดับบัณฑิตที่เนนการวิจัยให

มากกวาหลักสูตรระดับปริญญาตรีเทานั้น แตตองดําเนินการใหมีจํานวนนักศึกษาในหลักสูตรระดับบัณฑิตที่เนน

การวิจัยมากพอ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีทักษะการวิจัยอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศ

ตัวบงชี้ที่ 2.4 ระบบการพฒันาคณาจารยและบุคลากรสนบัสนนุ 1.มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารยทั้งดานวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผล

และมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ ขอมูลที่ควรพิจารณาประกอบการวางแผนการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคลควร

ครอบคลุมขอมูลที่สําคัญ ดังตอไปนี้

1) ขอมูลอัตรากําลังของอาจารยและบุคลากรในปจจุบัน รวมทั้งที่ตองการในอนาคตอยาง นอย 5

ปขางหนา เพื่อใชในการวางแผนยุทธศาสตร และการพัฒนางานประจํา กําหนดแผนการจางงานและวิธีการสรร

Page 100: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

95

หาบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถ มีทัศนคติที่ดีใหเขามาสูกระบวนการคัดสรร อาจมีการสรรหาท้ังจาก

ภายนอกและภายในสถาบัน

2) ขอมูลจากการสํารวจความตองการในการอบรม(training needs)ของบุคลากร ทั้งสาย

อาจารยและสายสนับสนุน เพื่อใหไดการฝกอบรมตามเกณฑที่สถาบันการศึกษากําหนดและสามารถนําความรูที่

ไดรับมาพัฒนางานของตนใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ซึ่งหัวหนาหนวยงานสามารถประเมินความตองการนี้ได

ขอมูลที่เก่ียวกับความสามารถ(competencies)ที่จําเปนตอการปฏิบัติงานในระดับตางๆ เพื่อใชในการปฐมนิเทศ

และฝกอบรมใหผูปฏิบัติงานมีความเขาใจในวิธีการทํางานเกิดกระบวนการเรียนรูเก่ียวกับความคิด กฎเกณฑ มี

ทัศนคติและทักษะท่ีดี เพื่อเพิ่มผลการปฏิบัติงานของผูปฏิบัติงาน รวมทั้งขอมูลเก่ียวกับการสอนงาน การ

หมุนเวียนใหไปทํางานในดานอื่นๆ การเขาศึกษาในโครงการที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น

3) ขอมูลปอนกลับของผลการปฏิบัติงานและผลการพัฒนาตามเสนทางความกาวหนาของสาย

งาน ในรอบปที่ผานมา เพื่อใชในการมอบหมายงานหรือมีขอตกลงในการทํางาน และใชเพื่อการปรับปรุงแกไข

ชมเชย ใหรางวัล ตลอดจนปรับปรุงคาตอบแทนสวัสดิการที่เหมาะสมและเปนธรรมรวมทั้งการสรรหาคนเกง คน

ดีเขามาปฏิบัติงานในสถาบัน

4) ขอมูลการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออนดานทรัพยากรมนุษยวามีประเด็นใดบางที่ควรมีการ

วางแผน เพื่อการปรับปรุงแกไขแผนพัฒนาทรัพยากรใหสอดคลองกับความตองการและความคาดหวังของ

ผูปฏิบัติงานและของสถาบัน 2. มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนใหเปนตามแผนที่กําหนด

2.1 มีการสรรหา คัดเลือกบุคลากรอยางเปนระบบ โปรงใสและกําหนดแนวปฏิบัติไวเปนลาย

ลักษณอักษร เพื่อใหไดอาจารย หรือบุคลากรไดทราบ ภายใตเวลาที่กําหนด และเปนไปตามกรอบอัตรากําลังที่

สถาบันวางแผนไว

2.2 มีการวิเคราะหงาน(job analysis) โดยกําหนดใหมีคําอธิบายลักษณะงาน(job

description) การระบุคุณสมบัติเฉพาะตําแหนง (job specification)รวมท้ังความสามารถ(competencies)ที่

จําเปนตอการปฏิบัติงาน เพื่อใชในการปฐมนิเทศและการฝกอบรมวิธีการทํางานและทักษะท่ีจําเปนให

ผูปฏิบัติงานเขาใจในงาน

2.3 มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน(job evaluation)ที่มีรูปแบบชัดเจน มีการกําหนดเสนทาง

เดินของตําแหนง(career path)ของบุคลากรทุกกลุม วิเคราะหปริมาณการเขา-ออกของบุคลากรแตละกลุม และ

พิจารณาหาแนวทางการปรับปรุงแกไขและติดตามผล

2.4 มีการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนใหเปนไปตามแผนและเสนทางเดินของ

ตําแหนงงานที่กําหนด รวมทั้งติดตามตรวจสอบเปนรายบุคคลเพื่อการสงเสริมสนับสนนุอยางตอเนื่อง 3. มีสวัสดิการเสริมสุขภาพที่ดี และสรางขวัญและกําลังใจใหคณาจารยและบุคลากรสาย

สนับสนุนสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ 3.1 สรางบรรยากาศของสถานที่ทํางานใหนาอยู ต้ังแตสภาพแวดลอม บรรยากาศการทํางาน

การจัดสวัสดิการ การเอาใจใสดูแลบุคลากรทุกคนอยางเสมอภาคทัดเทียมกัน การสรางบรรยากาศของความสุข

ในการทํางาน

3.2 มีระบบสงเสริมสนับสนุนการเสนอขอรับรางวัลของคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

เชน มีการติดตามขอมูลแหลงใหรางวัลตางๆ เพื่อประชาสัมพันธใหคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนทราบ

Page 101: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

96

โดยเร็ว มีการกระตุนและชวยเหลือผูที่มีศักยภาพเพ่ือขอรับรางวัลในดานตางๆ เชน ชวยจัดทําเอกสารการขอรับ

รางวัล ประสานงานในกระบวนการขอรับรางวัลหรืองานธุรการอื่นๆ

3.3 มีการยกยองใหเกียรติผูไดรับรางวัลโดยวิธีการตางๆ เชนประชาสัมพันธผลงานที่ไดรับ

รางวัลทั้งภายในและภายนอกสถาบัน จัดบรรยากาศพิเศษเพื่อเปนเกียรติ พิจารณาความดีความชอบเปนกรณี

พิเศษ

3.4 มีระบบพี่เล้ียง โดยจัดใหผูที่มีประสบการณเคยไดรับรางวัลใหคําแนะนําชวยเหลือและ

สนับสนุนอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนรุนใหมในการขอรับรางวัลตางๆ

3.5 มีกิจกรรมท่ีกอใหเกิดการพัฒนารวมกัน เปดโอกาสใหผูใตบังคับบัญชาไดมีโอกาสแสดง

ความคิดเห็นและรวมมือในการทํางาน มีชองทางการส่ือสารหลายชองทางระหวางผูบังคับบัญชาและ

ผูใตบังคับบัญชา รวมทั้งระหวางผูใตบังคับบัญชาดวยกัน เพื่อทําใหเกิดความรูสึกที่ดีและพัฒนางานรวมกัน

3.6 มีนโยบายดูแลสุขภาพของบุคลากรทั้งในเชิงปองกันและสงเสริม มีสวัสดิการตรวจเช็ค

สุขภาพ สงเสริมการออกกําลังกายในรูปแบบตางๆ เชน สนับสนุนดานสถานท่ีออกกําลังกายสนับสนุน

ผูเช่ียวชาญในการแนะนําดานการดูแลสุขภาพ 4. มีระบบการติดตามใหคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนนําความรูและทักษะที่ไดจาก

การพัฒนามาใชในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรูของนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ

ทุกหลักสูตรการฝกอบรม หรือทุกโครงการที่มีวัตถุประสงคในการเพ่ิมความรูและทักษะการ

ปฏิบัติงาน ควรกําหนดแนวทาง หรือวิธีการติดตามประเมินผลสัมฤทธ์ิของการอบรม หรือการพัฒนาเพื่อใหเกิด

ความมั่นใจวาบุคลากรสามารถนําความรูและทักษะที่ไดจากการพัฒนามาใชในการปฏิบัติงานหรือปรับปรุง

ตนเอง โดยอาจใชกลไกการติดตามผลการนําความรูและทักษะไปใชภายหลังการอบรมหรือพัฒนา 6-9 เดือน

หรือใชกลไกการจัดการความรูเปนเคร่ืองมือในการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ของการอบรม หรือการพัฒนา เปน

ตน 5.มีการใหความรูดานจรรยาบรรณอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให

คณาจารยและบุคลากรสายสนบัสนุนถือปฏิบัติ 5.1 สถาบันจัดใหมีการใหความรูดานจรรยาบรรณ และกิจกรรมสงเสริมการปลูกฝงจรรยาบรรณแก

คณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ

5.2 ผูรับผิดชอบในการใหความรูดานจรรยาบรรณ ควรมีการติดตามผลการปรับปรุงและพัฒนา

ตนเองคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนอยางตอเนื่อง 6. มีการประเมินผลความสําเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากร

สนับสนุน สถาบันจัดใหมีการประเมินผลความสําเร็จของการปฏิบัติงานตามกิจกรรมที่กําหนดไวในแผน รวมทั้ง

ผลสัมฤทธิ์ของแผนการบริการและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนตามตัวช้ีวัดผลการดําเนินงาน

(KPI) หรือเปาหมายของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน โดยที่ตัวช้ีวัดผลการ

ดําเนินงานและน้ันควรมีความเชื่อมโยงกับกลยุทธของสถาบันและนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการ

บริหารและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนในรอบปถัดไป

Page 102: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

97

7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

7.1 นําผลการประเมินความสําเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากร

สายสนับสนุนไปปรับปรุงแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

7.2 ดําเนินการตามแผนปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสาย

สนับสนุนตามระยะเวลาท่ีกําหนด

7.3 มีการสํารวจความตองการและความพึงพอใจของคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนที่

เขารวมกิจกรรมตางๆท่ีมีวัตถุประสงคเพื่อการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน เพื่อเปนขอมูล

ประกอบการจัดทําแผนการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนในระยะตอไป

ตัวบงชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญทุก

หลักสูตร 1.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอนท่ีมีความยืดหยุน และหลากหลาย

สามารถตอบสนองความตองการและความถนัดของผูเรียน ยอมรับความสามารถที่แตกตางและวิธีการเรียนรูที่

หลากหลายของผูเรียน เนนใหรูเรียนมีสวนรวมในการออกแบบวิธีการเรียนการสอนที่เนนการคิดวิเคราะห การมี

ทักษะในการเรียนรูและแสวงหาความรู รวมทั้งการสรางหรือพัฒนาความรูใหมๆดวยตนเองโดยผูสอนมีบทบาท

ในการกระตุนใหผูเรียนเกิดการคิดวิเคราะห และลงมือปฏิบัติจริง ชี้แนะแหลงขอมูลความรู จัดการเรียนการสอน

และอํานวยความสะดวกในการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนเกิดความสัมฤทธิผลในการเรียนรูทุกรายวิชา

1.2 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญทุกรายวิชา อาทิ จัดใหมีชั่วโมง

ปฏิบัติการ อภิปรายกลุม สัมมนา ทํากรณีศึกษาหรือโครงงานหรือวิจัย เรียนรูนอกสถานที่ รวมทั้งฝกงานและฝก

ประสบการณ

1.3 มีการกําหนดตัวบงชี้ความสําเร็จของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญในแต

ละรายวิชา และมีการติดตามตรวจสอบ ประเมินผลความสําเร็จเพื่อนํามาปรับปรุงการเรียนการสอนใหมี

ประสิทธิภาพ 2. ทุกรายวิชามีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณภาคสนาม(ถามี)กอนการเปด

สอนในแตละภาคการศึกษา ตามที่กําหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ 2.1 อาจารยจัดทํารายละเอียดของรายวิชาที่จะเปดสอนในแตละภาคการศึกษา แตละ

รายวิชาระบุรายละเอียดในหัวขอตอไปนี้เปนอยางนอย

- จุดมุงหมายของรายวิชา เปนการระบุผลการเรียนรูเม่ือผูเรียนไดเรียนรายวิชาเสร็จส้ิน

แลว โดยเนนพฤติกรรมที่เปนผลจากการเรียนรู ซึ่งอิงมาตรฐานผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

- ลักษณะและการดําเนินการ เปนการระบุคําอธิบายรายวิชา จํานวนช่ัวโมงการสอนและ

การใหคําปรึกษา

- การพัฒนาผลการเรียนรูของผูเรียน เปนการอธิบายความรูหรือทักษะท่ีรายวิชามุงหวังที่

จะพัฒนาผูเรียน วิธีการสอน และการประเมินผลการเรียนรูในดานตางๆที่กําหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

Page 103: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

98

- แผนการสอนและการประเมินผล ในแตละคาบเรียนมีการระบุหัวขอหรือเนื้อหาที่จะสอน

กิจกรรมการเรียนการสอน ส่ือการสอนท่ีใชและวิธีการประเมินผลการเรียนรูของหัวขอหรือเนื้อหานั้นๆ

- ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ระบุเอกสาร หนังสือ ตําราท่ีทันสมัยที่ใช

ประกอบการเรียนการสอน รวมทั้งแหลงเรียนรูนอกหองเรียนที่ชวยเสริมประสบการณจริงหรือประสบการณเชิง

ปฏิบัติแกผูเรียน

- การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา มีการประเมินกระบวนการเรียน

การสอนโดยใชขอมูลจากแหลงหลากหลาย เชน ความเห็นของผูเรียน ความเห็นของทีมผูสอน ผลการเรียนรูของ

ผูเรียนและจากการสังเกตการณ เปนตน

2.2 อาจารยผูสอนแจกรายละเอียดของรายวิชาและแผนการสอนใหผูเรียนในคาบแรกที่พบ

ผูเรียน

2.3 กรประเมินผลการเรียนรูของรายวิชาใหมีการประเมินทั้งในระหวางภาคการศึกษา

(formative evaluation)และเม่ือส้ินสุดภาคการศึกษา(summative evaluation) 3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่สงเสริมทักษะการเรียนรูดวยตนเอง และการใหผูเรียนไดเรียนรู

จากการปฏิบัติทั้งในและนอกหองเรียนจากการทําวิจัย 3.1 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรกําหนดใหทุกหลักสูตรตองมีรายวิชาที่สงเสริมใหผูเรียน

รูดวยตนเอง และเรียนรูจากการปฏิบัติจริงทั้งในและนอกช้ันเรียน อาทิ จัดใหมีชั่วโมงปฏิบัติการอภิปรายกลุม

สัมมนา ทําการศึกษาหรือโครงงานหรือวิจัย เรียนรูนอกสถานท่ี รวมทั้งฝกงานและฝกประสบการณ

3.2 จัดใหมีระบบการรายงานพัฒนาการของผูเรียนที่สะทอนใหเห็นถึงความสามารถในการ

เรียนรูดวยตนเอง และการปฏิบัติจริงของผูเรียนเปนรายบุคคลหลังจบหลักสูตร 4. มีการใหผูมีประสบการณทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหนวยงานหรือชุมชนภายนอกเขามา

มีสวนรวมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร 4.1 มีการเผยแพรประชาสัมพันธโปรแกรมการประชุมวิชาการที่เกิดขึ้นในที่ตาง ๆ ทั้งในประเทศ

และตางประเทศใหนักศึกษารับรู

ทุกหลักสูตรควรมีการออกแบบใหผูเรียนไดมีโอกาสเรียนรูจากบุคคล หนวยงานหรือชุมชน

ภายนอกในดานวิชาการหรือวิชาชีพ เพื่อใหผูเรียนไดทราบถึงการนําความรูทางทฤษฏีไปใชทางปฏิบัติและมี

ความรูทางวิชาการท่ีทันสมัย การดําเนินการนี้อาจทําโดยเชิญบุคลากรภายนอกมาเปนอาจารยพิเศษสอนทั้ง

รายวิชาหรือบรรยายในบางคาบเวลา นํานักศึกษาฟงการบรรยายและเย่ียมชมหนวยงานหรือสถานท่ีภายนอก

สถาบันใหนักศึกษาฝกงานหรือปฏิบัติงานในวิชาสหกิจศึกษาในสถานประกอบการ เปนตน 5. มีการจัดการเรียนรูที่พัฒนาจากการวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรูเพ่ือ

พัฒนาการเรียนการสอน 5.1 อาจารยควรพัฒนากระบวนการเรียนการสอนและวิธีการสอนในรายวิชาที่รับผิดชอบ

อยางตอเนื่อง ในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนและวิธีการสอนควรวิเคราะหการสอนที่ผานมา โดยการทํา

วิจัยในช้ันเรียนวาวิธีการสอนและกระบวนการเรียนการสอนรวมทั้งการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน

เหมาะสมหรือไม ควรปรับปรุงดานใด อยางไร

5.2 ควรจัดเวทีการสัมมนา หรือการแลกเปล่ียนเรียนรูเก่ียวกับการจัยและประสบการณกร

จัดการเรียนการสอนระหวางอาจารยเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนเปนประจําอยางตอเนื่อง

Page 104: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

99

6. มีการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและส่ิงสนับสนุนการเรียนรูทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความพึงพอใจแตละรายวิชาตองไมต่ํากวา 3.51จากคะแนนเต็ม 5

เม่ือสินภาคการศึกษา สถาบันจัดใหมีการประเมินความคิดเห็นของผูเรียนตอคุณภาพการจัดการ

เรียนการสอนของอาจารยในทุกรายวิชาและมีการประเมินคุณภาพความเพียงพอและความเหมาะสมของ

อุปกรณและส่ือสนับสนุนการเรียนรู เชน อุปกรณที่ใชในหองเรียน คอมพิวเตอร อุปกรณในหองปฏิบัติการ

หนังสือ ตํารา และส่ิงพิมพในหองสมุดเปนตน นําผลการประเมินความคิดเห็นดังกลาวขางตนไปปรับปรุง

กระบวนการเรียนการสอนและส่ิงสนับสนุนการเรียนรู โดยมีการระบุในรายละเอียดของรายวิชาในภาคการศึกษา

ถัดไปดวยวา มีการนําการประเมินความคิดเห็นของผูเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนอยางไร 7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอนหรือการประเมินผล

การเรียนรู ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา สถาบันหรือคณะวิชาควรมีการต้ังคณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตร ทําหนาที่ตอไปนี้

- พิจารณารายละเอียดของรายวิชาตามขอ 2 เพื่อตรวจความครบถวนสมบูรณ

- ติดตาม วิเคราะหผลการดําเนินงานแตละรายวิชาและภาพรวมของทุกหลักสูตรทุกภาค

การศึกษา โดยเฉพาะจากผลการประเมินของผูเรียน และวางแผนปรับปรุงในสวนที่เก่ียวของ หรือเสนอการ

ปรับปรุงตอคณะกรรมการระดับที่สูงขึ้น

- ดูแลใหการดําเนินการหลักสูตรไดรับการประเมินโดยผูมีสวนไดสวนเสีย เชน ผูเรียนปจจุบัน

และผูที่กําลังจะสําเร็จการศึกษาหรือศิษยเกาและกรรมการอิสระ ตามหลักเกณฑและกรอบเวลาท่ีกําหนดทุกป

การศึกษา

- ระบุถึงความจําเปนตอการปรับปรุง หรือปด หรือเปดรายวิชาหรือหลักสูตร ตามหลักฐานจากผล

การประเมินของผูเรียน/ ของผูที่กําลังจะสําเร็จการศึกษา/ของผูประเมินอิสระ และของผูใชบัณฑิตอยางตอเนื่อง

ตัวบงชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลกัษณะของบัณฑิต

1. มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิต อยางนอยสําหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุกรอบระยะเวลาตามแผนกําหนดการศึกษาของหลักสูตร

1.1 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรตองสํารวจหรือวิเคราะหความตองการของผูใชบัณฑิต

เก่ียวกับคุณลักษณะของบัณฑิตเปนระยะๆ อยางนอยทุก 5 ป เพื่อนําขอมูลมาใชในการปรับปรุงหลักสูตรหรือ

จัดการเรียนการสอนเพื่อใหไดบัณฑิตที่สนองความตองการของผูใชบัณฑิตใหมากที่สุด โดยนําขอมูลจากการ

สํารวจมาบูรณาการรวมกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

1.2 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรตองมีการทบทวน ปรับปรุงคุณลักษณะของบัณฑิตที่

จําเปนและเหมาะสมกับสาขาวิชา ระดับการศึกษา เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของผูใชบัณฑิต โดย

คํานึงถึงความทันสมัยของหลักสูตรที่ตองสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงระดับทองถ่ิน ระดับชาติ หรือระดับ

นานาชาติดวย มีการกําหนดเปนเปาหมายการผลิตบัณฑิตระหวางผูสอนรวมกันและเผยแพรใหผูที่รับผิดชอบใน

การผลิตบัณฑิตทุกคนรับรูและรวมกันพัฒนานักศึกษา

Page 105: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

100

2. มีการนําผลจากขอ 1 มาใชในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนที่สงเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค ตามความตองการของผูใชบัณฑิต

2.1 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรมีการวิเคราะหติดตามประเมินผลการใชหลักสูตรและ

นําขอมูลจากผลการสํารวจความตองการของผูใชบัณฑิตมาใชในการปรับปรุงหลักสูตร โดยเฉพาะประเด็นการ

กําหนดโครงสรางหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่ือการศึกษาและการประเมินผล

2.2 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรมีการวางระบบการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการ

สอนระดับหลักสูตร โดยอาจมีการเชื่อมโยงรายวิชากับคุณลักษณะของบัณฑิตที่กําหนด เพื่อใหผูสอนแตละวิชา

ไดรับรูและถือเปนภาระหนาที่ที่ตองพัฒนาผูเรียนในทักษะท่ีจําเปนของรายวิชานั้นๆ อาจมีการออกแบบกิจกรรม

การเรียนการสอนในลักษณะของการบูรณาการระหวางรายวิชา และระหวางการเรียนรูในหองเรียนกับนอก

หองเรียน ใหผูเรียนไดเรียนรูทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ เพื่อใหมีทักษะการปฏิบัติงานในโลกแหงการทํางาน

จริงได

2.3 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรมีการวางระบบการกํากับติดตามการออกแบบ

กิจกรรมการเรียนการสอนของอาจารยที่จะชวยสงเสริมเรียนรูดวยตนเองของนักศึกษา มีการประชุมวิพากษการ

จัดการเรียนการสอน ส่ือการศึกษา และวิธีการประเมินผล เพื่อใหผูสอนไดขอมูลในการปรับปรุงตนเองจากเพื่อน

รวมงาน

2.4 มีการวางระบบการประเมินผลที่สะทอนทักษะความสามารถดานการเรียนรูของผูเรียน

เนนการประเมินตามสภาพสภาพจริง (authentic assessment)โดยเฉพาะความสามารถในการเรียนรูขั้นสูง ใช

วิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย สะทอนความสามารถในการปฏิบัติงาน(performance)ของผูเรียน

โดยเฉพาะทักษะการเรียนรูที่ใชวิจัยเปนฐาน

2.5 ควรจัดใหมีการประชุมหารือระหวางคณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรในการแลกเปล่ียน

กิจกรรมการเรียนการสอนและการแกปญหารวมกันสําหรับผูเรียนที่จําเปนตองไดรับการพัฒนาเปนพิเศษ 3. มีการสงเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งดานบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณ

ที่เอ้ือตอการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต 3.1 คณะกรรการรับผิดชอบหลักสูตรควรมีการวางแผนการจัดหางบประมาณหรือทรัพยากรที่

สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีสงเสริมคุณลักษณะของบัณฑิตอยางเพียงพอ

3.2 หนวยงานระดับคณะวิชา ภาควิชาสนับสนุน สงเสริมการใชส่ือเทคโนโลยีทางการศึกษา

เพื่อใหผูเรียนรูจักแสวงหาความรูดวยตนเอง อาจมีการจัดทําเว็บไซตเพื่อใหนักศึกษาและอาจารยมีการสราง

สังคมแหงการเรียนรู ในรูปของการสรางชุมชนนักปฏิบัติ (community of practice)เพื่อใหการเรียนรูเกิดขึ้นไดทุก

ที่ ทุกเวลา 4. มีระบบและกลไกการสงเสริมใหนักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเขารวม

กิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนําเสนอผลงานทางวิชาการในท่ีประชุมระหวางสถาบันหรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ

4.1 มีการเผยแพรประชาสัมพันธโปรแกรมการประชุมวิชาการท่ีเกิดขึ้นในท่ีตางๆท้ังใน

ประเทศและตางประเทศใหนักศึกษารับรู

Page 106: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

101

4.2 มีการจัดหางบประมาณใหนักศึกษามีโอกาสเขารวมกิจกรรมวิชาการทั้งภายในสถาบัน

หรือนอกสถาบัน

4.3 หากเปนไปได อาจมีการกําหนดเปนเงื่อนไขใหนักศึกษาตองมีโอกาสเขารวมประชุม

วิชาการระดับชาติทุกป หรือระดับนานาชาติอยางนอย 1 คร้ังในระหวางการศึกษา

4.4 ในระดับชั้นเรียน ผูสอนมีการฝกทักษะการนําเสนอผลงานทางวิชาการ สนับสนุนให

นักศึกษาสงผลงานวิชาการใหที่ประชุมวิชาการตางๆ พิจารณา เรียนรูเทคนิคการสงผลงานวิชาการใหไดรับการ

คัดเลือกไปเผยแพร 5. มีกิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมใหแกนักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา

ที่จัดโดยสถาบัน 5.1 มีการจัดหางบประมาณสนับสนุนการจัดกิจกรรมที่สงเสริมคุณธรรมจริยธรรมใหแก

นักศึกษา และจัดกิจกรรมอยางตอเนื่อง ทั้งกิจกรรมภายใตหลักสูตรและกิจกรรมเสริมหลักสูตร

5.2 มีการกําหนดเงื่อนไขใหนักศึกษาตองเขารวมกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมของ

สถาบัน โดยมีการประเมินผลที่เปนรูปธรรม ซึ่งผลการประเมินควรเปนปจจัยสําคัญตอผลการเรียน หรือตอการ

สําเร็จการศึกษาของนักศึกษา 6. มีระบบและกลไกสนับสนุนการประยุกตใชผลงานจากวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับ

บัณฑิตศึกษาและมีการรับรองการใชประโยชนจริงจากหนวยงานภาครัฐหรือเอกชนหรือหนวยงานวิชาชีพ(เฉพาะกลุม ค1)

6.1 มีการเชิญหนวยงาน สถาบัน องคกรภาครัฐและเอกชนผูใชบัณฑิตหรือนักวิชาการมาให

ความรูหรือใหขอมูลเก่ียวกับประเด็นวิจัยที่ตองการใหนักศึกษาจัดทําเปนหัวขอวิทยานิพนธประมาณภาคเรียน

ละ 1 คร้ัง เพื่อใหนักศึกษาไดจัดทําขอเสนอโครงการวิจัยที่สนองความตองการของหนวยงานที่เก่ียวของ

6.2 ประชาสัมพันธแหลงทุนวิจัยจากหนวยงานตางๆใหนักศึกษาทราบและมีการพัฒนาทักษะ

การจัดทําขอเสนอโครงการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ สอดคลองกับชวงเวลาของการสมัครทุน

6.3 สนับสนุนใหนักศึกษาเสนอขอเสนอโครงการวิทยานิพนธไปยังหนวยงานตางๆท่ีเก่ียวของ

เพื่อขอทุนสนับสนุนการวิจัย

6.4 ในการสอบวิทยานิพนธ อาจมีการแตงต้ังกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีเก่ียวของกับ

ประเด็นวิจัยของนักศึกษามารวมเปนกรรมการสอบ เพ่ือใหรับรูผลงานวิจัย และนําผลไปใชประโยชน

6.5 มีการเผยแพรผลงานวิทยานิพนธของนักศึกษาในรูปแบบตางๆ หรือจัดทําเปนขาวเพื่อ

เผยแพรตามส่ือวิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพและอาจจัดทําบทคัดยองานวิจัยเปนหมวดหมู เผยแพรไปยังสถานบัน

หรือองคการที่เก่ียวของหรือนําออกเผยแพรในชวงโอกาสที่กําลังเกิดเหตุการณหรือสถานการณที่เปนปญหา และ

สามารถใชคําตอบจากผลการวิจัยที่นักศึกษาผลิตไปชวยชี้แนะแนวทางการแกไขปญหาได

6.6 มีการจัดทําระบบฐานขอมูลงานวิทยานิพนธที่มีบุคคลหรือหนวยงานนําไปใชประโยชน

โดยอาจใชวิธีการสืบคนการอางอิงหรือการสํารวจดวยแบบสอบถามจากหนวยงานที่เก่ียวของ 7. มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาในการจัดทําบทความจากวิทยานิพนธและมีการนําไปตีพิมพ

เผยแพรในวารสาระดับนานาชาติ(เฉพาะกลุม ง) 7.1 ผูสอนอาจมอบหมายใหนักศึกษาอานบทความวิจัยที่ตีพิมพในวารสารวิชาการ มีการ

วิพากษบทความ การสังเคราะหความรูจากบทความวิจัยในรายวิชาตางๆ

Page 107: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

102

7.2 จัดหลักสูตรรายวิชาหรือกิจกรรมเสริมหลักสูตรเก่ียวกับการจัดทําบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ

เผยแพรในวารสารวิชาการใหนักศึกษาไดพัฒนาทักษะการจัดทําบทความ

7.3 อาจมีการต้ังคลินิกใหความชวยเหลือในการทําบทความวิจัย รวมทั้งการแปลเปน

ภาษาตางประเทศ

7.4 สนับสนุนใหนักศึกษาจัดทําบทความวิจัยจากผลการวิจัยบางสวน ที่สามารถตีพิมพเผยแพร

ได สงไปยังวารสารตางๆ ในระหวางการทําวิทยานิพนธ

7.5 นําบทความวิจัยของนักศึกษาท่ีไดรับการคัดเลือกหรือไมไดรับการคัดเลือกใหตีพิมพ

เผยแพรมาเรียนรูรวมกันในชั้นเรียน และมีการวิพากษเพื่อการเรียนรูรวมกัน

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา ตัวบงชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูลขาวสาร

1. มีการจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใชชีวิตแกนักศึกษา 1.1 สถาบันจัดทําฐานขอมูลนักศึกษา ประกอบดวยขอมูลดานสุขภาพท้ังทางกายและทางจิต

ขอมูลดานการเรียน ขอมูลครอบครัว และบุคคลที่สถาบันสามารถติดตอเม่ือนักศึกษามีปญหา

1.2 หนวยงานระดับภาควิชา มีระบบการต้ังอาจารยที่ปรึกษาวิชาการท่ีเหมาะสมคํานึงถึง

สัดสวนอาจารยตอนักศึกษา ที่ทําใหอาจารยสามารถดูแลนักศึกษาไดทั่วถึง มีระบบการชวยเหลือนักศึกษาใน

ความดูแลใกลชิด เนนการพัฒนาผูเรียนเปนรายบุคล มีการประชุมระหวางอาจารยทั้งที่เปนทางการหรือไมเปน

ทางการ เพื่อสงตอขอมูลเก่ียวกับนักศึกษาที่มีปญหาดานการเรียนในกลุมผูสอนหรือผูรับผิดชอบหลักสูตร เนน

การใหบริการความชวยเหลือนักศึกษาในรูปแบบของการปองกันปญหามากกวาการแกปญหา

1.3 หนวยงานระดับคณะหรือระดับสถาบัน เชน ฝายกิจการนักศึกษามีหนวยใหบริการหรือให

คําปรึกษาสําหรับนักศึกษาที่มีปญหาชีวิต โดยมีเจาหนาที่คอยรับเร่ืองรองทุกขของนักศึกษาท่ีขอใชบริการ

ตลอดเวลา อาจมีการจัดบริการสายดวน (hotline) สําหรับใหคําปรึกษาหรือใหความชวยเหลือนักศึกษาท่ีมี

ปญหาวิกฤติและตองการความชวยเหลือดวน และมีระบบการดูแลนักศึกษาในกรณีที่อาจารยที่ปรึกษาสง

นักศึกษามารับบริการ

1.4 มีระบบการสงตอการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักศึกษา ไปยังโรงพยาบาลหรือ

หนวยใหบริการเฉพาะทางในกรณีที่นักศึกษามีปญหาที่รุนแรงเกินความสามารถของสถาบันที่จะดูแลได

1.5 ผูเก่ียวของกับนักศึกษาทุกระดับมีระบบการติดตามผลการชวยเหลือหรือใหคําแนะนําแก

นักศึกษา จนสามารถแกไขปญหาของนักศึกษาไดสําเร็จ

1.6 มีการจัดประชุมพัฒนาอาจารยหรือบุคลากรที่รับผิดชอบการดูแลนักศึกษาเปนระยะๆเพ่ือ

สรางความเขาใจรวมกันและสรางเครือขายการใหความเหลือรวมกัน

1.7 มีการจัดประชุมเพื่อสรางความสัมพันธระหวางสถาบันกับครอบครัวของนักศึกษาเพื่อ

รวมมือกันแกไขปญหาของนักศึกษา

1.8 มีชองทางใหนักศึกษาหรือผูเก่ียวของไดใหขอเสนอและเพื่อการปรับปรุงการใหบริการ

Page 108: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

103

2. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษา 2.1 สถาบันจัดฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส บอรด เว็ปไซต สําหรับประกาศขอมูลขาวสารท่ีเปน

ประโยชนกับนักศึกษา เชน ขอมูลทุนการศึกษา ทุนวิจัย การรับสมัครงาน ขาวสารวิชาการที่ทันสมัยและท่ี

เก่ียวของกับสาขาวิชาที่นักศึกษาจําเปนตองรู

2.2 มีชองทางใหนักศึกษาหรือผูเก่ียวของไดใหขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงการใหบริการ

2.3 มีระบบการติดตามประเมินผลการใหบริการขอมูลขาวสาร 3. มีการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาประสบการณทางวิชาการและวิชาชีพแกนักศึกษา

3.1 มีการประสารงานกับหนวยงานตางๆ ทั้งในและนอกสถาบัน เพื่อเปนแหลงดูงานแหลงฝก

ประสบการณของนักศึกษา และมีการติดตามประเมินคุณภาพของความเปนแหลงเรียนรูของแหลงฝก

ประสบการณวิชาชีพ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการงานวางแผนการจัดเตรียมแหลงฝกประสบการณทางวิชาชีพ

ที่เหมาะสมตอไป

3.2 มีการจัดกิจกรรมวิชาการหรือกิจกรรมทางสังคม โดยใหนักศึกษาเปนผูรับผิดชอบหลักใน

การดําเนินงานเพื่อฝกทักษะประสบการณการทํางานรวมกัน

3.3 มีชองทางใหนักศึกษาหรือผูเก่ียวของไดใหขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงการพัฒนา

ประสบการณทางวิชาการและวิชาชีพ

3.4 มีระบบการติดตามประเมินผลการฝกประสบการณวิชาการและวิชาชีพชีพ 4. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอศิษยเกา

4.1 สถาบันมีฐานขอมูลศิษยเกา และมีการจัดทําฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส เว็บไซต จดหมาย

ขาวฯลฯ สําหรับเผยแพรขอมูลขาวสารทีเปนประโยชนกับศิษยเกา เชน ขอมูลกิจกรรมการประชุมวิชาการ การ

สัมมนาความรูใหมๆ ขอมูลแหลงทุนการศึกษาตอ ทุนวิจัย การรับสมัครงาน ขาวสารวิชาการที่เก่ียวของกับ

สาขาวิชา

4.2 มีการสงขาวใหศิษยเการับรู เ ก่ียวกับกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาความรูและ

ประสบการณเปนระยะๆ

4.3 เปดโอกาสใหศิษยเกาไดมีสวนรวมในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร การมีสวนรวมในการ

จัดการเรียนการสอน การทําวิจัยแบบรวมมือในลักษณะของสหวิทยาการ การเปนกรรมการสอบ วิทยานิพนธ

กิจกรรมดังกลาวนอกจากจะใหศิษยเกาไดมีสวนรวมในการพัฒนาความรูและประสบการณที่ดีแกนักศึกษา

ปจจุบัน และสรางเครือขายความสัมพันธระหวางนักศึกษาปจจุบันกับศิษยเกาแลว ยังทําใหศิษยเกาและอาจารย

ไดเรียนรูวิทยาการใหมๆ ในฐานะผูใหและผูรับ

4.4 มีชองทางใหศิษยเกาไดใหขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงการใหบริการ 5. มีการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรูและประสบการณใหศิษยเกา

5.1 มีการจัดกิจกรรมทางวิชาการและวิชาชีพเพื่อพัฒนาความรูและประสบการณสําหรับศิษย

เกาเปนระยะๆ โดยมีการสงขาวใหศิษยเการับรู

5.2 มีชองทางใหศิษยเกาไดใหขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรูและ

ประสบการณวิชาการและวิชาชีพ

Page 109: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

104

6. มีผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการในขอ 1-3 ทุกขอไมต่ํากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

6.1 หนวยงานที่เก่ียวของในสถาบันระดับภาควิชา ฝาย คณะ หรือสถาบัน มีระบบการติดตาม

ประเมินผลการใหบริการทุกดานแกนักศึกษาและศิษยเกา มีการมอบหมายผูรับผิดชอบในการประเมินและ

ระยะเวลาในการประเมิน

6.2 มีการประเมินคุณภาพของการใหบริการทุกดาน และนําเสนอผลการประเมินแก

ผูรับผิดชอบและผูบริหารระดับคณะ สถาบัน

6.3 คะแนนเฉล่ียของผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาควรอยูในระดับ 3.51 ขึ้นไป

จากคะแนนเต็ม 5 จึงจะถือวามีการบริการที่อยูในระดับดี หากผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการดานใดที่

ยังไมไดตามเกณฑมาตรฐาน (ตํ่ากวา 3.51) ใหทําการวิเคราะหสาเหตุ ปญหาอุปสรรค เพื่อหาแนวทางการ

ปรับปรุงการใหบริการ ทั้งนี้ ควรเปดโอกาสใหนักศึกษาหรือศิษยเกา มีสวนรวมในการเสนอแนะแนวทางการ

แกไขปญหาหรือการปรับปรุงใหบริการดวย 7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการจัดบริการที่สนองความตองการของนักศึกษา

7.1 นําผลการประเมินคุณภาพการใหบริการเสนอใหผูเก่ียวของทราบทุกระดับ และมีการ

จัดทําแผนพัฒนาปรับปรุงการใหบริการ โดยเฉพาะการบริการในดานท่ียังไมบรรลุเปาหมายที่กําหนด

7.2 มีการปรับปรุงพัฒนาการใหบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา และประเมินคุณภาพของ

การใหบริการทุกดานตามแผนท่ีกําหนด

7.3 มีการสํารวจขอมูลจากนักศึกษา และศิษยเกาเพื่อศึกษาความพึงพอใจในบริการท่ี

สถาบันจัดใหทุกดานอยางนอยปละครั้ง เพื่อเปนขอมูลประกอบการจัดทําแผนการพัฒนาระบบการใหบริกาใน

ระยะตอไป ตัวบงช้ีที่ 3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา

1. สถาบันจัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่สงเสริมผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติทุกดาน

1.1 หนวยงานระดับคณะหรือสถาบันมีการกําหนดแผนการสงเสริมการจัดกิจกรรมของ

นักศึกษา ที่ชัดเจน นอกเหนือจากการพัฒนานักศึกษาผานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามรายวิชาใน

หลักสูตร ทั้งนี้กิจกรรมการพัฒนานักศึกษาจะมีทั้งที่จัดโดยสถาบัน หรือจัดโดยองคกรนักศึกษา เพื่อพัฒนา

นักศึกษาใหมีคุณลักษณะตามที่สถาบันกําหนด และสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิในแตละระดับ

การศึกษา

1.2 มีการกําหนดตัวบงชี้ความสําเร็จของการจัดกิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ประกอบดวย

ตัวบงช้ีหลักตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ และตัวบงช้ีเฉพาะ (ถามี) ที่นอกเหนือจาก

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เพื่อใชในการติดตามประเมินผลการเรียนรูของนักศึกษาท่ีไดรับ

การพัฒนาจาการทํากิจกรรม

Page 110: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

105

2. มีกิจกรรมใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา สถาบันมีการพัฒนาความรูความเขาใจแกนักศึกษาดานการประกันคุณภาพ และกําหนดเงื่อนไขให

นักศึกษาระบุตัวบงชี้ความสําเร็จของการดําเนินงาน วิธีการประเมินคุณภาพในโครงการหรือกิจกรรมที่นักศึกษา

เสนอเพื่อขอรับการสนับสนุนจากสถาบัน 3. การสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใชในการจัดกิจกรรมที่

ดําเนินการโดยนักศึกษาอยางนอย 5 ประเภทสําหรับระดับปริญญาตรี และอยางนอย 2 ประเภทสําหรับระดับบัณฑิตศึกษา จากกิจกรรมตอไปนี้

- กิจกรรมวิชาการที่สงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค - กิจกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ - กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาส่ิงแวดลอม - กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม - กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม 3.1สําหรับการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันควรสงเสริมใหนักศึกษาจัดทําแผนการจัด

กิจกรรมการพัฒนานักศึกษาท่ีดําเนินการโดยนักศึกษาอยางนอย 5 ประเภท ไดแก กิจกรรมวิชาการท่ีสงเสริม

คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค กิจกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษา

ส่ิงแวดลอม กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรมและกิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม

3.2 สําหรับการจัดศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สถาบันตองสงเสริมการจัดทําแผนการจัด

กิจกรรมที่ดําเนินการโดยนักศึกษาระดับปริญญาโทหรือเอกอยางนอย 2 ประเภทจากประเภทกิจกรรมตอไปน้ี

ไดแก กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาส่ิงแวดลอม

กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม โดยควรมีกิจกรรมวิชาการรวมอยูดวย

3.3 การจัดกิจกรรมของนักศึกษาท้ังในระดับปริญญาตรีหรือบัณฑิตศึกษาทุกกิจกรรม ตอง

จัดทําขอเสนอโครงการใหผูรับผิดชอบอนุมัติ (อาจารยที่ปรึกษา หรือฝายกิจการนักศึกษาของสถาบัน) โดยมี

คําอธิบายเก่ียวกับระบบประกันคุณภาพท่ีใชในการจัดกิจกรรม ประกอบดวยสาระสําคัญ ไดแก วัตถุประสงค

ของกิจกรรม ตัวบงช้ีความสําเร็จของกิจกรรมท่ีจัด ลักษณะของกิจกรรม กลุมเปาหมาย และวิธีการประเมิน

ความสําเร็จ และมีการติดตามประเมินผลการดําเนินงานของกิจกรรมกอนหนานี้มาใชประกอบการจัดทํา

โครงการหรือกิจกรรมใหม

3.4 ผูรับผิดชอบควรใหขอมูลปอนกลับแกนักศึกษาในการปรับปรุงพัฒนาการจัดทําขอเสนอ

โครงการที่ถูกตองเหมาะสม โดยเฉพาะในสวนของการประกันคุณภาพการปฏิบัติงาน 4. มีการสนับสนุนใหนักศึกษาสรางเครือขายพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและระหวาง

สถาบัน และมีกิจกรรมรวมกัน 4.1 สถาบันใหนักศึกษาเสนอแผนการจัดกิจกรรมการสรางเครือขายพัฒนาคุณภาพภายใน

สถาบัน และใหการสนับสนุนการจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนประสบการณในการทํางานในรูปแบบตาง ๆ เชน

กิจกรรมการจัดการความรู (KM: knowledge management) การใหนักศึกษานําเสนอผลการดําเนินงาน (ผล

การประเมิน) ในที่ประชุม เพื่อใหนักศึกษากลุมอื่นรับรูรวมกัน มีการแลกเปล่ียนเรียนรูเก่ียวกับวิธีการวาง

แผนการทํางาน การพัฒนาตัวบงชี้ความสําเร็จ การประเมินความสําเร็จ

Page 111: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

106

4.2 ในระดับสถาบัน อาจารยที่รับผิดชอบฝายกิจการนักศึกษา ควรมีการประชุมกับสถาบัน

ภายนอก เพื่อสงเสริมการทํากิจกรรมรวมกันของนักศึกษาระหวางสถาบัน และสงเสริมการสรางเครือขายการ

พัฒนาคุณภาพของนักศึกษาระหวางสถาบัน ทั้งนี้ สถาบันควรใหทุนสนับสนุนการจัดกิจกรรมระหวางสถาบัน

ดวย

4.3 ในแตละป สถาบันอาจหมุนเวียนเปนเจาภาพ ใหนักศึกษาระหวางสถาบันมีการจัดเวที

หรือการประชุมสัมมนาเพื่อแลกเปล่ียนประสบการณที่ไดจากการทํากิจกรรม หรือนําเสนอผลการจัดกิจกรรมของ

แตละสถาบัน รวมทั้งการแลกเปล่ียนประสบการณในการใชระบบการประกันคุณภาพในการจัดกิจกรรมของ

นักศึกษา

4.4 อาจมีการรวมมือกันเพื่อสรางชองทางการเผยแพรกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาระหวาง

สถาบัน มีการรวมตัวกันเปนเครือขายสถาบัน เพื่อเปนส่ือกลางการแลกเปล่ียนประสบการณในการจัดกิจกรรม

นักศึกษา โดยผูรับผิดชอบอาจเปนการทํางานรวมกันของอาจารยและนักศึกษาระหวางสถาบัน 5. สถาบันมีการประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนา

นักศึกษา 5.1 สถาบัน (ฝายกิจการนักศึกษา) มีระบบติดตามประเมินผลการจัดกิจกรรมการพัฒนา

นักศึกษาตามตัวบงชี้ที่กําหนด

5.2 สถาบันกําหนดใหนักศึกษาจัดทํารายงานผลการจัดกิจกรรม และนํารายงานผลการจัด

กิจกรรมมาสังเคราะห เพื่อใหเห็นภาพรวมของกิจกรรมและผลที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาในแตละรอบป

5.3 สถาบันมีการติดตามประเมินความรูความเขาใจ และการประยุกตใชระบบประกัน

คุณภาพในการจัดกิจกรรมของนักศึกษา จากรายงานผลการจัดกิจกรรมของนักศึกษา

5.4 สถาบันมีการวิเคราะหจุดแข็งจุดออนของนักศึกษา เพื่อจัดทําแผนการจัดกิจกรรม

นักศึกษาในปตอไป 6. สถาบันมีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนานักศึกษา

6.1 สถาบันมีการนําผลการประเมินความสําเร็จของการจัดกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาและ

ผลการวิเคราะหจุดแข็งจุดออนไปใชในการวางแผนการพัฒนานักศึกษาอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการวิเคราะห

คุณลักษณะของนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติในดานท่ียังไมบรรลุผลเทาที่ควร

6.2 สถาบันนําเสนอผลใหผูเก่ียวของทุกระดับรับรู และมีการระดมความคิดในการพัฒนา

นักศึกษาใหมีลักษณะตามกรอบ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ผานกิจกรรมนักศึกษา

องคประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบงช้ีที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค 1. ระบบและกลไกบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรคเพ่ือใหบรรลุเปาหมายตามแผนดานการวิจัยของสถาบัน และดําเนินการตามระบบที่กําหนด

1.1 สถาบันหรือคณะวิชาควรวางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ ตลอดจนกําหนด

หนวยงาน บุคคลหรือกลุมบุคคลที่รับผิดชอบ และมีงบประมาณสนับสนุนการบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรค

อยางเพียงพอ ในการบริหารควรมีการวางแผน ตรวจสอบติดตาม ประเมินและปรับปรุงอยางสม่ําเสมอเพื่อบรรลุ

ตามเปาหมายของแผนการวิจัยของสถาบัน

Page 112: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

107

1.2 การบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรคใหบรรลุผลสําเร็จควรจัดสรรงบประมาณเพื่อการ

บริหารงานวิจัย เชน งบประมาณสนับสนุนการปฏิบัติงานของกลุมวิจัย หรือศูนยวิจัยเพื่อใหสามารถดําเนินการ

วิจัยหรือผลิตงานสรางสรรคไดอยางมีประสิทธิภาพนอกเหนือจากการจัดสรรทุนวิจัย นอกจากนั้นอาจจัดสรร

งบประมาณสนับสนุนงานวิจัยของนักศึกษา หรืองบประมาณสนับสนุนนักวิจัยหลังปริญญาเอกใหปฏิบัติงานใน

กลุมหรือศูนยวิจัย เปนตน 2. การบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสรางสรรคกับการจัดการเรียนการสอน

มีการบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสรางสรรคกับกระบวนการจัดการเรียนการสอน เชน 1)

การกําหนดใหนักศึกษาบัณฑิตศึกษาเปนสวนหนึ่งในทีมวิจัยของอาจารย 2) การกําหนดใหนักศึกษาระดับ

ปริญญาตรีทําโครงการวิจัย หรืองานสรางสรรค ซึ่งเก่ียวของกับงานวิจัย หรืองานสรางสรรคของอาจารย 3) การ

กําหนดใหนักศึกษาทุกระดับเขาฟงการบรรยายหรือสัมมนาเก่ียวกับผลความกาวหนาในงานวิจัยของอาจารย

หรือของศาสตราจารยอาคันตุกะหรือศาสตราจารยรับเชิญ (visiting professor) หรือเขารวมการจัดแสดงงาน

สรางสรรคของอาจารย 4) การจัดใหมีการประชุมเสนอผลงานวิจัยหรือแสดงงานสรางสรรคของนักศึกษา หรือ

สงเสริมนักศึกษาเขารวมประชุมการเสนอผลงานวิจัยและงานสรางสรรคระดับชาติและนานาชาติ 5) การสงเสริม

ใหอาจารยนําผลลัพธที่เกิดจากการวิจัยไปเปนสวนหนึ่งของเนื้อหาในการจัดการเรียนการสอน เปนตน 3.การพัฒนาศักยภาพดานการวิจัยหรืองานสรางสรรค และใหความรูดานจรรยาบรรณการ

วิจัยแกอาจารยประจําและนักวิจัย 3.1 จัดระบบการรับเขาและกํากับดูแลอาจารยและนักวิจัย เชน วิ เคราะหกําลังคน

วางแผน และรับเขาบุคคล (ทั้งอาจารย นักวิจัย และนักศึกษาบัณฑิตศึกษา) ทั้งจากในประเทศและตางประเทศ

ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับจุดเนนดานการวิจัยและงานสรางสรรคของสถาบัน ทําการกําหนดกฎเกณฑ แนวทาง

กํากับ และสงเสริมใหอาจารยทํางานวิจัยหรืองานสรางสรรค และตีพิมพผลงานในวารสารหรือจัดแสดงผลงาน ที่

ไดรับการยอมรับระดับชาติและนานาชาติ โดยกําหนดเปนภาระงานท่ีชดัเจนที่ตองปฏิบัติ

3.2 พัฒนาสมรรถนะนักวิจัยผานกระบวนการท่ีเหมาะสมกับประสบการณของแตละกลุม

บุคคล กรณีนักวิจัยรุนใหมอาจเร่ิมจากการฝกอบรม การทํางานวิจัยหรืองานสรางสรรคโดยไดรับการแนะนําหรือ

การรวมทีมวิจัยกับนักวิจัยอาวุโส การเขารวมประชุมวิชาการ การชวยใหคําปรึกษาวิทยานิพนธระดับ

บัณฑิตศึกษา กรณีนักวิจัยทั่วไป การสงเสริมใหมีโอกาสไปทํางานในหองปฏิบัติการวิจัย หรือรวมทีมวิจัยกับ

นักวิจัยช้ันนํานอกสถาบันทั้งในและตางประเทศ เปนแนวทางหน่ึงที่ทําใหไดรับความรูและประสบการณที่มี

คุณคา

อยางไรก็ตาม การพัฒนาสมรรถนะอาจารยและนักวิจัยที่มีประสิทธิภาพที่สุดคือ การสงเสริมการ

ทํางานวิจัยเปนทีมที่ประกอบดวยนักวิจัยอาวุโส นักวิจัยระดับกลาง นักวิจัยหรือนักศึกษาหลังปริญญาเอก และ

นักศึกษาบัณฑิตศึกษา ผูชวยวิจัย ทั้งนี้เพื่อใหสามารถทํางานวิจัยอยางลุมลึกและตอเนื่อง

3.3 ใหความรูดานจรรยาบรรณของนักวิจัยและจรรยาบรรณท่ีเก่ียวของแกอาจารยและ

นักวิจัย ตลอดจนจัดระบบควบคุมใหนักวิจัยปฏิบัติตามโดยเครงครัด

3.4 สรางแรงจูงใจใหนักวิจัย เชน การยกยอง การใหผลตอบแทน หรือการใหรางวัลสําหรับ

นักวิจัยที่มีผลงานดีเดน การจัดบรรยากาศและการบริการตางๆในสถาบันใหเหมาะสมและจูงใจแกการ

คนควาวิจัยและผลิตงานสรางสรรค เปนตน

Page 113: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

108

4. การจัดสรรงบประมาณของสถาบันเพ่ือเปนทุนวิจัยหรืองานสรางสรรค ในกรณีของนักวิจัยรุนใหม การแสวงหาทุนวิจัยจากภายนอกอาจทําไดยาก ดังนั้น สถาบันจึงควร

จัดสรรงบประมาณเพื่อเปนทุนวิจัยหรือผลิตงานสรางสรรคเพื่อใหนักวิจัยเหลานี้มีโอกาสสรางผลงาน ที่สามารถ

นําไปใชประกอบการเสนอโครงการขอทุนวิจัยจากแหลงทุนภายนอกสถาบันในโอกาสตอไป

สําหรับการเสนอขอทุนวิจัยจากแหลงทุนภายนอกนั้น สถาบันอาจจัดใหมีระบบสนับสนุน เชน

การจัดใหมีขอมูล รายละเอียด และเง่ือนไขของแหลงทุนวิจัยตางๆ ทั้งแหลงทุนภายในประเทศและตางประเทศ

ที่อาจารยและนักวิจัยสามารถเขาดูไดอยางสะดวกรวดเร็ว นอกจากน้ันอาจจัดใหมีคณะผูเช่ียวชาญเปนพี่เล้ียง

ตรวจสอบขอเสนอโครงการวิจัยของอาจารยและนักวิจัยที่เสนอขอทุนไปยังแหลงทุนตางๆ และชวยเหลือปรับปรุง

โครงการเหลานั้นใหเหมาะสม เพื่อมีโอกาสไดรับทุนวิจัยมากย่ิงขึ้น 5. การสนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยและงานสรางสรรคตามอัตลักษณของสถาบัน

สถาบันควรจัดหาทรัพยากรและหรือจัดหาแหลงสนับสนุนทรัพยากรอยางเพียงพอ ทั้ง

งบประมาณสนับสนุนการวิจัย หองปฏิบัติการวิจัย แหลงคนควาทางวิชาการ และระบบสารสนเทศเพ่ือการวิจัย

ตลอดจนกิจกรรมอื่นๆ ที่สงเสริมการวิจัย ดังนี้

5.1 งบประมาณสนับสนุนการวิจัย ควรประกอบดวย 1) งบประมาณสนับสนุนการบริหาร

งานวิจัยของกลุมวิจัยหรือหองปฏิบัติการวิจัย หรือศูนยวิจัยเพื่อใหสามารถผลิตผลงานระดับสากล หรือผลงาน

ตามความตองการของประเทศ หรือของทองถ่ินอยางตอเนื่องนอกเหนือจากเงินทุนวิจัย 2) งบประมาณ

สนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในรูปแบบตางๆ 3) งบประมาณสนับสนุนการวิจัยและงาน

สรางสรรคของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา และของนักวิจัยหลังปริญญาเอก 4) งบประมาณสนับสนุนศาสตราจารย

อาคันตุกะหรือศาสตราจารยรับเชิญ (visiting professor) เปนตน

5.2 หองปฏิบัติการวิจัยที่เหมาะสมกับงานวิจัยแตละประเภทที่เปนจุดเนนของสถาบัน ระบบ

รักษาสุขภาพและความปลอดภัยในหองปฏิบัติการท่ีไดมาตรฐาน ศูนยเคร่ืองมือระดับสูงที่จําเปนที่หลายหนวย

วิจัย หรือกลุมวิจัย หรือศูนยวิจัย สามารถใชรวมกันได หรือหากไมมีศูนยเคร่ืองมือระดับสูงดังกลาว ก็ตอง

จัดระบบผานเครือขายทั้งในและตางประเทศใหสามารถเขาใชของหนวยงานอื่นได เพื่อไมใหเปนอุปสรรคตอการ

วิจัยของนักวิจัย

5.3 แหลงคนควาทางวิชาการ ซึ่งนอกจากหนังสือและวารสารทั้งในรูปของเอกสาร (hard

copy) และส่ืออิเล็กทรอนิกสที่เพียงพอแลว ยังหมายรวมถึงการสนับสนุนการจัดประชุมวิชาการ การสนับสนุน

ศาสตราจารยอาคันตุกะหรือศษสตราจารยรับเชิญ (visiting professor) การสนับสนุนการไปรวมทํางานวิจัยหรือ

งานสรางสรรคกับหนวยงานอื่นที่มีชื่อเสียงทั้งในและตางประเทศ ที่สอดคลองกับงานวิจัยของอาจารย

โดยเฉพาะในชวงลาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณทางวิชาการ (sabbatical leave) ของอาจารยในมหาวิทยาลัยวิจัย

5.4 ระบบสารสนเทศเพื่อการวิจัยที่ครอบคลุมขอมูลขาวสารอยางนอย 5 ดานตอไปนี้

1) ขอมูลดานแหลงทุนวิจัยและงานสรางสรรคทั้งภายในและภายนอกสถาบัน 2) ขอมูลดานการวิจัยและงาน

สรางสรรคของสถาบัน ทั้งปจจุบันและผลงานท่ีผานมา 3) ขอมูลดานแหลงเผยแพรผลงานวิจัยและงาน

สรางสรรคทั้งวารสารและการประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสรางสรรคตางๆ ตลอดจนขอมูลการสนับสนุนของ

สถาบันในการเผยแพรผลงาน 4)ขอมูลดานระบบและกลไกของสถาบันในการสงเสริมการนําผลงานวิจัยและ

งานสรางสรรคไปใชประโยชน รวมถึงการสงเสริมดานการจดสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร และการซ้ือขายทรัพยสินทาง

Page 114: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

109

ปญญา 5) ขอมูลเก่ียวกับระเบียบ หลักเกณฑและแนวปฏิบัติอื่นๆ ของสถาบันที่เก่ียวของกับการวิจัยและงาน

สรางสรรค 6. การติดตามประเมินผลการสนับสนุนในขอ 4 และขอ 5 อยางครบถวนทุกประเด็น

สถาบันจัดใหมีระบบประเมินผลสําเร็จของการสนับสนุนทุกดานอยางสม่ําเสมอ โดยการมีสวน

รวมของอาจารยและนักวิจัย เชน “การประเมินผลสําเร็จของการใหทุนวิจัย” ทั้งในประเด็น งานวิจัยเสร็จทันตาม

กําหนดเวลา คุณภาพของผลงานวิจัยเปนไปตามหลักเกณฑ ผูรับทุนสามารถแสวงหาทุนวิจัยจากแหลงทุน

ภายนอกไดในโอกาสตอมา หรือ “การประเมินแหลงคนควาสนับสนุนงานวิจัย” ในประเด็นความเหมาะสมและ

เพียงพอเทียบกับงานวิจัยของอาจารย และนักวิจัยในปจจุบัน หรือ “การประเมินระบบสารสนเทศ” ในประเด็น

ความเหมาะสมกับความตองการใชของอาจารยและนักวิจัย เปนตน 7. การนําผลการประเมินไปปรับปรุงการสนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยหรืองานสรางสรรค

ของสถาบัน สถาบันนําผลการประเมินไปจัดทําแผนการปรับปรุง โดยกําหนดกิจกรรมที่ตองทําเพื่อการ

ปรับปรุง กําหนดบุคคลหรือหนวยงานรับผิดชอบในการปรับปรุง กําหนดงบประมาณท่ีตองใชหากจําเปน กําหนด

ระยะเวลาที่การปรับปรุงตองแลวเสร็จ จากน้ันจึงดําเนินการปรับปรุงการสนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยตามที่

กําหนด 8. ระบบและกลไกเพ่ือสรางงานวิจัยหรืองานสรางสรรคบนพ้ืนฐานภูมิปญญาทองถ่ินหรือจาก

สภาพปญหาของสังคม เพ่ือตอบสนองความตองการของทองถ่ินและสังคม และดําเนินการตารระบบที่กําหนด(เฉพาะกลุม ข และ ค 2)

สถาบันหรือคณะวิชาวางแนวทางและขั้นตอน ตลอดจนกําหนดผูรับผิดชอบในการสรางความ

รวมมือกับองคกรภายนอกโดยวิธีการตางๆ เชน การจัดหาขอมูลสารสนเทศของกลุมเปาหมาย การสนทนากับ

กลุมเปาหมายที่สําคัญ (focus group) การติดตอสรางสัมพันธกับองคกรภายนอก การใชขอมูลปอนกลับ (feed

back) จากความรวมมือที่มีอยูเดิม

วัตถุประสงคของความรวมมือดังกลาวควรมีทั้งการรวมทํางานวิจัยและงานสรางสรรคบนพื้นฐาน

ภูมิปญญาทองถ่ิน หรือเพื่อตอบโจทยของหนวยงานหรือชุมชนภายนอก รวมถึงการรวมใชทรัพยากรทั้งสถานท่ี

บุคคล อุปกรณ หรือทรัพยากรอื่นๆ

ตัวบงชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวิจัยหรอืงานสรางสรรค 1. ระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคในการประชุมวิชาการ

หรือการตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ

วางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ ตลอดจนกําหนดผูรับผิดชอบในการสนับสนุนการตีพิมพ

หรือการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในวารสารหรือในที่ประชุมวิชาการที่มี peer review ในประเด็น

ตอไปนี้ เชน 1) การจัดใหมีพี่เล้ียงแกนักวิจัยรุนใหมเพื่อชวยเขียนรายงานการวิจัยสําหรับนําเสนอในท่ีประชุม

วิชาการหรือตีพิมพในวารสาร 2) การสนับสนุนการตรวจสอบภาษาอังกฤษของบทความวิจัยของอาจารยและ

นักวิจัย ที่จะนําเสนอในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ 3) การสนับสนุนงบประมาณเพื่อเขารวมประชุมเสนอ

ผลงานวิจัยหรือเผยแพรงานสรางสรรค 4) การจายคาตอบแทนสําหรับผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรค ที่ไดรับการ

Page 115: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

110

ตีพิมพหรือเผยแพร 5) การจายคาตีพิมพกรณีวารสารเรียกเก็บเงิน เปนตน ทั้งนี้การสนับสนุนดังกลาวอาจ

แตกตางกันตามสถานภาพและจุดเนนของแตละสถาบัน 2. ระบบและกลไกรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจากงานวิจัยหรืองาน

สรางสรรค เพ่ือใหเปนองคความรูที่คนทั่วไปเขาใจไดและดําเนินการตามระบบที่กําหนด วางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ ตลอดจนกําหนดผูรับผิดชอบในการ รวบรวม คัดสรร

วิเคราะหและสังเคราะหความรูจากผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคใหเหมาะสมกับกลุมบุคคลเปาหมายโดยยังคง

ความเชื่อถือไดในเชิงวิชาการและรวดเร็วทันตอเหตุการณ เชน กําหนดผูรับผิดชอบติดตามผลงานวิจัยหรืองาน

สรางสรรคของอาจารยและนักวิจัย คัดสรรคผลงานที่นาจะเปนที่สนใจของบุคคลท่ัวไป จัดใหมีการสัมภาษณ

อาจารยเจาของผลงาน วิเคราะห สังเคราะหขอมูลใหเปนความรูที่นาสนใจซ่ึงสาธารณชนสามารถเขาใจได จัด

หมวดหมูความรูที่ไดใหเหมาะสมตอการเผยแพร 3. การประชาสัมพันธและเผยแพรองคความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดจากขอ 2 สู

สาธารณชนและผูเกี่ยวของ นําองคความรูที่ไดจากการวิเคราะหสังเคราะหผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในขอ 2 เผยแพรสู

สาธารณชนผานส่ือตางๆ อยางเปนระบบในเชิงรุก โดยเร่ิมจากการวางแผนประชาสัมพันธใหเหมาะสมกับ

กลุมเปาหมาย ดําเนินการประชาสัมพันธตามแผนตลอดจนการติดตามขอมูลปอนกลับ นอกจากน้ันการ

ประชาสัมพันธอาจรวมถึงการสรางเครือขายเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคโดยเช่ือมโยงกับศิษยเกา

ชุมชน และองคกรภายนอกท้ังรัฐและเอกชน โดยเฉพาะกลุมเปาหมายท่ีคาดวาจะสามารถสนับสนุนงานวิจัย

หรือรวมวิจัย หรือนําผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคไปใชประโยชน 4. การนําผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคไปใชใหเกิดประโยชนและมีการับรองการใช

ประโยชนจริงจากหนวยงานภายนอกหรือชุมชน สนับสนุนการนําผลงานวิจัยและงานสรางสรรคไปใชประโยชน เชน 1) กําหนดขั้นตอน วิธีการ

และผูรับผิดชอบเพื่อเปนส่ือกลางสานสัมพันธในการถายทอดเทคโนโลยีระหวางอาจารย และนักวิจัยกับองคกร

ภายนอกที่มีศักยภาพในการนําผลการวิจัยและงานสรางสรรคไปใชประโยชน 2) ผูรับผิดชอบแสวงหางานวิจัย

จากภาครัฐและเอกชนท้ังภาคอุตสาหกรรมและบริการ ที่ตองการรับบริการวิจัยในเร่ืองเฉพาะใดๆ จากสถาบัน

(consultancy) และประสานงานตอไปยังผูวิจัย 3) ผูรับผิดชอบริเร่ิม ประสานงาน หรือสงเสริมการนําผลงานที่

เกิดจากการวจิัยหรืองานสรางสรรคไปสูงานเชิงพาณิชยในลักษณะนิติบุคคล (start – up company) เปนตน 5. ระบบและกลไกเพ่ือชวยในการคุมครองสิทธ์ิของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่นําไปใช

ประโยชนและดําเนินการตามระบบที่กําหนด สถาบันหรือคณะวิชาวางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ ตลอดจนกําหนดผูรับผิดชอบในการ

สนับสนุนการเจรจาตอรอง ทําขอตกลง หรือสนับสนุนดานระเบียบ หรือกฎหมายที่เก่ียวของ แกอาจารย นักวิจัย

และสถาบัน ในการเจรจาเชิงธุรกิจ หรือการซ้ือขายผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรค ตลอดจนสนับสนุนในการ

เจรจาเขาไปรวมเปนพันธมิตรทางธุรกิจใดๆที่เกิดจากผลของงานวิจัยหรืองานสรางสรรค

นอกจากน้ัน ควรมีการกําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการรักษาสิทธิประโยชนของอาจารย

นักวิจัยและของสถาบันในผลประโยชนที่เกิดขึ้นจากการซื้อขาย หรือทําธุรกิจที่เปนผลจากงานวิจัย โดยเปน

หลักเกณฑที่โปรงใส เปนที่ยอมรับของทุกฝาย

Page 116: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

111

6. มีระบบและกลไกสงเสริมการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร และมีการย่ืนจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร (เฉพาะกลุม ค1 และ ง)

วางแนวทางและขั้นตอนตลอดจนกําหนดผูรับผิดชอบในการสนับสนุนความรู และอํานวยความ

สะดวกในการจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตรแกอาจารย และนักวิจัยในประเด็นตางๆ เชน 1) การใหความรูและ

คําปรึกษาดานทรัพยสินทางปญญา ซึ่งอาจดําเนินการโดยการฝกอบรม หรือสัมมนา หรือจัดคลินิกใหคําปรึกษา

2) ชวยรางคําขอและย่ืนขอจดสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตรตอกรมทรัพยสินทางปญญาหรือสํานักงานเทียบเทาใน

ตางประเทศ 3) ประสานงานการอนุญาตใหใชสิทธิในสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร เพื่อใชประโยชนเชิงพาณิชย เปนตน

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม ตัวบงช้ีที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม

1. มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม และดําเนินการตามระบบที่กําหนด มีการวางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑของการใหการบริการวิชาการดานตางๆ ที่สัมพันธกับ

พันธกิจของสถาบัน มีนโยบายสงเสริม สนับสนุนและจูงใจใหอาจารย บุคลากรทุกระดับมีความพรอมทั้งในดาน

ความรู ความเช่ียวชาญ เวลาและจิตแหงการบริการ (service mind) ในการใหบริการวิชาการแกหนวยงานทั้ง

ภายในและภายนอกสถาบัน ทั้งการจัดหางบประมาณสนับสนุนและจัดทํา ระเบียบของการใหบริการ การ

กําหนดภาระงานของอาจารยและบุคลากรใหชัดเจน โดยมีระบบการเทียบเคียงและทดแทนระหวางภาระงาน

ดานตางๆซ่ึงจะเปนการสรางแรงจูงใจใหบุคลากรสนใจการใหบริการแกชุมชน สังคมตามความถนัดและจุดเนน

ของสถาบัน

ในการใหบริการทางวิชาการน้ีควรมีการวางแผน ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินเพื่อนําไปสูการ

ปรับปรุงคุณภาพของการใหบริการอยางสม่ําเสมอ เพื่อบรรลุตามเปาหมายที่กําหนดไว 2. การบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการเรยีนการสอน

มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการปฏิบัติงาน

ประจําดานอื่นๆของอาจารยและบุคลากร เชน การกําหนดใหนักศึกษานําความรูไปจัดทําเปนโครงการหรือ

กิจกรรมที่เปนประโยชนตอชุมชน 3. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการวิจัย

มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการกับการวิจัยอยางเปนระบบ เชน 1) มีการนําผลการวิจัย

ไปสูการใชประโยชนจริงที่ตอบสนองความตองการของทุกภาคสวนในทุกระดับ และ 2) นําความรู

ประสบการณ จากการใหบริการกลับมาพัฒนาตอยอดไปสูการพัฒนาองคความรูใหมผานกระบวนการวิจัย

เปนตน 4.มีการประเมินผลความสําเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการ

เรียนการสอนและการวิจัย จัดใหมีระบบติดตาม ประเมินผลความสําเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแกสังคมกับ

การเรียนการสอนและการวิจัย โดยใหมีสวนรวมของผูใหบริการ ผู รับบริการ และนักศึกษา ซึ่งเปนทั้ง

ผูใหบริการและผูรับบริการ ทั้งในระดับแผนการดําเนินงาน เปาหมายของสถาบัน ความรวมมือรวมใจของ

บุคลากร คุณภาพของบุคลากร คุณภาพของการใหบริการท่ีสามารถนําไปใชประโยชนไดจริง และเปนไปตาม

หลักเกณฑที่สถาบันกําหนดไว

Page 117: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

112

5.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย

สถาบันนําผลการประเมินไปพัฒนาแผน พัฒนากระบวนการ และผลสัมฤทธิ์ที่ไดอยางสมํ่าเสมอ

และเปนรูปธรรม ตัวบงช้ีที่ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม

1. มีการสํารวจความตองการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหนวยงานวิชาชีพ เพ่ือประกอบการกําหนดทิศทางและการจัดทําแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเนนของสถาบัน

มีการสํารวจความตองการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหนวยงานวิชาชีพ เพื่อ

ประกอบการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร ทิศทางและการจัดทําแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเนนและ

ความเชี่ยวชาญของสถาบัน 2. ความรวมมือดานบริการทางวิชาการเพ่ือการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน

หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือหนวยงานวิชาชีพ สถาบันมีการเชิญหรือเปดโอกาสใหผูมีสวนรวมจากชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน หรือหนวยงานท่ี

เก่ียวของกับวิชาชีพที่จะใหบริการ ความรวมมือรวมพลัง (Collaboration) ในลักษณะของการสรางเครือขาย

(Networking) ระหวางบุคคลหรือหนวยงานในรูปแบบตางๆ เชน ความรวมมือกับสถานประกอบการในการนํา

ผลการวิจัยไปเปนสวนหนึ่งของการปรับปรุงปญหาที่เกิดขึ้นหรือไปใชพัฒนาบุคลากรของสถานประกอบการหรือ

สวนการผลิต มีการแลกเปล่ียนเรียนรู ใหคําปรึกษาแนะนําและจัดใหมีชองทางในการส่ือสาร ทําความเขาใจ

รวมกันของภาคอุตสาหกรรม หรือริเร่ิมโครงการหรือกิจกรรมใหมๆ ในชุมชน 3. มีการประเมินประโยชนหรือผลกระทบของการใหบริการทางวิชาการตอสังคม

มีการประเมินประโยชนหรือผลกระทบของการใหบริการทางวิชาการตอสังคมวาสอดคลองกับ

ความตองการของผูรับบริการทั้งทางตรงและทางออม มีการประเมินผลที่เกิดกับนักศึกษา อาจารย และ

บุคลากรผูใหบริการ ทั้งในดานการนําความรู ความเช่ียวชาญไปใชประโยชน การส่ือสาร การช้ีแจงแนะนําให

ผูรับบริการและประชาชน 4. มีการนําผลการประเมินในขอ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการใหบริการทาง

วิชาการ มีการนําผลการประเมินการใหบริการทางวิชาการไปพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของการใหบริการ

ระบบและกลไกการใหบริการ ซึ่งประกอบดวยรูปแบบการใหบริการ ขอบเขตการใหบริการ คาใชจาย

ระยะเวลาในการใหบริการ สัญญาการบริการ ซึ่งรวมทั้งการควบคุมและการกํากับคุณภาพของการใหบริการ

โดยจัดใหมีระบบการใหขอมูลที่ชัดเจน มีความเปนธรรม โปรงใส และสามารถตรวจสอบได 5. มีการพัฒนาความรูที่ไดจากการใหบริการทางวิชาการและถายทอดความรูสูบุคลากร

ภายในสถาบันและเผยแพรสูสาธารณชน สถาบันมีการพัฒนาความรูที่ไดจากการใหบริการทางวิชาการ สงเสริมใหเกิดกระบวนการในการ

ถายทอดความรูสูบุคลากรภายในสถาบัน ซึ่งรวมท้ังผูเรียนดวย จัดใหมีการแลกเปล่ียนความคิดและเผยแพร

ประสบการณในการใหบริการผานทางส่ือการเรียนรูตาง ๆ รวมทั้งจัดทําฐานขอมูลการบริการวิชาการเผยแพรสู

สาธารณะ

Page 118: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

113

องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ตัวบงช้ีที่ 6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารงุศิลปวัฒนธรรม

1. มีระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และดําเนินการตามระบบที่กําหนด สถาบันอุดมศึกษามีการกําหนดระบบและกลไกทางดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม มี

ระบบสงเสริมใหบุคลากรนํากิจกรรมดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมสูการปฏิบัติ และมีผลลัพธชัดเจน

ตามแนวทางท่ีกําหนดไว เชน มีการกําหนดนโยบายดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม การกําหนด

ผูรับผิดชอบ มีการจัดทําแผนงบประมาณโครงการ มีการกําหนดตัวช้ีวัดดานศิลปะและวัฒนธรรม มีการนํางาน

ศิลปะวัฒนธรรมสูการปฏิบัติที่เปนรูปธรรม โดยทุกคนมีสวนรวม มีการติดตามผลการดําเนินงานอยางเปนระบบ

และมีการนําสูการพัฒนาอยางตอเนื่อง 2. มีการบูรณาการงานดานศิลปะวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

สถาบันสนับสนุนใหมีการนําการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมไปบูรณาการรวมกับการเรียนการ

สอน และกิจกรรมนักศึกษา คือมีการจัดการเรียนการสอนที่นําการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมไปผสมผสาน

เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนการสอน หรือบูรณาการการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมเขากับกิจกรรม

เสริมหลักสูตรทั้งที่จัดโดยสถาบันและที่จัดโดยองคการนักศึกษา 3. มีการเผยแพรกิจกรรมหรือการบริการดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมตอสาธารณชน

3.1 สถาบันมีสถานท่ีเพื่อการเผยแพรและบริการดานศิลปะและวัฒนธรรม เชน มีหอศิลป หอ

ประวัติ พิพิธภัณฑ หรือเวทีการแสดง มีการบริหารจัดการโดยมีผูมีความรู ความเช่ียวชาญดานศิลปะและ

วัฒนธรรม มีการจัดกิจกรรมอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ มีการจัดสรรงบประมาณดานศิลปะและวัฒนธรรม

3.2 สถาบันจัดทําวารสารศิลปะและวัฒนธรรมในระดับตางๆ เชน วารสารระดับหนวยงาน

ระดับชาติ โดยมีความตอเนื่องในการดําเนินงาน

3.3 สถาบันมีการบริการวิชาการดานศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีความรวมมือกับหนวยงานหรือ

องคกรอื่น มีการสรางเครือขาย มีการกําหนดตัวบงชี้ และมีการดําเนินการอยางตอเนื่อง เปนระบบอยางชัดเจน 4. มีการประเมินผลความสําเร็จของการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

กับการจัดการเรียนการสอนและกจิกรรมนักศึกษา มีการติดตามผลการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการ

สอนและกิจกรรมนักศึกษา มีการกําหนดตัวบงชี้ และติดตามผลการดําเนินงานอยางเปนระบบ 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

5.1 มีการนําผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการ บูรณาการดานทํานุบํารุงศิลปะและ

วัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอน โดยใชหลักการของ PDCA

5.2 มีแผนปรับปรุงและพัฒนาการบูรณาการดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมนําสูการ

ปฏิบัติและปรับปรุงอยางตอเนื่อง

5.3 มีผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการตามแผนปรับปรุงและพัฒนาอยางเปนรูปธรรม

Page 119: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

114

6. มีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานคุณภาพดานศิลปะและวัฒนธรรมและมีผลงานเปนที่ยอมรับในระดับชาติ

6.1 สถาบันมีการกําหนด/การสรางมาตรฐานดานศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีการใช

ผูเช่ียวชาญและมีการเผยแพรสูสาธารณะ

6.2 สถาบันไดรับการยอมรับจากสังคม เชน มีศิลปนแหงชาติ มีบุคลากรไดรับเชิญเปน

วิทยากรหรือเปนที่ประจักษ หรือผูทรงคุณวุฒิในระดับองคกรระดับชุมชน ระดับชาติ และระดับนานาชาติ

6.3 สถาบันมีจํานวนผลงานวิจัย หรืองานสรางสรรค ดานศิลปะและวัฒนธรรมโดยมีการ

เผยแพรทั้งในระดับชาติ ระดับภูมิภาค หรือระดับนานาชาติ หรือมีผลงานไดรับรางวัล ไดรับการอางอิง เปนที่

ยอมรับ

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบงช้ีที่ 7.1 ภาวะผูนําของสภาสถาบันและผูบริหารทุกระดับของสถาบัน 1.สภาสถาบันปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดครบถวนและมีการประเมินตนเองตามหลักเกณฑที่กําหนดลวงหนา

1.1 กรรมการสภาสถาบันทุกคนควรไดรับการช้ีแจงและทําความเขาใจเก่ียวกับกฏหมาย

ขอบังคับตาง ๆ ที่เก่ียวของกับสถาบัน โดยเฉพาะพระราชบัญญัติสถาบัน ขอบังคับตาง ๆ อาทิ ขอบังคับที่วา

ดวยการบริหารงานบุคคลและผูบริหาร รวมทั้งทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ กรอบทิศทาง

การพัฒนาสถาบัน และอัตลักษณของสถาบัน เพื่อใหทราบถึงบทบาทหนาที่ที่มีตอสถาบันกอนจะปฎิบัติหนาที่

1.2 กรรมการสภาสถาบันกํากับดูแลสถาบันไปสูทิศทางท่ีกําหนดรวมกันระหวางผูบริหาร

สถาบันและสภาสถาบัน และมีความสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ รวมทั้งทัน

ตอการเปล่ียนแปลงของโลก

1.3 มีการเปดเผยประวัติกรรมการสภาสถาบัน รายงานการประเมินตนเอง และรายงานตอ

สาธารณชน 2. ผูบริหารมีวิสัยทัศน กําหนดทิศทางการดําเนินงาน และสามารถถายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุทธ มีการนําขอมูลสารสนเทศเปนฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนาสถาบัน 2.1 ผูบริหารและสภาสถาบัน มีสวนรวมกันในการกําหนดนโยบายและจัดทําวิสัยทัศน พันธ

กิจ แผนกลยุทธ และนําสูการปฏิบัติที่เปนระบบชัดเจน โดยมีการกําหนดตัวบงชี้คุณภาพ (KPI) ของงานที่ปฏิบัติ

ที่ควรมีการพิจารณาจาก 1 ) มิติการพัฒนาองคกร เชนการสงเสริมใหอาจารย บุคลากรมีโอกาสศึกษา เรียนรู

พัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู 2) มิติการพัฒนา หรือการปรับปรุง

กระบวนหลักของสถาบัน เชน การพัฒนาหลักสูตร การปรับปรุงกระบวนการเรียนรูของนักศึกษา ทิศทางการ

สงเสริมการวิจัย การบริการวิชาการและสังคม การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 3) มิติผูรับบริการหรือผูมีสวน

ได สวนเสียเชน ความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต โดยคํานึงถึงความคุมคาของการใชจายเงิน งบประมาณ และให

สอดคลองกับเปาประสงคตามประเด็นยุทธศาสตร หรือวัตถุประสงคเชิงกลยุทธของสถาบัน อยางเหมาะสมโดย

พิจารณาจากความคุมคาของการจัดเก็บขอมูล และการรายงานขอมูล กับประโยชนที่จะไดรับ

Page 120: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

115

2.2 ผูบริหารสรางระบบและกลไกการถายทอดนโยบาย วิสัยทัศน และแผนกลยุทธให

หนวยงานและบุคลากรทุกระดับทราบและมีความเขาใจรวมกัน

2.3 ควรจัดทําระบบฐานขอมูลของสถาบันใหทันสมัย นํามาใชในการติดตามผลการบริหาร

สารสนเทศ การรายงานผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้คุณภาพ (KPI) ที่กําหนดไวในแผนกลยุทธอยางนอยปละ

2 คร้ัง และนําขอมูลที่ไดมาใชเพื่อการตัดสินใจปรับแผนกลยุทธไดอยางทันการ 3. ผูบริหารมีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถส่ือสารแผนและผลการดําเนินงานของสถาบันไปยังบุคลากรในสถาบัน

3.1 ผูบริหารมีการกํากับ ติดตามผลการนํานโยบายและแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติในการ

ประชุมผูบริหารอยางนอย ปละ 1-2 คร้ัง เพื่อทบทวนเปาหมาย หรือปรับแผนการดําเนินงานใหสอดคลองกับ

สภาพการณย่ิงขึ้น พรอมทั้งสรางกลไกภายในเพ่ือส่ือสารแผนการดําเนินงานไปยังบุคลากรกลุมเปาหมายทุก

ระดับที่เก่ียวของ

3.2 ผูบริหารมีการประเมินผลการดําเนินงานที่สําคัญตามภารกิจของสถาบันอยางครบถวน

รวมทั้งการติดตามผลสัมฤทธิ์ อยางนอย ปละ 1 คร้ัง เพื่อทบทวนเปาหมาย หรือปรับแผนการดําเนินงานในรอบป

ถัดไป พรอมแจงผลการดําเนินงานไปยังบุคลากรทุกระดับผานการส่ือสารภายใน โดยใชส่ือตาง ๆ ที่ตรงกับ

กลุมเปาหมาย 4. ผูบริหารมีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถส่ือสารแผนและผลการดําเนินงานของสถาบันไปยังบุคลากรในสถาบัน 4.1 ผูบริหารมีการกํากับ ติดตามผลการนํานโยบายและแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติในการ

ประชุมผูบริหารอยางนอย ปละ 1-2 คร้ัง เพื่อทบทวนเปาหมาย หรือปรับแผนการดําเนินงานใหสอดคลองกับ

สภาพการณย่ิงขึ้น พรอมทั้งสรางกลไกภายในเพ่ือส่ือสารแผนการดําเนินงานไปยังบุคลากรกลุมเปาหมายทุก

ระดับที่เก่ียวของ

4.2 ผูบริหารมีการประเมินผลการดําเนินงานที่สําคัญตามภารกิจของสถาบันอยางครบถวน

รวมทั้งการติดตามผลสัมฤทธิ์ อยางนอย ปละ 1 คร้ัง เพื่อทบทวนเปาหมาย หรือปรับแผนการดําเนินงานในรอบป

ถัดไป พรอมแจงผลการดําเนินงานไปยังบุคลากรทุกระดับผานการส่ือสารภายใน โดยใชส่ือตาง ๆ ที่ตรงกับ

กลุมเปาหมาย 5. ผูบริหารสนับสนุนใหบุคลากรในสถาบันมีสวนรวมในการบริหารจัดการ ใหอํานาจในการตัดสินใจแกบุคลากรตามความเหมาะสม

5.1 ผูบริหารควรมีระบบการส่ือสาร 2 ทาง เพื่อรับฟงขอคิดเห็นและขอเสนอแนะจากบุคลากร

ผูปฏิบัติงาน อันจะทําใหไดขอมูลเพื่อการปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง

5.2 ผูบริหารดําเนินการปรับลดข้ันตอนกระบวนการบริหารจัดการโดยการมอบอํานาจในการ

ตัดสินใจแกผูบริหารหรือผูปฏิบัติระดับถัดไป เพื่อเพิ่มความคลองตัว พรอมกับมีการกํากับ และตรวจสอบเพื่อให

เกิดความม่ันใจวาระบบการทํางานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุมคา และมีความเส่ียงอยูระดับในที่ยอมรับได

5.3 ผูบริหารมีการสงเสริมสนับสนุนกิจกรรม เพื่อเปนการสรางขวัญและกําลังใจตอบุคลากร

เปนประจําอยางตอเน่ือง เชน การจัดโครงการรางวัลคุณภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพการใหบริการ โครงการ

พัฒนาองคการใหคลองตัว (Lean Organization) เปนตน

Page 121: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

116

6. ผูบริหารถายทอดความรูและสงเสริมพัฒนาผูรวมงาน เพ่ือใหสามารถทํางานบรรลุวัตถุประสงคของสถาบันเต็มตามศักยภาพ

6.1 ผูบริหารมีการถายทอดความรูแกผูรวมงาน โดยเนนการเพิ่มทักษะในการปฏิบัติงานให

สูงขึ้นอยางตอเน่ืองหรือเพิ่มศักยภาพในการทํางานใหบรรลุวัตถุประสงค เชน การสอนงานที่หนางาน

(On – the – job Training) จัดทําคูมือการปฏิบัติงาน เปนตน

6.2 ผูบริหารในระดับตาง ๆ ควรนําหลักการจัดการความรูมาใช เพื่อการแลกเปล่ียนความรู

และถายทอดประสบการณรวมกันระหวางผูปฏิบัติงาน อาทิ การประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู การสรางเครือขาย

ชุมชนนักปฎิบัติ (Community of Practices) เปนตน 7. ผูบริหารบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล โดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนได สวนเสีย

7.1 ผูบริหารควรยึดหลักธรรมาภิบาลเปนเคร่ืองมือในการบริหารการดําเนินงานของสถาบันใหไปสูทิศทางที่กําหนดรวมกันระหวางผูบริหารสถาบัน และสภาสถาบัน โดยใหสอดคลองทิศทางการพัฒนา

คุณภาพการศึกษาของประเทศและทันตอการเปล่ียนแปลงของโลก

7.2 ผูบริหารมีการดําเนินงานภายใตหลักธรรมาภิบาลโดยเฉพาะในประเด็นการปกปองผลประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสียในเรื่องคุณภาพทางวิชาการและเปดโอกาสใหมีสวนรวมจากทุกฝายที่

เก่ียวของในการดําเนินงาน

7.3 ผูบริหารมีการเปดเผยประวัติ มีรายงานประเมินตนเอง จัดทํารายงานสรุปผลการทํางาน

และรายงานการเงินของสถาบันเสนอตอสภาสถาบันเปนประจําทุกป

7.4 ผูบริหารมีการติดตามผลการควบคุมภายใน การบริหารความเส่ียง และการตรวจสอบ

ภายในของสถาบันการศึกษา และรายงานการเงินของสถาบันเสนอตอสภาสถาบันเปนประจําทุกป 8. สภาสถาบันประเมินผลการบริหารงานของสถาบันและผูบริหารนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอยางเปนรูปธรรม

8.1 สภาสถาบันประเมินผลการบริหารงานของสถาบันและผูบริหารตามท่ีระบุไวในกฎหมายหรือพระราชบัญญัติของสถาบัน และขอบังคับมหาวิทยาลัยที่วาดวยการบริหารงานบุคคลผูบริหาร และขอบังคับ

ที่เก่ียวของกับการประเมิน หรือตามขอตกลงท่ีทาํรวมกันระหวางสภาสถาบันและผูบริหาร

8.2 สภาสถาบันควรยึดหลักการประเมินผลการบริหารงานแบบกัลยาณมิตร กลาวคือใชหลักการที่มุงเนนการใหขอเสนอแนะเชิงสรางสรรค นําผลการประเมินไปใชในการพัฒนา หรือปรับปรุงสถาบันให

เจริญกาวหนาอยางตอเนื่อง

8.3 ผูบริหารมีการนําผลการประเมินจากสภาสถาบันไปใชปรับปรุงการบริหารงาน อาทิ

จัดทําแผนการบริหารงาน และรายงานผลการดําเนินงานตอสภาสถาบันในโอกาสท่ีเหมาะสม ตัวบงช้ีที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสูสถาบันเรียนรู 1.มีการกําหนดประเด็นความรูและเปาหมายของการจัดการความรูที่สอดคลองกับแผน กลยุทธของสถาบันอยางนอยครอบคลุมพันธกิจดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัย

1.1 สถาบันควรศึกษาเปาประสงคตามประเด็นยุทธศาสตร หรือวัตถุประสงคเชิงกลยุทธของ

สถาบัน วามีประเด็นใดที่มุงเนนเปนสําคัญ หรือมุงสูอัตลักษณใดที่ตองการ เพื่อนํามาใชในการกําหนด แผน

Page 122: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

117

ยุทธศาสตรหรือแผนปฏิบัติการในการจัดการความรูใหสอดคลองกับแผนกลยุทธของสถาบัน โดยอยางนอยตอง

ครอบคลุมพันธกิจดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัย

1.2 บุคคลท่ีเก่ียวของในการกําหนดประเด็นความรู อาจประกอบดวย รองอธิการบดี ผูชวย

อธิการบดี คณบดี รองคณบดี ผูชวยคณบดี ผูอํานวยการ หัวหนางาน ที่กํากับดูแลดานยุทธศาสตรหรือกลยุทธ

ที่เก่ียวของกับการผลิตบัณฑิต ดานวิจัย รวมทั้งดานอื่นๆ ที่เปนไปตามอัตลักษณของสถาบัน

1.3 สถาบันควรมี เปาหมายในการจัดการความรู โดยเนนเ ร่ืองการพัฒนาทักษะ

ความสามารถของบุคลากรภายในเปนหลัก โดยอยางนอยตองครอบคลุมพันธกิจดานการผลิตบัณฑิตและดาน

การวิจัย รวมทั้งประเด็นการจัดการความรูที่สถาบันมุงเนนตามอัตลักษณ เชน เทคนิคการปรับปรุงหลักสูตรและ

วิธีการเรียนรูที่เนนผลลัพธการเรียนรู (Learning Outcome) เทคนิคการเพิ่มผลงานวิจัยภายในสถาบัน เปนตน 2. กําหนดบุคลากรกลุมเปาหมายที่จะพัฒนาความรูและทักษะดานการผลิตบัณฑิตและดาน

การวิจัยอยางชัดเจนตามประเด็นความรูที่กําหนดในขอ 1 2.1 กลุมเปาหมายท่ีจะไดรับการพัฒนาความรูและทักษะดานการผลิตบัณฑิตและดานการ

วิจัย อยางนอยควรเปนบุคลากรที่ทําหนาที่เก่ียวของกับการผลิตบัณฑิตและการวิจัย เชน คณาจารย หรือนักวิจัย

ที่เก่ียวของกับประเด็นความรูดังกลาว รวมทั้งดานอื่นๆ ที่สถาบันมุงเนน

2.2 สถาบันควรกําหนดนโยบายใหมีการสํารวจผลการปฏิบัติงานที่เปนจุดเดนของอาจารย

หรือนักศึกษาในแตละคณะ หรือสาขาวิชา โดยเฉพาะดานการจัดการเรียนการสอน และการวิจัยที่สะทอนอัต

ลักษณของสาขาวิชานั้น ๆ เพื่อนํามากําหนดเปนประเด็นสําหรับใชในกระบวนการจัดการความรูใหไดองคความรู

ที่เปนประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3. มีการแบงปนและแลกเปล่ียนเรียนรูจากความรู ทักษะของผูมีประสบการณตรง (Tacit Knowledge) เพ่ือคนหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรูที่กําหนดในขอ 1 และเผยแพรไปสูบุคลากรกลุมเปาหมายที่กําหนด 3.1 สถาบันควรเชิญบุคลากรภายใน หรือภายนอกที่มีผลงานดีเดนทางดานวิชาการ และ

ผลงานทางดานวิจัย รวมท้ังผลงานดานอื่นๆ ที่สถาบันมุงเนน มาถายทอดความรู เคล็ดลับ หรือนวัตกรรม อยาง

สมํ่าเสมอผานเวทีตาง ๆ เชน การจัดประชุมสัมมนา เพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกับเจาของความรู เคล็ดลับ

หรือนวัตกรรมดังกลาว

3.2 สถาบันควรสงเสริมใหมีบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรูภายในสถาบัน เชน การ

สงเสริมใหมีชุมชนนักปฏิบัติและเครือขายดานการจัดการความรู ทั้งระหวางหนวยงานภายในสถาบันและ

ภายนอกสถาบัน เพื่อใหเกิดวัฒนธรรมการแลกเปล่ียนเรียนรูอยางตอเนื่อง โดยการจัดสรรทรัพยากรอยาง

เหมาะสม ทั้งดานงบประมาณ เวลา สถานที่ 4. มีการรวบรวมความรูตามประเด็นความรูที่กําหนดในขอ 1 ทั้งที่มีอยูในตัวบุคคลและแหลงเรียนรูอ่ืนๆ ที่เปนแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอยางเปนระบบโดยเผยแพรออกมาเปนลายลักษณอักษร (Explicit Knowledge)

4.1 มีการกําหนดผูรับผิดชอบในการวิเคราะห สังเคราะหความรูทั้งที่มีอยูในตัวบุคคลและแหลงเรียนรูอื่นๆ ที่เปนแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอยางเปนระบบ เปนหมวดหมูเพื่อใหบุคลากร

กลุมเปาหมายที่ตองการเพิ่มพูนความรูความสามารถเขาถึงแนวปฏิบัติที่ดีไดงาย

Page 123: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

118

4.2 ควรมีการใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และเผยแพรความรูในองคกร ใหเกิดความประหยัดและเกิดประโยชนสูงสุด

4.3 ควรมีการจัดพิมพวารสาร หรือส่ือส่ิงพิมพ เพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูและยกยองใหเกียรติแกผูเปนเจาของความรู เคล็ดลับ หรือนวัตกรรมดังกลาว 5. มีการนําความรูที่ไดจากการจัดการความรูในปการศึกษาปจจุบันหรือปการศึกษาที่ผานมา ที่เปนลายลักษณอักษร (Explicit Knowledge) และจากความรู ทักษะของผูมีประสบการณตรง (Tacit Knowledge) ที่เปนแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใชในการปฏิบัติงานจริง 5.1 ผูรับผิดชอบควร วิเคราะหความรูจากแนวปฏิบัติที่ดีจากแหลงตาง ๆ เชน นวัตกรรมท่ีได

จากการจัดการความรูไปใชใหเกิดประโยชนแกสถาบันและสังคม นํามาปรับใชใหเหมาะสมกับบริบทของ

หนวยงานที่เปนกลุมเปาหมาย

5.2 ผูรับผิดชอบควรขยายผลการปรับใชไปยังหนวยงานตางๆ และติดตามวัดผลตามประเด็น

ความรูและเปาหมายของการจัดการความรูที่สอดคลองกับแผนกลยุทธดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัย

5.3 มีกลไกการนําผลการประเมินคุณภาพจากภายในและภายนอกดานการจัดการความรู มาปรับปรุงและพัฒนาระบบและกลไกการจัดการความรูของสถาบัน

5.4 ผูรับผิดชอบควรสรุปผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นตามเปาประสงคที่กําหนดไวในประเด็นยุทธศาสตร

หรือกลยุทธของสถาบัน ตัวบงช้ีที่ 7.3 ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจ 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan)

1.1 สถาบันควรต้ังคณะกรรมการจัดทําแผนระบบสารสนเทศที่ประกอบไปดวยผูบริหารดาน

ระบบสารสนเทศของสถาบันและกลุมผูบริหารที่เปนผูใชระบบสารสนเทศ

1.2 แผนระบบสารสนเทศควรสอดคลองกับแผนกลยุทธของสถาบัน

1.3 ระบบสารสนเทศที่นําเสนอในแผนระบบสารสนเทศควรประกอบดวยรายละเอียดดังตอไปน้ี

เปนอยางนอย

- วัตถุประสงค ความสามารถในการทํางานของระบบแตละระบบ

- ความสอดคลองของแตละระบบท่ีมีตอแตละกลยุทธของสถาบัน

- ความสัมพันธระหวางระบบสารสนเทศท่ีนําเสนอใหมกับระบบสารสนเทศที่มีอยูใน

ปจจุบัน

- ทรัพยากรสารสนเทศที่ตองการใชในแตละระบบ ทั้ง Hardware Software (System

Software และ Application Software) Database Peopleware และ Facilities อื่นๆ

- งบประมาณที่ตองการใชในแตละระบบ

- การประเมินความคุมคาของระบบสารสนเทศ

- การจัดลําดับความสําคัญของระบบสารสนเทศ

Page 124: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

119

2. มีระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจตามพันธกิจของสถาบัน โดยอยางนอยตองครอบคลุมการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริหารจัดการ และการเงิน และสามารถนําไปใชในการดําเนินงานประกันคุณภาพ

ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจเปนระบบสารสนเทศท่ีนําขอมูลจากระบบ

สารสนเทศในการดําเนินงานตามปกติ เชน ระบบบัญชี ระบบลงทะเบียนนักศึกษา ระบบทะเบียนประวัติ เปนตน

มาสรางเปนสารสนเทศใหผูบริหารใชในการบริหารและการตัดสินใจในเร่ืองที่เปนพันธกิจของสถาบันไดอยาง

ครบถวน ทั้งดานการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การเงิน การบริหารจัดการดานอื่น ๆ รวมทั้งเปนขอมูลเพื่อใชใน

การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาดวย 3. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบสารสนเทศ

3.1 ผูรับผิดชอบควรจัดทําแบบประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบ รวมท้ังกําหนดระยะเวลาใน

การเก็บแบบประเมินใหสอดคลองกับลักษณะการเขาใชระบบ เชน มีการประเมินความพึงพอใจทุกคร้ังที่มีการใช

ระบบหรือทุกเดือน ทุกภาคการศึกษา ทุกปการศึกษา เปนตน

3.2 ผูรับผิดชอบดานระบบสารสนเทศของสถาบันควรดําเนินการประเมินความพึงใจของผูใชระบบสารสนเทศเปนประจําอยางนอยปละ 1 คร้ัง 4. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบสารสนเทศมาปรับปรุงระบบสารสนเทศ

4.1 กําหนดผูรับผิดชอบในการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบสารสนเทศ

4.2 นําผลการประเมินความพึงพอใจมาใชในการจัดทําแผนปรับปรุงระบบสารสนเทศ

4.3 แผนปรับปรุงระบบสารสนเทศควรผานการพจิารณาจากผูบริหารแลว 4.4 ดําเนินการตามแผนปรับปรุงระบบสารสนเทศตามระยะเวลาท่ีกําหนด

5. มีการสงขอมูลผานระบบเครือขายของหนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของตามที่กําหนด มีการสงขอมูลผานระบบเครือขายของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามที่สํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด ไดแก ระบบฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับอุดมศึกษา (CHE QA Online) ระบบฐานขอมูลรายบุคคลดานนักศึกษา บุคลากร และหลักสูตรใน

สถาบันอุดมศึกษา เปนตน ตัวบงช้ีที่ 7.4 ระบบบริหารความเส่ียง 1. มีการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเส่ียง โดยมีผูบริหารระดับสูงและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสถาบันรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํางาน

1.1 มีการแตงต้ังคณะกรรมการหรือคณะทํางาน ประกอบดวยผูบริหารระดับสูง และตัวแทนที่

รับผิดชอบในแตละพันธกิจหลักของสถาบัน

1.2 มีการระบุรายละเอียดการทํางานของคณะกรรมการหรือคณะทํางาน เชน นโยบายหรือ

แนวทางในการดําเนินงาน หนาที่ความรับผิดชอบ กําหนดระยะเวลาใหมีการประชุมของคณะกรรมการหรือ

คณะทํางานฯ อยางสม่ําเสมอ

Page 125: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

120

2. มีการวิเคราะหและระบุความเส่ียง และปจจัยที่กอใหเกิดความเส่ียงอยางนอย 3 ดาน ตามบริบทของสถาบัน

ปจจัยที่กอใหเกิดความเส่ียงในประเด็นตาง ๆ เชน

- ความเส่ียงดานทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

อาคารสถานท่ี)

- ความเส่ียงดานยุทธศาสตร หรือกลยุทธของสถาบัน

- ความเส่ียงดานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

- ความเส่ียงดานการปฏิบัติงาน เชน ความเส่ียงของกระบวนการบริหารหลักสูตร

การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ

- ความเสี่ยงดานบุคลากรและความเส่ียงดานธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณ

ของอาจารยและบุคลากร

- ความเส่ียงจากเหตุการณภายนอก

- ความเส่ียงดานอื่นๆ ตามบริบทของสถาบัน

2.1 วิเคราะหและระบุความเส่ียงพรอมปจจัยที่กอใหเกิดความเส่ียงที่สงผลกระทบหรือสรางความเสียหาย หรือความลมเหลวหรือลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายในการบริหารการศึกษา

2.2 ประเด็นความเส่ียงที่นํามาพิจารณาควรมองถึงเหตุการณในอนาคตท่ีมีโอกาสเกิดขึ้นและ

สงผลกระทบตอสถาบันดานช่ือเสียง คุณภาพการศึกษา รวมถึงความสูญเสียทางดานชีวิตบุคลากร และ

ทรัพยสินของสถาบันเปนสําคัญ

2.3 ปจจัยเส่ียงหรือปจจัยที่กอใหเกิดความเส่ียงอาจใชกรอบแนวคิดในเร่ืองที่เก่ียวของกับคน

อาคารสถานท่ี อุปกรณ วิธีการปฏิบัติงาน สภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอก เปนตน

2.4 จัดลําดับความสําคัญของปจจัยเส่ียง โดยพิจารณาจากมิติของโอกาสและผลกระทบจาก

ความเส่ียง 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเส่ียงและจัดลําดับความเส่ียงที่ไดจากการวิเคราะหในขอ 2

3.1 ระดับความเส่ียงอาจกําหนดเปนเชิงปริมาณ หรือเชิงคุณภาพท่ีสะทอนถึงความเส่ียง

ระดับสูง กลาง ตํ่า ได

3.2 ควรมีการกําหนดเกณฑการประเมินความเส่ียงทั้งในดานของโอกาสและผลกระทบ

3.3 การประเมินโอกาสในการเกิดความเส่ียง ใหประเมินจากความถ่ีที่เคยเกิดเหตุการณเส่ียงใน

อดีต หรือความนาจะเปนที่จะเกิดเหตุการณในอนาคต โดยคาดการณจากขอมูลในอดีต รวมถึงสภาพแวดลอมที่

เก่ียวของกับการควบคุมปจจัยเส่ียงในปจจุบัน

3.4 การประเมินผลกระทบของความเส่ียง ใหประเมินจากความรุนแรง ถามีเหตุการณเส่ียง

ดังกลาวเกิดขึ้น โดยจะมีความรุนแรงมาก ถากระทบตอความเชื่อม่ันตอคุณภาพทางการศึกษาของสถาบัน ฐานะ

การเงิน ขวัญกําลังใจและความปลอดภัยของบุคลากร เปนตน

Page 126: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

121

4. มีการจัดทําแผนบริหารความเส่ียงที่มีระดับความเส่ียงสูง และดําเนินการตามแผน 4.1 จัดทําแผนบริหารความเส่ียงเพื่อการบรรลุเปาหมาย โดยตองกําหนดมาตรการหรือ

แผนปฏิบัติการท่ีจะสรางความรู ความเขาใจใหกับบุคลากรในสถาบัน และดําเนินการแกไข ลด หรือปองกัน

ความเส่ียงที่จะเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม

4.2 สรางมาตรการควบคุมความเส่ียงโดยใชเทคนิค 4 T คือ Take การยอมรับความเส่ียง

Treat การลดหรือควบคุมความเส่ียง Transfer การโอนหรือกระจายความเส่ียง และ Terminate การหยุดหรือ

หลีกเล่ียงความเส่ียง เพื่อลดมูลเหตุของแตละโอกาสที่สถาบันจะเกิดความเสียหาย (ทั้งในรูปแบบของตัวเงิน

และไมใชตัวเงิน เชน ชื่อเสียง การฟองรองจากการไมปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ประสิทธิภาพ

ประสิทธิผลหรือความคุมคา คุณคา) 5. มีการติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามแผน และรายงานตอสภาสถาบันเพ่ือพิจารณาอยางนอยปละ 1 ครั้ง

5.1 มีการรายงานความกาวหนาหรือผลการดําเนินงานตามแผนตอสภาสถาบัน

5.2 มีการรายงานสรุปผลการดําเนินงานและประเมินผลความสําเร็จของการดําเนินงาน

ปญหาอุปสรรคและแนวทางการแกไข พรอมขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนการดําเนินงานตอสภาสถาบัน 6. มีการนําผลการประเมิน และขอเสนอแนะจากสภาสถาบันไปใชในการปรับแผนหรือวิเคราะหความเส่ียงในรอบปถัดไป

แผนบริหารความเส่ียงในรอบปถัดไปควรพิจารณาระดับความเส่ียงที่เหลืออยูหลังการจัดการ

ความเส่ียงและขอเสนอแนะจากสภาสถาบัน รวมทั้งความเส่ียงใหมจากนโยบาย หรือสภาพแวดลอมทาง

การศึกษาท่ีเปล่ียนแปลงไปทั้งภายในสถาบัน และจากหนวยงานกํากับ

องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบงช้ีที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงนิและงบประมาณ 1. มีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับแผนกลยุทธของสถาบัน

1.1 แผนกลยุทธทางการเงินเปนแผนท่ีแสดงใหเห็นถึงแหลงที่มาและแหลงใชไปของเงินที่ตอง

ใชในการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ

1.2 สถาบันควรต้ังคณะกรรมการทําหนาที่ดําเนินการวิเคราะหทรัพยากรท่ีตองใชในการ

ดําเนินงานตามแผนกลยุทธของสถาบัน และทําการประเมินมูลคาของทรัพยากรท่ีตองใชซึ่งจะเปนงบประมาณ

ในการดําเนินการตามแผน และ กําหนดแหลงที่มาของงบประมาณดังกลาวซ่ึงอาจจะเปนงบประมาณแผนดิน

เงินรายไดสถาบัน เงินบริจาค หรือสถาบันจะตองจัดใหมีการระดมทุนจากแหลงทุนตาง กอนที่จะนําขอมูล

เหลานั้นมาจัดทํางบประมาณประจําปตามแหลงงบประมาณนั้นๆ 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน หลักเกณฑการจัดสรร และการวางแผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได

2.1 มีแนวทางการจัดหาแหลงเงินทุนที่เหมาะสมกับลักษณะของคาใชจายหรือเงินทุนและ

เพียงพอ สําหรับการบริหารภารกิจของสถาบันในทุกดานใหเปนไปตามเปาหมาย

2.2 มีแนวทางในการจัดสรรทรัพยากรตามหลักเกณฑที่กําหนดลวงหนาและไดรับการยอมรับ

โดยทั่วไปของประชาคม ในกรณีที่มีหลักเกณฑในการจัดสรรทรัพยากรอยูแลวควรไดมีการทบทวนความ

เหมาะสมของหลักเกณฑใหสอดคลองกับสถานการณในปจจุบัน

Page 127: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

122

2.3 มีแผนการจัดหาทรัพยากรทางการเงินอยางเพียงพอ สําหรับการบริหารภารกิจของ

สถาบันในทุกดานใหเปนไปตามเปาหมาย และมีแผนใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อจะทําใหรายไดรายจาย

เปนไปอยางเหมาะสม 3. มีงบประมาณประจําปที่สอดคลองกับแผนปฎิบัติงานในแตละพันธกิจและการพัฒนาสถาบันและบุคลากร

สถาบันการศึกษาแตละแหงอาจจะมีวิธีการและหลักการในการทํางบประมาณประจําปที่แตกตางกัน

ไดแตอยางไรก็ตามหลังจากไดมีการจัดทํางบประมาณประจําปเสร็จแลวกอนที่ที่จะนํางบประมาณประจําปเสนอสภา

สถาบันควรไดมีการวิเคราะหการใชไปของเงินตามงบประมาณในดานตางๆดังนี้

- งบประมาณประจําปสอดคลองกับแผนปฏิบัติงานประจําปที่กําหนดไวในแตละปมาก

นอยเพียงใด

- เม่ือวิเคราะหตามพันธกิจของสถาบันแลว งบประมาณประจําปในแตละพันธกิจมีความ

เพียงพอมากนอยเพียงใด

- เม่ือวิเคราะหตามแผนการพัฒนาสถาบันแลว งบประมาณประจําปสําหรับการพัฒนา

บุคลากรมีความเหมาะสมตามนโยบายมากนอยเพียงใด 4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ และรายงานตอสภาสถาบันอยางนอยปละ

2 ครั้ง มีการจัดทํารายงานทางการเงินที่อยางนอยประกอบไปดวยงบรายรับ คาใชจายและงบดุลอยาง

เปนระบบ อยางนอยทุก 6 เดือน ปละ 2 คร้ัง เพื่อจะไดรูถึงสถานะของเงินรายได หักคาใชจายแลวสถานศึกษามี

งบประมาณเหลือเพียงพอ ที่จะใชในกิจกรรมของสถาบันในชวงถัดไป มีการนํารายงานทางการเงินเสนอผูบริหาร

ของสถาบัน และสภาสถาบัน 5. มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะทางการเงินและความม่ันคงของสถาบันอยางตอเนื่อง

4.5 จัดทํารายงานการใชเงินงบประมาณตามแผนการดําเนินงานเสนอผูบริหาร เปนรายงานท่ีแจงใหผูบริหารไดทราบวา ไดใชเงินตามแผนหรือไมและไดใชเงินกับกิจกรรมใด มีผลลัพธจากการทํางานอยางไร

บาง มีงบประมาณเหลือจายในแตละแผนเทาไร

4.6 มีการจัดทําคาใชจายตอหัวของนักศึกษา

4.7 มีการจัดทํารายงานการลงทุนของสถาบัน

4.8 มีการวิเคราะหเพื่อพยากรณรายรับและรายจายในอนาคต 6. มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจ ติดตามการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด

4.3 สถาบันการศึกษาท่ีไมไดมีสํานักงานตรวจเงินแผนดินเปนผูตรวจสอบภายนอกอยูแลวควรจัดใหมีผูตรวจสอบภายนอกเขาตรวจสอบเปนประจําทุกป สําหรับสถาบันการศึกษาของรัฐที่มีสํานักงานตรวจ

เงินแผนดินเปนผูตรวจสอบภายนอกอยูแลวนั้นหากสํานักงานตรวจเงินแผนดินไมไดเขาตรวจสอบเปนประจําทุก

ปควรจัดใหมีผูตรวจสอบภายนอกเขาตรวจสอบเปนประจําทุกป

4.4 มีการแตงต้ังคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit committee) หรือรวมทั้งผูตรวจสอบภายใน

อยางเปนทางการ

Page 128: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

123

7. ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ

7.1 ผูบริหารสามารถใชระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจชวยในการติดตาม

การใชเงิน จัดทํารายงานตางๆที่เปนส่ิงจําเปนที่ผูบริหารจะตองทราบ และนําขอมูลมาวิเคราะหสถานะทาง

การเงินของหนวยงาน

7.2 มีการนํารายงานทางการเงินเสนอสภาสถาบันตามแผนที่กําหนด องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบงช้ีที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสม และสอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของสถาบัน ตั้งแตระดับภาควิชา หรือหนวยงานเทียบเทา และดําเนินการตามระบบที่กําหนด

1.1 สถาบันอุดมศึกษาควรพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ที่เหมาะสมกับระดับการพัฒนาของ

สถาบัน โดยอาจเปนระบบประกันคุณภาพท่ีใชกันแพรหลายท้ังในระดับชาติหรือนานาชาติ หรือเปนระบบ

เฉพาะท่ีสถาบันพัฒนาขึ้นเอง

1.2 ระบบประกันคุณภาพท่ีนํามาใชตองเปนสวนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ี

ดําเนินการเปนประจํา โดยเร่ิมจากการวางแผน การดําเนินการตามแผน การตรวจสอบ ประเมินและการปรับปรุง

พัฒนาเพื่อใหการดําเนินภารกิจบรรลุเปาประสงคและมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง

1.3 มีการกําหนดผูรับผิดชอบและประสานงานดานการประกันคุณภาพเพ่ือผลักดันใหมีการ

ประกันคุณภาพเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ต้ังแตระดับสถาบัน คณะวิชา ภาควิชา / สาขาวิชา จนถึงระดับผูปฏิบัติแต

ละบุคคล 2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดย

คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบัน 2.1 คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบัน ตองใหความสําคัญและ

กําหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาที่ชัดเจน โดยเกิดจากการมีสวนรวมจากทุกภาคีทั้งภายในและ

ภายนอกสถาบัน

2.2 มีหนวยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบการจัดระบบการประกันคุณภาพพรอมทั้ง

กําหนดมาตรฐาน ตัวบงชี้และเกณฑการประเมินคุณภาพที่เหมาะสม

2.3 มีกลไกเชื่อมโยงการปฏิบัติงานตั้งแตระดับบุคคล ระดับภาควิชาหรือสาขาวิชา ระดับ

คณะวิชา ถึงระดับสถาบัน เพื่อใหไดคุณภาพตามที่สถาบันหรือคณะวิชากําหนด

2.4 มีคูมือคุณภาพในแตละระดับเพื่อกํากับการดําเนินงานใหสูการปฏิบัติที่เปนรูปธรรม

2.5 มีกลไกการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและกระตุนใหเกิดการพัฒนาคุณภาพอยาง

ตอเนื่อง 3. มีการกําหนดตัวบงช้ีเพ่ิมเติมตามอัตลักษณของสถาบัน

3.1 สถาบันอาจกําหนดมาตรฐานและกําหนดตัวบงช้ีที่ใชเปนกรอบในการดําเนินงานของ

สถาบันเพิ่มเติมตามอัตลักษณของตนเอง แตทั้งนี้ตองไมขัดกับมาตรฐานการอุดมศึกษา ตลอดจนมาตรฐาน

และกฎเกณฑอื่นๆ ที่เก่ียวของ

Page 129: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

124

3.2 ตัวบงชี้ที่เพิ่มเติมขึ้นตามอัตลักษณของสถาบันควรช้ีวัดคุณลักษณะที่พึงประสงคครบถวน

ทั้งปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ

3.3 เกณฑหรือแนวปฏิบัติที่ดีที่ใชกํากับแตละตัวบงช้ี ตองสามารถวัดระดับคุณภาพตาม

เปาหมายของตัวบงชี้นั้นๆ และเปนเกณฑที่นําไปสูการปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่อง 4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครบถวน ประกอบดวย1)การ

ควบคุม ติดตามการดําเนินงานและประเมินคุณภาพ 2)การจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานประเมินคุณภาพเสนอตอสภาสถาบันและสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดใน CHE QA Online และใน 3)การนําผลการประเมินคุณภาพไปทําแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบัน

4.1 มีการดําเนินการตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่สมบูรณครบถวน โดยมี

การกําหนดการควบคุมคุณภาพ การติดตามดําเนินงาน และการประเมินคุณภาพ

4.2 มีการนําวงจร PDCA เขามาใชในการดําเนินงานดานระบบคุณภาพ และการปรับปรุง

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

4.3 มีการจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานประเมินคุณภาพที่มีขอมูลครบถวนตามท่ี

สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษากําหนดใน CHE QA Online เสนอสภาสถาบันพิจารณา พรอมทั้งเสนอ

มาตรการและแผนเรงรัดการพัฒนาคุณภาพตามผลการประเมินในแตละป โดยสงรายงานใหตนสังกัดหนวยงาน

ที่เก่ียวของและเปดเผยตอสาธารณชน 5. มีการนําผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุงการทํางาน และสงผลใหมีการ

พัฒนาผลการดําเนินงานของตัวบงช้ีตามแผนกลยุทธทุกตัวบงช้ี สถาบันหรือคณะวิชาควรมอบหมายใหผูรับผิดชอบตัวบงชี้ของแผนกลยุทธนําผลจากการตรวจ

ประเมินคุณภาพ มาตรการ และแผนพัฒนาคุณภาพในแตละป ไปวิเคราะหและดําเนินการหรือประสานงานกับ

คณะกรรมการ/หนวยงานที่เก่ียวของเพื่อพิจารณาปรับปรุงการดําเนินงานในสวนที่รับผิดชอบโดยตรงหรือรวม

รับผิดชอบ โดยมีเปาหมายใหผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของแผนกลยุทธของสถาบันมีการพัฒนาขึ้นจากป

กอนหนาทุกตัวบงชี้ 6. มีระบบสารสนเทศที่ใหขอมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในครบทั้ง 9

องคประกอบคุณภาพ สถาบันควรจัดใหมีระบบสารสนเทศท่ีสามารถนําเสนอขอมูลประกอบการดําเนินการประกัน

คุณภาพการศึกษาท่ีถูกตอง เปนปจจุบันครบทั้ง 9 องคประกอบคุณภาพและสามารถใชรวมกันไดทั้งระดับบุคคล

ภาควิชา คณะวิชา และสถาบัน รวมถึงเปนระบบที่สามารถเช่ือมตอกับหนวยงานภายนอกท่ีเก่ียวของกับการ

ประกันคุณภาพ เชน สกอ. สมศ. กพร. เปนตน 7. มีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะนักศึกษา

ผูใชบัณฑิตและผูใชบริการตามพันธกิจของสถาบัน สถาบันควรสงเสริมใหนักศึกษา คณาจารย และบุคลากรของสถาบันเขามามีสวนรวมใน

กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา และเปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสีย โดยเฉพาะผูใชบัณฑิตและ

ผูรับบริการตามพันธกิจของสถาบัน เชน ผูรับบริการดานการวิจัย หรือ ชุมชนผูรับบริการทางวิชาการของสถาบัน

ไดเขามีมาสวนในการประกันคุณภาพ อาทิ ในรูปแบบของการรวมเปนกรรมการ การรวมกําหนดตัวบงช้ีและ

Page 130: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

125

เปาหมาย การใหขอมูลปอนกลับหรือการใหความรวมมือกับสถาบันในการดําเนินกิจกรรมตางๆดานการประกัน

คุณภาพ เปนตน 8. มีเครือขายการแลกเปล่ียนเรียนรูดานการประกันคุณภาพการศึกษาระหวางสถาบันและมี

กิจกรรมรวมกัน 8.1 มีการสรางเครือขายการประกันคุณภาพระหวางสถาบัน ทั้งในสวนของระดับสถาบันหรือ

คณะวิชา และในสวนที่เก่ียวกับกิจกรรมนักศึกษา และอื่นๆ

8.2 มีการทํางานดานการประกันคุณภาพรวมกันในเครือขาย มีผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจน

และมีพัฒนาการดานตางๆท่ีเกิดขึ้น จากการแลกเปล่ียนเรียนรูภายในเครือขาย

8.3 มีการติดตาม ประเมินผลการสรางเครือขาย เพื่อนําไปสูการพัฒนาการทํางานรวมกัน

อยางตอเนื่อง 9. มีแนวปฏิบัติที่ดีหรืองานวิจัยดานการประกันคุณภาพการศึกษาที่หนวยงานพัฒนาขึ้น และ

เผยแพรใหหนวยงานอ่ืนนําไปใชประโยชน 9.1 มีกระบวนการคัดสรรแนวปฏิบัติที่ดี ในแตละกิจกรรมที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานดานการ

ประกันคุณภาพการศึกษา

9.2 มีการเผยแพรแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา ที่เปนวิธีปฏิบัติที่ดีใหกับสาธารณชน

และใหหนวยงานอื่นไปใชประโยชน

9.3 มีการวิจัยสถาบันดานการประกันคุณภาพการศึกษา และนําผลไปพัฒนางานดานการ

ประกันคุณภาพการศึกษา

Page 131: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

126

การวิเคราะหและแนวทางปฏิบัติเพื่อใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานสํานกังานสํานกังานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) ตัวบงชีที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ขอมูลประกอบการพิจารณา ขอมูลจากการสํารวจตองมีความเปนตัวแทนของผูสําเร็จการศึกษาท้ังในเชิงปริมาณ (อยางนอยรอยละ

80)และในเชิงคุณลักษณะ (ครอบคลุมทุกกลุมสาขาวิชา) กรณีบัณฑิตที่ตอบแบบสํารวจไมถึงรอยละ 80 ของ

บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา ใหมีการติดตามซํ้าและรายงานผลที่ติดตามซํ้าเปรียบเทียบกับผลที่เก็บไดในครั้งแรก

โดยผลการสํารวจตองสามารถระบุขอมูล ดังตอไปนี้

1. จํานวนผูตอบแบบสํารวจ

2. จํานวนผูสําเร็จการศึกษาท้ังปกติและภาคพิเศษ (ภาคนอกเวลาราชการ)

3. จํานวนผูสําเร็จการศึกษาท่ีไดงานทํา

4. จํานวนผูสําเร็จการศึกษาประกอบอาชีพอิสระ

5. จํานวนบัณฑิตที่มีงานทํากอนเขาศึกษา

6. จํานวนบัณฑิตที่ศึกษาตอ

7. เงินเดือนหรือรายไดตอเดือน ของผูสําเร็จการศึกษาท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ ตัวบงชีที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาติ ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. ขอมูลที่แสดงถึงคุณภาพบัณฑิตในดานตางๆ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

โดยสถาบันทดสอบการศึกษาแหงชาติ (สทศ.)ดําเนินการรวบรวมขอมูล

2. ขอมูลที่แสดงถึงคุณภาพบัณฑิตจากสถานประกอบการรูใชบัณฑิตหรือสถาบันที่รับบัณฑิตเขา

ศึกษาตอ

3. ขอมูลผลการดําเนินงานดานการผลิตบัณฑิตจากระบบฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพ

การศึกษาระดับอุดมศึกษา (CHE QA Online System) โดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) ตัวบงชีที่ 3 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ไดรับการตพิีมพหรือเผยแพร ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. จํานวนและรายช่ือบทความวิจัยจากวิทยานิพนธ สารนิพนธ ของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

ที่ไดรับการตีพิมพในระดับชาติหรือนานาชาติรายปตามปปฏิทินที่ตรงกับปการศึกษา พรอมชื่อเจาของบทความ

ชื่อวิทยานิพนธหรือสารนิพนธ ปที่ตีพิมพ ชื่อวารสารหรือรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการที่ตีพิมพ คา

น้ําหนักของบทความวิจัยแตละช้ิน

2. จํานวนและรายช่ือผลงานสรางสรรคจากศิลปนนิพนธของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทรท่ี

ไดรับการเผยแพรในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ พรอมชื่อเจาของผลงาน ปที่เผยแพร ชื่อหนวยงานหรือองคกร

พรอมทั้งจังหวัดประเทศที่เผยแพร รูปแบบของการเผยแพรพรอมหลักฐาน และคาน้ําหนักของการเผยแพร

ผลงานแตละช้ิน

Page 132: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

127

3. จํานวนและรายช่ือผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด

หมายเหตุ แหลงเผยแพรและรายช่ือวารสารท่ีไดรับรองมาตรฐานติดตามไดจากประกาศของสํานักงานรับรอง

มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) ตัวบงชีที่ 4. ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. จํานวนและรายช่ือวิทยานิพนธระดับปริญญาเอกในแตละปการศึกษา ที่ไดรับการตีพิมพในวารสาร

ระดับชาติหรือนานชาติของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก รายปตามปปฏิทินที่ตรงกับปการศึกษา พรอม

ชื่อเจาของบทความ ปที่ตีพิมพ ชื่อวารสารหรือรายงานสืบเนื่องจากการประชุมการที่ตีพิมพ คาน้ําหนักของ

บทความวิจัยแตละช้ิน

2. จาํนวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมดในแตละปการศึกษา ตัวบงช้ีที่ 5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. จํานวนและรายช่ือบทความวิจัยระดับชาติและนานชาติทั้งหมด ของอาจารยประจําและนักวิจัย

ประจําทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ (พรอมชื่อเจาของบทความ ปที่ตีพิมพ ชื่อวารสารหรือรายงาน

สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ) โดยรายงานในแตละปปฏิทิน ในชวงสามปปฏิทินยอนหลัง จนถึงปปฏิทินที่ตรง

กับปการศึกษาท่ีประเมิน ทั้งนี้ระบุคาน้ําหนักของแตละบทความวิจัยดวย

2. จํานวนและรายช่ือผลงานสรางสรรคที่เผยแพรในระดับชาติและนานาชาติทั้งหมด ของอาจารย

ประจําและนักวิจัยประจําทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ (พรอมชื่อเจาของผลงาน ปที่เผยแพร ชื่อสถานท่ี

จังหวัดหรือประเทศท่ีเผยแพร และระบุรูปแบบของการเผยแพรพรอมหลักฐาน) โดยรายงานในแตละปปฏิทิน

ในชวงสามปปฏิทินยอนหลัง จนถึงปฏิทินที่ตรงกับปการศึกษาที่ประเมินทั้งนี้ใหระบุคาน้ําหนักของแตละผลงาน

สรางสรรคดวย

3. จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําทั้งหมดในแตละปการศึกษา โดยนับรวมอาจารยและ

นักวิจัยประจําทั้งปฏิบัติและลาศึกษาตอ ทั้งนี้ใหรายงานยอนหลังสามป จนถึงปการศึกษาท่ีประเมิน

หมายเหตุ แหลงเผยแพรและรายช่ือวารสารท่ีไดรับรองมาตรฐานติดตามไดจากประกาศของสํานักงานรับรอง

มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) ตัวบงช้ีที่ 6 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. จํานวนและรายช่ืองานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชใหเกิดประโยชนของอาจารยประจําและ

นักวิจัยประจํา ซึ่งเปนผลงานวิจัยที่เสร็จส้ินในปใดปหนึ่งในรอบ 3 ป โดยนับรวมผลงานท่ีนําไปใชประโยชนของ

อาจารยและนักวิจัยประจําทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ พรอมชื่อเจาของผลงาน ปที่งานวิจัยหรืองาน

สรางสรรคดําเนินการเสร็จ ปที่นําไปใชประโยชน ชื่อหนวยงานที่นําไปใชประโยชน โดยมีหลักฐานการรับรองการ

ใชประโยชนจากหนวยงานหรือองคกรที่เก่ียวของ โดยรายงานยอนหลัง 3 ป จนถึงปปฏิทินที่ตรงกับปการศึกษาท่ี

ประเมินทั้งนี้ใหแสดงขอมูลที่ระบุรายละเอียดการใชประโยชนที่ชัดเจนดวย ตามแนวทางดังตอไปนี้

- ขอมูลที่แสดงผลดีที่เกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรมจากการนําส่ิงประดิษฐอันเปนผลจากงานวิจัยหรืองาน

สรางสรรคไปใชตามวตัถุประสงคของงานวิจัย

Page 133: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

128

- ขอมูลที่แสดงผลดีที่เกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรมจากการนํานโยบาย กฎหมาย มาตรการ ที่เปนผลมาจาก

งานวิจัยนโยบายไปใช

- ขอมูลที่แสดงผลดีที่เกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม จากการนําผลงานวิจัยที่มีวัตถุประสงคเพื่อการพัฒนา

สาธารณะไปใช

2. จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําทั้งหมดในแตละปการศึกษา โดยนับรวมอาจารยและนัด

วิจัยประจําปลาศึกษาตอทั้งนี้ใหรายงานยอนหลัง 3 ป จนถึงปการศึกษาท่ีประเมิน ตัวบงช้ีที่ 7 ผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพ ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. จํานวนและรายช่ือผลงานวิชาการ (บทความวิชาการ ตํารา หนังสือ) ที่มีระดับคุณภาพของอาจารย

ประจํารายปตามปปฏิทิน โดยนับรวมผลงานของอาจารยทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ พรอมชื่อเจาของ

ผลงาน ปที่ผลงานแลวเสร็จ ปที่ไดรับการรับรองคุณภาพจากหนวยงานท่ีเช่ือถือได ชื่อหนวยงานท่ีรับรอง และมี

หลักฐานการรับรองคุณภาพจากหนวยงานท่ีเก่ียวของ คาน้ําหนักของผลงานวิชาการแตละช้ิน โดยรายงาน

ยอนหลัง 3 ป จนถึงปปฏิทินที่ตรงกับปการศึกษาท่ีประเมิน

2.จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดในแตละปการศึกษา โดยนับรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ ทั้งนี้ให

รายงานยอนหลัง 3 ป จนถึงปการศึกษาท่ีประเมิน

หมายเหตุ รายชื่อวารสารที่ไดรับรองมาตรฐานติดตามไดจากประกาศของสํานักงานรับรองมาตรฐานและ

ประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) ตัวบงช้ีที่ 8 การนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย ขอมูลประกอบการพิจารณา 1.หลักฐาน เอกสาร ขอมูลที่แสดงวาอาจารยประจําไดรวบรวม จัดระบบ และมีการประมวลความรูและ

ประสบการณจากากรใหบริการวิชาการการมาใชประโยชนในการเรียนการสอนไปตอยอดพัฒนาเปนหนังสือ

ตําราหรืองานวิจัย ขยายผลนําไปสูการปรับปรุงรายวิชาหรือนําไปสูการเปดรายวิชาใหม ตัวบงช้ีที่ 9 การเรียนรูและเสริมสรางความเขมแขง็ของชุมชนหรือองคกรภายนอก ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. แผนและกิจกรรมหรือโครงการที่สงเสริมความเขมแข็งของชุมชน

2. รายงาน เอกสารผลการปฏิบัติตามกิจกรรมหรือโครงการ

3. ขอมูลที่แสดงถึงผลการดําเนินงานตามกิจกรรมหรือโครงการโดยผูนําหรือสมาชิกของชุมชนหรือ

องคกรไดเรียนรูและดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง และพัฒนาตามอัตลักษณและวัฒนธรรมของชุมชนหรือองคกร

4. ขอมูลที่แสดงถึงผลการดําเนินงานตามกิจกรรมหรือโครงการของชุมชนหรือองคการที่สรางประโยชน

ความเขมแข็งและคุณคาตอสังคม ตัวบงช้ีที่ 10 การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. นโยบาย แผน ระบบและกลไกในการสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม

2. โครงการหรือกิจกรรมที่สงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม พรอมรายละเอียดของ

โครงการหรือกิจกรรม รวมทั้งตัวบงชี้และเปาหมายความสําเร็จ

Page 134: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

129

3. รายงานสรุปผลหรือประเมินโครงการหรือกิจกรรม

4. หลักฐานที่อธิบายรายละเอียดและแสดงกระบวนการไดมาซ่ึงขอมูลการสรุปผลสําเร็จ เชน ขั้นตอน

และชวงระยะเวลาการเก็บขอมูล การสุมตัวอยาง แบบสํารวจหรือแบบสอบถามหรือแบบประเมิน วิธีการ

วิเคราะหผลเปนตน

5. รายงาน รางวัลที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณ ยกยอง ระดับชาติและนานาชาติ จากสถาบันหรือ

หนวยงานที่เปนที่ยอมรับ ตัวบงช้ีที่ 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ขอมูลประกอบการพิจารณา

1. หลักฐานท่ีแสดงรายละเอียดของโครงการหรือกิจกรรมท่ีพัฒนาสุนทรียภาพดวยศิลปะและ

วัฒนธรรมที่สถานบันดําเนินการในแตละปการศึกษา

2. โครงการหรือกิจกรรมที่แสดงรายละเอียดที่กําหนดวัตถุประประสงคและเปาหมายของความสําเร็จ

อยางเปนรูปธรรม สามารถประเมินได

3. รายงานสรุปผลหรือประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมที่พัฒนาสุนทรีภาพทางศิลปะและวัฒนธรรม

4. หลักฐานท่ีอธิบายรายละเอียดและแสดงกระบวนการไดมาซึ่งขอมูลของการสรุปผลสําเร็จ เชน

ขั้นตอนและชวงระยะเวลาการเก็บขอมูล การสุมตัวอยาง แบบสํารวจหรือแบบสอบถามหรือแบบประเมิน วิธีการ

วิเคราะหผลเปนตน

5. ขอมูลเชิงประจักษที่ปรากฏในประเด็นการพิจารณาในขอ 2 และขอ 3 ตัวบงช้ีที่ 12 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบัน ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. เอกสารหรือหลักฐานท่ีแสดงรายละเอียดการกําหนดหรือทบทวนนโยบายกํากับดูแล

สถาบันอุดมศึกษารวมทั้งทบทวนกรอบทิศทางการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาตามหนาที่และบทบาทของ

สภาสถาบันอุดมศึกษา

2. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการดําเนินการตามระบบการกํากับดูแลสถาบันอุดมศึกษา

โดยมีเอกสารหรือหลักฐานหรือรายงานหรือบันทึกการประชุมที่แสดงใหเห็นวาสภาสถาบัน ไดกําหนดใหมี

กระบวนการท่ีเปนรูปธรรมในการจัดการเ พ่ือให เ กิดการควบคุมและตรวจสอบการดําเนินงานของ

สถาบันอุดมศึกษา

3. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงใหเห็นวาสภาสถาบันมีการติดตามผลการดําเนินงานสําคัญ อาทิ ดาน

นโยบายและแผน ดานการบริหารงานบุคคล ดานการเงินและงบประมาณ โดยเฉพาะการดําเนินงานตามภารกิจ

หลักของสถาบันอุดมศึกษาท่ีเปนมติสภาสถาบัน

4. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงใหเห็นถึงนโยบายของสถาบันที่กําหนดใหมีระบบการประเมินตนเอง

และมีการดําเนินงานตามระบบนั้น

5. รายงานการประชุมสภาสถาบันอุดมศึกษาท่ีผานมา

6. รายงานการสังเคราะหมติหรือนโยบาย รวมทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจของสภาสถาบัน

7. เอกสารอื่นๆ ที่เก่ียวของ

Page 135: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

130

ตัวบงช้ีที่ 13 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารสถาบัน ขอมูลประกอบการพิจารณา 1.เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการกําหนดหรือทบทวนนโยบายการกํากับดูแล

สถาบันอุดมศึกษารวมทั้งทบทวนกรอบทิศทางการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาตามหนาที่และบทบาทของ

ผูบริหารสถาบันอุดมศึกษา

2. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการดําเนินการตามระบบการกํากับดูแลสถาบันอุดมศึกษา

โดยมีเอกสารหรือหลักฐานหรือรายงานหรือบันทึกการประชุมที่แสดงใหเห็นวาผูบริหารสถาบันไดกําหนดใหมี

กระบวนการที่เปนรูปธรรมในการจัดการเพ่ือใหเกิดการควบคุมและตรวจสอบการดําเนินงานของสถาบันได

กําหนดใหมี

3. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงใหเห็นวาผูบริหารสถาบันมีการติดตามผลการดําเนินงานสําคัญ เชน

ระบบในดานนโยบายและแผน ดานการบริการงานบุคคล ดานการเงินและงบประมาณ โดยเฉพาะการ

ดําเนินงานตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาท่ีเปนมติสภาสถาบัน

4. เอกสารหรือหลักฐานท่ีแสดงใหเห็นถึงนโยบายของสถาบันที่กําหนดใหมีระบบการประเมินผูบริหาร

โดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแตงต้ังและมีการดําเนินงานตามระบบนั้น

5. รายงานการสังเคราะหมติหรือนโยบาย รวมท้ังผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจของผูบริหาร

สถาบันอุดมศึกษา ตัวบงช้ีที่ 14 การพัฒนาคณาจารย ขอมูลประกอบการพิจารณา จํานวนรายชื่ออาจารยประจําทั้งหมดในแตละปการศึกษา โดยนับเฉพาะอาจารยที่ปฏิบัติงานจริงไมนับ

รวมกรณีลาศึกษาตอ โดยนําเสนอเปนรายบุคคล พรอมทั้งระบุวุฒิการศึกษา ตําแหนงทางวิชาการ และคา

น้ําหนักตามระดับคุณภาพของอาจารย ตัวบงช้ีที่ 15 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกดั ขอมูลประกอบการพิจารณา คะแนนประเมินระบบประกันคุณภาพภายในของสถานอุดมศึกษาโดยหนวยงานตนสังกัด จํานวน 3 ป

กอนที่ประเมิน ตัวบงช้ีที่ 16 ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงของการจัดตั้งสถาบัน ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงคของการจัดต้ังสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งแผนกลยุทธ และ

แผนการปฏิบัติงานประจําปของของสถาบันอุดมศึกษาท่ีไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน

2. แผนพัฒนาคุณภาพสถาบันอุดมศึกษาในดานตางๆ ที่ไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน

3. รายงานผลการปฏิบัติงานประจําปที่ไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงผลการ

ดําเนินงานและผลสําเร็จของการดําเนินงานท่ีสอดคลองกับปรัชญา วิสัยทัศน และพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา

4. เอกสารหลักฐานการไดรับการยอมรับ การไดรับรางวัล หรือการไดรับการยกยองวาเปนแบบอยางใน

การปฏิบัติที่ดีในการขับเคล่ือนอัตลักษณ เชน โลรางวัล ใบประกาศเกียรติคุณ เกียรติบัตร หนังสือเชิดชูเกียรติ

เปนตน

Page 136: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

131

ตัวบงช้ีที่ 17 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. เอกสารหลักฐานที่แสดงใหเห็นถึงการกําหนดเอกลักษณ จุดเนน หรือจุดเดนสถาบันอุดมศึกษา

2. แผนกลยุทธ แผนการปฏิบัติงานประจําป รวมทั้งแผนพัฒนาคุณภาพท่ีสอดคลองกับเอกลักษณ

จุดเนนหรือจุดเดนของสถาบันอุดมศึกษาท่ีไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน

3. รายงานผลการปฏิบัติงานประจําปที่ไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงผลการ

ดําเนินงานและผลสําเร็จของการดําเนินงานตามเอกลักษณ จุดเนน หรือจุดเดนของสถานศึกษาท่ีกําหนด หรือ

ผลการดําเนินงานและผลสําเร็จของการดําเนินงานท่ีเกิดขึ้นจนถือเปนเอกลักษณ จุดเนนหรือจุดเดนของ

สถานศึกษาท่ีไดรับการยอมรับ

4. เอกสารหลักฐานการไดรับการยอมรับ การไดรับรางวัล หรือการไดรับการยกยองวาเปนแบบอยางใน

การปฏิบัติที่ดี เชน โลรางวัล ใบประกาศเกียรติคุณ เกียรติบัตร หนังสือเชิดชูเกียรติ เปนตน ตัวบงช้ีที่ 18 ผลการช้ีนํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในดานตางๆ ขอมูลประกอบการพิจารณา 1. โครงการหรือกิจกรรมที่สถาบันอุดมศึกษาไดดําเนินงานโดยมีบทบาทในการชี้นําหรือแกปญหา

สังคมในดานตางๆ ที่ระบุวัตถุประสงค และกลุมเปาหมาย รวมทั้งความสําเร็จของโครงการ

2. หลักฐานที่แสดงการเห็นชอบโครงการ/กิจกรรมจากสภาสถาบันที่สถาบันอุดมศึกษาไดดําเนินงาน

โดยมีบทบาทในการชี้นําหรือแกปญหาสังคมในดานตางๆ

3.รายงานสรุปผลโครงการทุกโครงการ ซึ่งจะตองมีจํานวนผูเขารวมโครงการจริง ผลการประเมินความรู

ความเขาใจ และผลการประเมินการนําความรูไปใช พรอมแบบประเมิน

4. หลักฐาน เอกสาร ขอมูลที่แสดงถึงการเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชนและสรางคุณคาตอสังคมจาก

การดําเนินงานของโครงการ

5. หลักฐาน เอกสาร ขอมูลที่แสดงถึงการไดรับการยกยองระดับชาติ

6. หลักฐาน เอกสาร ขอมูลที่แสดงถึงการไดรับการยกยองระดับนานาชาติ

Page 137: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

132

บทที่ 5 การวิเคราะหตามตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพตามมาตรฐานอุดมศึกษาและมุมมองดานการบริหารจัดการ

ตัวบงช้ีเพ่ือการประเมินคุณภาพตามองคประกอบคุณภาพ 9 ดาน

สถาบันอุดมศึกษามีพันธกิจหลักที่สําคัญ 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การใหบริการทาง

วิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และมีพันธกิจอยางนอยอีก 5 ประการที่จะสนับสนุนให

การขับเคล่ือนพันธกิจหลักบรรลุเปาหมายได คือ 1) ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคและแผนการดําเนินการ 2)

กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 3) การบริหารและการจัดการ 4) การเงินและงบประมาณ และ 5) ระบบและกลไก

การประกันคุณภาพ ซึ่งพันธกิจหลักและพันธกิจสนับสนุนจะตองทํางานเช่ือมโยงบูรณาการทุกเร่ืองเขาดวยกัน

อยางเปนระบบและตอเนื่อง จึงจะสงเสริมใหการจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษามีคุณภาพได _การประกัน

คุณภาพการศึกษาภายในจึงพัฒนาขึ้นโดยคํานึงถึงองคประกอบคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา 9 ดานที่

ครอบคลุมทั้งพันธกิจหลักและพันธกิจสนับสนุน ไดแก 1) ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคและแผนการดําเนินการ

2) การผลิตบัณฑิต 3) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 4) การวิจัย 5) การบริการทางวิชาการแกสังคม 6) การทํานุ

บํารุงศิลปะและวัฒนธรรม7) การบริหารและการจัดการ 8) การเงินและงบประมาณ และ 9) ระบบและกลไกการ

ประกันคุณภาพ

ดังนั้น ในการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา จึงไดกําหนดตัว

บงช้ีภายใตองคประกอบคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา 9 ดาน ดังมีรายละเอียดปรากฏในบทท่ี 3 เพื่อใหถา

บันอุดมศึกษาใชเปนแนวทางในการกํากับดูแล ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในของสถาบันแตละแหง ซึ่ง

สามารถสรุปไดตามตาราง

Page 138: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

133

ตาราง องคประกอบคุณภาพ 9 ดานและตัวบงช้ีที่ใชประเมินคุณภาพตามองคประกอบ จํานวนตัวบงช้ี

องคประกอบคุณภาพ ปจจัยนําเขา กระบวนการ

ผลผลิตหรือผลลัพธ

รวม

องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน

วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

ตัวบงชี้ที่ 1.1 ตัวบงชี้ สมศ. 16

และ17

1+2

องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบงชี้ที่ 2.2,2.3

และ2.5

ตัวบงชี้ที่ 2.1,

2.4,2.6 และ2.7

ตัวบงชี้ที่ 2.8 และ

ตัวบงชี้ สมศ.ที่

1,2,3,4 และ14

8+5

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนา

นิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ที่ 3.1 และ

3.2

2

องคประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบงชี้ที่ 4.3 ตัวบงชี้ที่ 4.1 และ

4.2

ตัวบงชี้ สมศ.ที่ 5,6

และ 7

3+3

องคประกอบที่ 5 การบริการทาง

วิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ที่ 5.1 และ

5.2

ตัวบงชี้ สมศ.ที่ 8,9

และ 18

2+3

องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุง

ศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ที่ 6.1 ตัวบงชี้ สมศ.ที่ 10

และ 11

1+2

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการ

จัดการ

ตัวบงชี้ที่ 7.1,7.2

7.3 และ 7.4

ตัวบงชี้ สมศ.ที่ 12

และ 13

4+2

องคประกอบที่ 8 การเงินและ

งบประมาณ

ตัวบงชี้ที่ 8.1 1

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการ

ประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ที่ 9,1 ตัวบงชี้ สมศ.ที่ 15 1+1

รวม 4 18 1+8 23+18 ตัวบงช้ีเพ่ือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการอุดมศึกษา

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 34

กําหนดใหคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาที่พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคลองกับความ

ตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ ดังนั้น จึง

ไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองมาตรฐานการอุดมศึกษา ลงวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งถือไดวาเปน

มาตรฐานการอุดมศึกษาฉบับแรกของประเทศไทย มาตรฐานฉบับนี้ประกอบดวยมาตรฐานยอย 3 ดาน ไดแก

มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษา และมาตรฐานดานการสรางและ

พัฒนาสังคมฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู โดยมีรายละเอียด ดังนี้

Page 139: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

134

1. มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต บัณฑิตระดับอุดมศึกษาเปนผูมีความรู มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรู

และพัฒนาตนเอง สามารถประยุกตใชความรูเพื่อการดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุขทั้งทางรางกายและ

จิตใจ มีความสํานึกและความรับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลกมาตรฐานน้ีมีตัวบงชี้หลัก ไดแก

1) บัณฑิตมีความรู ความเช่ียวชาญในศาสตรของตน สามารถเรียนรู สรางและประยุกตใช

ความรูเพื่อพัฒนาตนเอง สามารถปฏิบัติงานและสรางงานเพื่อพัฒนาสังคมใหสามารถแขงขันไดในระดับสากล

2) บัณฑิตมีจิตสํานึก ดํารงชีวิต และปฏิบัติหนาที่ตามความรับผิดชอบโดยยึดหลัก

คุณธรรมจริยธรรม

3) บัณฑิตมีสุขภาพดีทั้งดานรางกายและจิตใจ มีการดูแลเอาใจใสรักษาสุขภาพของ

ตนเองอยางถูกตองเหมาะสม 2. มาตรฐานดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษา

มีการบริหารจัดการอุดมศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลและพันธกิจของการอุดมศึกษา

อยางมีดุลยภาพ

ก. มาตรฐานดานธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษา มีการบริหารจัดการการอุดมศึกษา

ตามหลักธรรมาภิบาล โดยคํานึงถึงความหลากหลาย และความเปนอิสระทางวิชาการ มาตรฐานน้ีมีตัวบงชี้หลัก

ไดแก

1) มีการบริหารจัดการบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมีความยืดหยุนสอดคลอง

กับความตองการท่ีหลากหลายของประเภทสถาบันและสังคม เพื่อเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานอยางมีอิสระ

ทางวิชาการ

2) มีการบริหารจัดการทรัพยากรและเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารที่มีประสิทธิภาพ

และประสิทธิผล คลองตัว โปรงใส และตรวจสอบไดมีการจัดการศึกษาผานระบบและวิธีการตางๆ อยาง

เหมาะสมและคุมคาคุมทุน

3) มีระบบการประกันคุณภาพเพ่ือนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการอุดมศึกษา

อยางตอเนื่อง

ข. มาตรฐานดานพันธกิจของการบริหารการอุดมศึกษา การดําเนินงานตามพันธกิจของการ

อุดมศึกษาท้ัง 4 ดานอยางมีดุลยภาพ โดยมีการประสานความรวมมือรวมพลังจากทุกภาคสวนของชุมชนและ

สังคมในการจัดการความรู มาตรฐานน้ีมีตัวบงชี้หลัก ไดแก

1) มีหลักสูตรและการเรียนการสอนท่ีทันสมัยยืดหยุนสอดคลองกับความตองการที่ลากหลาย

ของประเภทสถาบันและสังคม โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพผูเรียนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ เนน

การเรียนรูและการสรางงานดวยตนเองตามสภาพจริง ใชการวิจัยเปนฐาน มีการประเมิน และใชผลการประเมิน

เพื่อพัฒนาผูเรียน และการบริหารจัดการหลักสูตรตลอดจนมีการบริหารกิจการนิสิตนักศึกษาที่เหมาะสม

สอดคลองกับหลักสูตรและการเรียนการสอน

2) มีการวิจัยเพื่อสรางและประยุกตใชองคความรูใหมที่เปนการขยายพรมแดนความรูและ

ทรัพยสินทางปญญาที่เช่ือมโยงกับสภาพเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และส่ิงแวดลอมตามศักยภาพของประเภท

สถาบันมีการสรางเครือขายความรวมมือระหวางสถาบันอุดมศึกษาทั้งในและตางประเทศ เพื่อพัฒนา

ความสามารถในการแขงขันไดในระดับนานาชาติของสังคมและประเทศชาติ

Page 140: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

135

3) มีการใหบริการวิชาการที่ทันสมัย เหมาะสม สอดคลองกับความตองการของสังคมตาม

ระดับความเช่ียวชาญของประเภทสถาบัน มีการประสานความรวมมือระหวางสถาบันอุดมศึกษากับภาคธุรกิจ

อุตสาหกรรมทั้งในและตางประเทศ เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งและความย่ังยืนของสังคม และประเทศชาติ

4) มีการอนุรักษฟนฟู สืบสาน พัฒนา เผยแพรวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ินเพื่อเสริมสราง

ความรู ความเขาใจ และความภาคภูมิ ใจในความเปนไทยมีการปรับใชศิลปะวัฒนธรรมตางประเทศอยาง

เหมาะสม เพื่อประโยชนในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ

3. มาตรฐานดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรู และสังคมแหงการเรียนรู การแสวงหา

การสราง และการจัดการความรูตามแนวทาง/หลักการ อันนําไปสูสังคมฐานความรู และสังคมแหงการเรียนรู

มาตรฐานน้ีมีตัวบงชี้หลัก ไดแก

1) มีการแสวงหา การสราง และการใชประโยชนความรู ทั้งสวนที่เปนภูมิปญญาทองถ่ินและ

เทศ เพื่อเสริมสรางสังคมฐานความรู

2) มีการบริหารจัดการความรูอยางเปนระบบ โดยใชหลักการวิจัยแบบบูรณาการหลักการ

แลกเปล่ียนเรียนรู หลักการสรางเครือขายและหลักการประสานความรวมมือรวมพลังอันนําไปสูสังคมแหงการ

เรียนรู

ดังนั้น ในการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา จึงสามารถ

กระจายตัวบงช้ีตามองคประกอบคุณภาพ 9 ดาน ลงในมาตรฐานการอุดมศึกษาแตละดาน เพื่อให

สถาบันอุดมศึกษาใชเปนแนวทางในการกํากับดูแล ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในของสถาบันแตละแหง

ดังปรากฏในตาราง ตาราง องคประกอบคุณภาพ 9 ดานและตัวบงช้ีที่ใชประเมินคุณภาพตามองคประกอบ

มาตรฐาน ปจจัยนําเขา กระบวนการ

ผลผลิตหรือผลลัพธ

รวม

1.มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต ตัวบงชี้ที่ 2.8 และ

ตัวบงชี้ สมศ.ที่

1,2,3,4 และ14

1+4

2.มาตรฐานดานการบริหารจัดการ

อุดมศึกษา

ก. มาตรฐานดานธรรมภิบาลของการ

บริหารการอุดมศึกษา

ตัวบงชี้ที่ 1.1,2.4,

7.1,7.3,7.4,8.1

และ 9.1

ตัวบงชี้ สมศ.ที 12,

13

7+2

ข.มาตรฐานดานพันธกิจของการบริหาร

การอุดมศึกษา

ตัวบงชี้ที่ 2.2,2.3,

2.5 และ 4.3

ตัวบงชี้ที่ 2.1,2.6,

2.7,3.1,3.2,4.1,5.1

5.2 และ 6.1

ตัวบงชี้ สมศ.ที 8,9,

10,11,14,15,16,17,

และ 18

13+9

3.มาตรฐานดานการสรางและพัฒนา

สังคมฐานความรูและสังคมแหงการ

เรียนรู

ตัวบงชี้ที่ 4.2 และ

7.2

ตัวบงชี้ สมศ.ที 5,6

และ 7

2+3

รวม 4 18 1+18 23+18

Page 141: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

136

ตัวบงช้ีตามมุมมองดานการบริหารจัดการ เพื่อใหการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสามารถติดตาม ตรวจสอบ และประเมินการดําเนินงาน

อยางครอบคลุมและมีสมดุลระหวางมุมมองการบริหารจัดการดานตางๆ ทั้ง 4 ดานคือดานนักศึกษาและผูมีสวน

ไดสวนเสียดานกระบวนการภายในดานการเงิน และดานบุคลากรการเรียนรู รวมถึงนวัตกรรม จึงสามารถ

กระจายตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพ 9 ดานลงในมุมมองดานตางๆ ที่กลาวขางตน ดังปรากฏในตาราง ตาราง มุมมองดานบริหารจัดการที่สําคัญและตัวบงช้ีตามมุมมองดานการบริหารจัดการ

มุมมองดานบริหารจัดการ ตัวบงช้ีดานปจจัยนําเขา

ตัวบงช้ีดานกระบวนการ

ตัวบงช้ีดานผลผลิตหรือผลลัพธ

รวม

1.ดานนักศึกษาและผูมีสวนไดสวน

เสีย

ตัวบงชี้ที่ 2.6,2.7,3.1,

3.2,5.1 และ 5.2

ตัวบงชี้ที่ 2.8 และตัว

บงชี้ สมศ.ที่ 1,2,3,4,

8,9 และ18

7+4

2.ดานการะบวนการภายใน ตัวบงชี้ที่ 2.5 ตัวบงชี้ สมศ.ที 12,

13

10+7

3.ดานการบวนการเงิน ตัวบงชี้ที่ 4.3 ตัวบงชี้ที่ 8.1 2

4.ดานบุคลากรการเรียนรูและ

นวัตกรรม

ตัวบงชี้ที่ 2.2 และ 2.3 ตัวบงชี้ที่ 4.2 และ7.2 ตัวบงชี้ สมศ.ที 5,6,7

และ 14

4+4

รวม 4 18 1+18 23+18 ตัวบงช้ีเพ่ือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา

คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดทํามาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551 เพื่อนําไปสูการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตามกลุมสถาบันที่มีปรัชญา

วัตถุประสงค และพันธกิจในการจัดต้ังที่แตกตางกันไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มาตรฐานฉบับนี้

ประกอบดวยมาตรฐานหลัก 2 ดาน คือ มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอมในการจัดการศึกษา และ

มาตรฐานดานการดําเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และกําหนดกลุมสถาบันอุดมศึกษาเปน 4 กลุม

ดังรายละเอียดท่ีระบุไปแลวในไดแก กลุม ก วิทยาลัยชุมชน กลุม ข สถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี กลุม ค

สถาบัน เฉพาะทาง และกลุม ง สถาบันที่เนนการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับ

ปริญญาเอก

มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ประกอบดวยมาตรฐานหลัก 2 ดาน และมาตรฐานยอยอีกมาตรฐานละ 4

ดาน โดยมีรายละเอียดดังนี้

1) มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอมในการจัดการศึกษา ประกอบดวยมาตรฐานยอยดาน

ตาง ๆ 4 ดาน 1.1) ดานกายภาพ

สถาบันอุดมศึกษามีอาคารที่ประกอบดวยลักษณะสําคัญของอาคารเรียนที่ดีมีหองครบทุก

ประเภท พื้นที่ใชสอยที่ใชในการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมทุกประเภทมีจํานวนเพียงพอ และเหมาะสมกับ

จํานวนอาจารยประจํา จํานวนนักศึกษาในแตละหลักสูตร และจํานวนนักศึกษาตามแผนการรับนักศึกษา ตาม

Page 142: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

137

เกณฑพื้นที่ใชสอยอาคารโดยประมาณ รวมท้ังตองจัดใหมีหองสมุดตามเกณฑมาตรฐาน มีครุภัณฑประจํา

อาคาร ครุภัณฑการศึกษา และคอมพิวเตอรจํานวนเพียงพอตอการจัดการศึกษาท้ังนี้อาคารและบริเวณอาคาร

จะตองมีความม่ันคง ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะหรือความจําเปนอยางอื่นๆ ตามที่กฎหมายกําหนด 1.2) ดานวิชาการ

สถาบันอุดมศึกษามีศักยภาพและความพรอมในการปฏิบัติภารกิจดานวิชาการสอดคลองกับ

วิสัยทัศน พันธกิจ ของสถาบันอุดมศึกษาและแผนการผลิตบัณฑิตที่ตอบสนองความตองการของประเทศและ

ผูใชบัณฑิตโดยรวม มีหลักประกันวาผูเรียนจะไดรับการบริการการศึกษาท่ีดี สามารถแสวงหาความรูไดอยางมี

คุณภาพ สถาบันตองมีการบริหารวิชาการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลทั้งในดานการวางแผนรับ

นักศึกษาและการผลิตบัณฑิตการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล การเรียนรู การประกันคุณภาพ

การเรียนการสอน และการพัฒนาปรับปรุงการบริหารวิชาการ 1.3) ดานการเงนิ

สถาบันอุดมศึกษามีความพรอมดานการเงินทั้งงบการเงินรวมและงบที่จําแนกตามกองทุน มี

แผนการเงินที่ม่ันคง เปนหลักประกันไดวาสถาบันจะสามารถจัดการศึกษาไดตามพันธกิจและเปาหมายที่กําหนด

ไวรวมทั้งสอดคลองกับแผนการพัฒนาในอนาคต เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกผูเรียนและผูใชบริการอุดมศึกษา

สถาบันมีการจัดทํารายงานการเงินที่แสดงถึงการไดมาของรายได รายรับ การจัดสรร การใชจายท่ีมีประสิทธิภาพ

และท่ัวถึงเปนธรรมอยางชัดเจน รวมทั้งการนํารายไดไปลงทุนภายใตการประเมินและวิเคราะหความเส่ียง มี

ระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการปฏิบัติงานควบคูไปกับ การใชเงินทุกประเภท และมีระบบการ

ติดตามตรวจสอบผลประโยชนทับซอนของบุคลากรทุกระดับ 1.4) ดานการบริหารจัดการ

สถาบันอุดมศึกษามีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพในการถายทอดวิสัยทัศน

คานิยม ไปสูการปฏิบัติที่สอดคลองไปในแนวทางเดียวกัน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคและพันธกิจที่กําหนดไว โดย

มีสภาสถาบันทําหนาที่กํากับ นโยบาย การดําเนินการตามแผนการบริหารบุคคล การบริหารงบประมาณและ

ทรัพยสิน การบริหารสวัสดิการที่จัดใหกับนักศึกษาและบุคลากรทุกระดับ รวมทั้งกํากับ ติดตาม ตรวจสอบ

ประเมินผลการดําเนินงานใหเปนไปตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับและกฎหมายท่ีกําหนดไว มีการเผยแพรผลการ

กํากับการดําเนินงานของสภาสถาบันและการบริหารจัดการของผูบริหารทุกระดับสูประชาคมภายในสถาบันและ

ภายนอกสถาบัน ภายใตหลักธรรมาภิบาลที่ประกอบดวย หลักความโปรงใส หลักความรับผิดชอบ หลักการ

ตรวจสอบได หลักการมีสวนรวม และหลักความคุมคา 2) มาตรฐานดานการดําเนินการตามภารกจิของสถาบันอุดมศึกษา ประกอบดวย

มาตรฐานยอยดานตาง ๆ 4 ดาน 2.1) ดานการผลิตบัณฑิต

สถาบันอุดมศึกษาดําเนินการรับนักศึกษาเขาเรียนที่มีคุณสมบัติและจํานวนตรงตามแผนการ

รับนักศึกษาและสอดคลองกับเปาหมายการผลิตบัณฑิตอยางมีคุณภาพ สถาบันผลิตบัณฑิตไดตามคุณลักษณะ

จุดเนนของสถาบัน ตรงตามเปาหมายท่ีกําหนด และจัดใหมีขอสนเทศท่ีชัดเจน เผยแพรตอสาธารณะในเร่ือง

หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน คณาจารยที่สงเสริมการจัดกิจกรรม การพัฒนาการเรียนรูทั้งในและนอก

หลักสูตร และตอบสนองความตองการของนักศึกษา

Page 143: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

138

2.2) ดานการวจิัย สถาบันอุดมศึกษามีการดําเนินพันธกิจดานการวิจัยอยางมีคุณภาพ ประสิทธิภาพและ

ภายใตจุดเนนเฉพาะ โดยมีการดําเนินการตามนโยบาย แผน งบประมาณ มีการบริหารจัดการเพื่อสงเสริมและ

สนับสนุนคณาจารย นักวิจัย บุคลากรใหมีสมรรถนะในการทําวิจัยสงเสริมและสรางเครือขายการทําวิจัยกับ

หนวยงานภายนอกสถาบันเพื่อใหไดผลงานวิจัย ผลงานประดิษฐ และงานริเร่ิมสรางสรรคที่มีคุณภาพ มี

ประโยชน สนองยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศสามารถตอบสนองความตองการของสังคมไดในวงกวางและ

กอใหเกิดประโยชนแกสาธารณชน 2.3) ดานการใหบริการทางวชิาการแกสังคม

สถาบันอุดมศึกษามีการใหบริการทางวิชาการท่ีครอบคลุมกลุมเปาหมายทั้งในวงกวางและ

กลุมเปาหมายที่เฉพาะเจาะจงท้ังในและตางประเทศ ซึ่งอาจใหบริการโดยการใชทรัพยากรรวมกันทั้งในระดับ

สถาบันและระดับบุคคลไดในหลายลักษณะ อาทิ การใหคําปรึกษาการศึกษาวิจัย การคนควาเพื่อแสวงหา

คําตอบใหกับสังคม การใหบริการฝกอบรมหลักสูตรระยะส้ันตาง ๆ การจัดใหมีการศึกษาตอเนื่องบริการแก

ประชาชนทั่วไป การใหบริการทางวิชาการนี้สามารถจัดในรูปแบบของการใหบริการแบบใหเปลาหรือเปนการ

ใหบริการเชิงพาณิชยที่ใหผลตอบแทนเปนรายไดหรือ เปนขอมูล ยอนกลับมาพัฒนาและปรับปรุงเพื่อใหเกิดองค

ความรูใหม 2.4) ดานการทาํนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

สถาบันอุดมศึกษามีการดําเนินการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติทั้งในระดับ

หนวยงานและระดับสถาบัน มีระบบและกลไกในการสงเสริมและสนับสนุนใหศิลปะและวัฒนธรรมเปนสวนหนึ่ง

ของการจัดการเรียนการสอนโดยตรงหรือโดยออมเพื่อใหผูเรียนและบุคลากรของสถาบันไดรับการปลูกฝงใหมี

ความรูตระหนักถึงคุณคาเกิดความซาบซ้ึงและมีสุนทรียะตอศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ สามารถนําไปใชเปน

เคร่ืองจรรโลงความดีงามในการดํารงชีวิต และประกอบอาชีพมีวิถีชีวิตที่ปรารถนาและเรียนรูวิธีการจัดการ

วัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่ไมพึงปรารถนาได สถาบันมีการควบคุมการดําเนินงานดานนี้อยางมีคุณภาพและ

วัฒนธรรมของสถาบันประสิทธิภาพตามเปาหมายของแผนยุทธศาสตรการดําเนินงานดานการทํานุบํารุงศิลปะ

และวัฒนธรรมของสถาบัน

ดังนั้น ในการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา จึงสามารถ

กระจายตัวบงช้ีตามองคประกอบคุณภาพ 9 ดาน ลงในมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษายอยแตละดาน เพื่อให

สถาบันอุดมศึกษาใชเปนแนวทางในการกํากับดูแล ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในของสถาบันแตละแหง

ดังปรากฏในตาราง

Page 144: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

139

ตาราง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาและตัวบงช้ีที่ใชประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตัวบงช้ีดานปจจัย

นําเขา ตัวบงช้ีดานกระบวนการ

ตัวบงช้ีดานผลผลิตหรือผลลัพธ

รวม

1.มาตรฐานดานศักยภาพและ

ความพรอมในการจัดการศึกษา

(1) ดานกายภาพ ตัวบงชี้ที่ 2.5 1

(2)วิชาการ ตัวบงชี้ที่ 2.2 และ 2.3 ตัวบงชี้ที่ 2.1,2.4และ

2.6

ตัวบงชี้ สมศ.ที่ 14 5+1

(3)ดานการเงิน ตัวบงชี้ที่8.1 1

(4)ดานการบริหารจัดการ ตัวบงชี้ที่ 1.1,7.1,7.2,

7.3,7.4 และ 9.1

ตัวบงชี้ สมศ.ที่12,13,

15,16 และ 17

6+5

2. มาตรฐานดานการดําเนินตาม

ภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา

(1) ดานการผลิตบัณฑิต ตัวบงชี้ที่ 2.7 3.1 และ

3.2

ตัวบงชี้ที่ 2.8 และตัว

บงชี้ สมศ.ที่ 1,2,3

และ 4

4+4

(2)ดานการวิจิย ตัวบงชี้ที่ 4.3 ตัวบงชี้ที่ 4.1และ 4.2 ตัวบงชี้ สมศ.ที่ 5,6

และ 7

3+3

(3)ดานการใหบริการทางวิชาการ

แกสังคม

ตัวบงชี้ที่ 5.1และ 5.2 ตัวบงชี้ สมศ.ที่ 8,9

และ 18

2+3

(4) ดานการทํานุบํารุงศิลปะและ

วัฒนธรรม

ตัวบงชี้ที่ 6.1 ตัวบงชี้ สมศ.ที่ 10

และ 11

1+2

รวม 4 18 1+18 23+18

Page 145: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  140

บทที่ 6 การเขียนรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามกรอบมาตร สกอ. และ สมศ.

รูปแบบการเขียนรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ปกนอก คํานํา บทสรุปผูบริหาร สารบัญ

สวนที่ 1 บริบท ( คณะ สํานัก สถาบัน ศูนยการศึกษาและมหาวิทยาลัย)

- ประวัติ (คณะ สํานัก สถาบัน ศูนยการศึกษาและมหาวิทยาลัย)

- ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรมหาวิทยาลัย

- ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตรและเปาประสงค

- โครงสรางการจัดการ

- บุคลากรและงบประมาณ

- ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

- สรุปผลการปรับปรุงตามแผนการประเมินในรอบปที่ผานมา

- เปาหมายสําคัญในปปจจุบัน(ควรเปนตาราง) สวนที่ 2 ผลการดําเนินงานและผลการประเมินคุณภาพตามกรอบมาตร สกอ. และ สมศ. สวนที่ 3 การวิเคราะหตามตัวบงช้ีตามองคประกอบคุณภาพตามมาตรฐานอุดมศึกษาและมุมมองดานการบริหารจัดการ สวนที่ 4 สรุปผลการประเมินตนเอง สรุปผลการประเมิน

- ตารางท่ี (ส 1 – ส 5)

- ตารางท่ี (ป 1– ป 5) สวนที่ 5 แผนการปรับปรุงคุณภาพตามผลการประเมินตนเอง

Page 146: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  141

ตัวอยางการเขยีนรายงานประเมินตนเองของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ปการศึกษา 2553 กําหนดเกณฑการประเมินตัวบงช้ี กําหนดเกณฑการประเมินตัวบงชี้เปน 5 ระดับ มีคะแนนต้ังแต 1 ถึง 5 กรณีที่ไมดําเนินการใด ๆ หรือ

ดําเนินการไมครบท่ีจะได 1 คะแนนใหได 0 คะแนน โดยมีความหมายของคะแนน ดังนี้

คะแนน 0.00 – 1.50 หมายถึง การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน

คะแนน 1.51 – 2.50 หมายถึง การดําเนินงานตองปรับปรุง

คะแนน 2.51 – 3.50 หมายถึง การดําเนินงานระดับพอใช

คะแนน 3.51 – 4.50 หมายถึง การดําเนินงานระดับดี

คะแนน 4.51 – 5.00 หมายถึง การดําเนินงานระดับดีมาก การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอก การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกเปนการนําผลการประเมินมาเปรียบเทียบเพื่อพิจารณา

ระดับคุณภาพในการจัดการศึกษาสถานศึกษา โดยกําหนดมิติพิจารณาท้ังในภาพและกลุมตัวบงชี้ตามเกณฑใน

การตัดสินผลดังนี้

ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ

4.51 – 5.00 ดีมาก

3.51 – 4.50 ดี

2.51 – 3.50 พอใช

1.51 – 2.50 ควรปรับปรุง

0.00 – 1.50 ตองปรับปรุง

* หมายเหตุ ตองได 3.51 เทานั้นถึงจะผานเกณฑ ของ สมศ

Page 147: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  142

ตัวอยางแนวทางการเขยีนรายงานการประเมินตนเอง องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

๏ ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูลขาวสาร และระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา

1.ระบบฐานขอมูลนักศึกษาดานการผลิต การเรียน ครอบครัว บุคคลที่ติดตอได(portfolio)

2.จัดทําแผนพัฒนาระบบและกลไกใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูลขาวสาร

2.1 การจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและบริการขอมูลขาวสาร

2.2 บริการขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา

2.3 การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาการและวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษย

เกา

3.จัดทําแผนระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา

3.1 แผนพัฒนานักศึกษาท่ีสงผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุมศึกษา

แหงชาติทุกดาน

3.2 กิจกรรมใหความรูทักษะการประกันคุณภาพแกนักศึกษา

3.3 ใหนักศึกษานําความรูดานประกันคุณภาพไปใชในการจัดกิจกรรม

3.4 การสรางเครือขายพัฒนาคุณภาพภายในและภายนอกสถาบัน

4.คูมือการใหคําปรึกษาและการบริการดานขอมูลขาวสาร

5.คูมือการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา

6.หนวยบริการนักศึกษาและรับขอเสนอแนะการใหบริการ

7.ตูรับฟงปญหา

8.พัฒนาเว็ปไซดสําหรับนักศึกษาและศิษยเกา

9. แตงต้ังอาจารยที่ปรึกษา

10.คูมือการเขียนโครงการที่มีประสิทธิภาพ

11.จัดต้ังเครือขายพัฒนาคุณภาพนักศึกษาภายในและภายนอกสถาบัน

12.ปฏิบัติตามแผนตาม ขอ2และขอ 3

13.แบบติดตามและประเมินผลโครงการ กิจกรรมและความพึงพอใจ

14.แผนปรับปรุงคุณภาพการจัดกิจกรรม

15.รายงานผลการประเมินแผนพัฒนาระบบและกลไกใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูล ขาวสาร และ

แผนระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา

Page 148: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  143

ระบบและกลไกการใหคําปรึกษา และการบริการขอมูลขาวสาร

ระบบและกลไกการสงเสริมกิจการศึกษา

1. ระบบ 2. กลไก 3. ระยะเวลา 4. วัน

P

D

C

A

- แผนและนโยบายการใหคําปรึกษาและบริการขอมูลขาวสารและการ สงเสริมกิจการศึกษา - แผนระบบและกลไกการ สงเสริมกิจการนักศึกษา

ระบบฐานขอมูล

การนําแผนระบบและกลไก ไปสูการปฏิบัติ

ติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรม

บรรลุ

ทําแผนปรับปรุง

รายงานผล

ทําแนว ไมบรรลุ

ปฏิบัติที่ดี

1. คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการพัฒนาระบบ และกลไกการใหคําปรึกษาและ การบริการขอมูลขาวสาร และการสงเสริมกิจกรรมศึกษา 2. แตงต้ังอาจารยท่ีปรึกษา 3. คูมือการใหคําปรึกษา และการ บริการดานขอมูลขาวสาร 4. คูมือการสงเสริมกิจกรรม นักศึกษา 5. คูมือการเขียนโครงการ 6. เครือขายการพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาภายในและภายนอก สถาบัน 7. ตูรับปญหา 8. แบบติดตามและประเมินผล โครงการ/กิจกรรม และความ พึงพอใจ 8. รายงานการดําเนินงานตามแผนการใหคําปรึกษาและการบริการ

5

5 15

15

10

5 5

15 5

Page 149: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  144

ตัวบงช้ีที่ 3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูลขาวสาร ชนิดของตัวบงช้ี กระบวนการ คําอธิบายตัวบงช้ี สถาบันอุดมศึกษาควรจัดบริการดานตางๆ ใหนักศึกษาและศิษยเกาอยางครบถวน

โดยเฉพาะในกิจกรรมตอไปนี้ (1) การบริการดานการแนะแนวและการใหคําปรึกษา ทั้งดานวิชาการและการใช

ชีวิต (2) การบริการดานขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา เชน ทุนกูยืมการศึกษา แหลง

ทุนการศึกษาตอ การบริการจัดหางาน แหลงขอมูลการฝกประสบการณวิชาชีพ ขอมูลขาวสารความเคล่ือนไหว

ในและนอกสถาบันที่จําเปนแกนักศึกษาและศิษยเกา และ (3) การจัดโครงการเพ่ือพัฒนาประสบการณทาง

วิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกาในรูปแบบตาง ๆ เกณฑมาตรฐาน :

1. มีการจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใชชีวิตแกนักศึกษา

2. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษา

3. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาการและวิชาชีพแกนักศึกษา

4. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอศิษยเกา

5. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรูและประสบการณใหศิษยเกา

6. มีผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการในขอ 1 – 3 ทุกขอไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการจัดบริการท่ี

สนองความตองการของนักศึกษา

หมายเหตุ :ในกรณีคณะหรือสถาบันที่ยังไมมีศิษยเกาถือวาผานเกณฑมาตรฐานขอ 4 และ ขอ 5 โดย

อนุโลม

เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ผลการดําเนินงาน

ปการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มีการดําเนินงาน 7 ขอตามเกณฑมาตรฐาน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา คือ

1. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีการจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใชชีวิตแก

นักศึกษาโดยจัดทําฐานขอมูลนักศึกษาดานสุขภาพ ท้ังทางกายและทางจิต ขอมูลการเรียน ขอมูลครอบครัว

และบุคคลที่สามารถติดตอได เม่ือนักศึกษามีปญหา(3.1.1.1) มีการแตงต้ังอาจารยที่ปรึกษา(3.1.1.2)มี

หนวยงานบริการนักศึกษาและการรับขอเสนอแนะหรือการใหบริการนักศึกษา(3.1.1.3)มีระบบดูแลสุขภาพ

Page 150: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  145

นักศึกษา ดานรางกาย จิตใจ ไปยังโรงพยาบาลและกําหนดระดับควมรับผิดชอบ เชน ระดับมหาวิทยาลัย

ระดับภาควิชา เปนตน(3.1.1.4)และมีการจัดประชุมเพื่อสรางความสัมพันธระหวางมหาวิทยาลัยกับครอบครัว

ของนักศึกษาเพื่อรวมมือกันแกไขปญหาของนักศึกษา(3.1.1.5)

2. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีการจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอนักศึกษาโดยมีการ

จัดทําฐานขอมูลที่เปนประโยชนตอนักศึกษาเชนดานทุนการศึกษา ทุนวิจัย ดานการรับสมัครงานดานขาวสาร

ทางวิชาการที่เก่ียวของการกับการศึกษา(3.1.2.1)ซึ่งมีชองทางใหนักศึกษาเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงใหบริการ

(3.1.2.2)และมีระบบการติดตามและประเมินผลการใหบริการขอมูลขาวสาร(3.1.2.3)

3. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาการและวิชาชีพแก

นักศึกษาโดยมีการกําหนดแหลงฝกประสบการณวิชาชีพของนักศึกษากับหนวยงานตางๆทั้งในและนอก

มหาวิทยาลัย(3.1.3.1)มีนักศึกษาทํากิจกรรมทั้งวิชาการหรือกิจกรรมทางสังคม(3.1.3.2)ซึ่งกําหนดแหลง

การศึกษาและแนะแนวอาชีพใหนักศึกษาสามารถติดตอและใหขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงพัฒนา

ประสบการณวิชาการและวิชาชีพ(3.1.3.3)และมีระบบการติดตามประเมินผลการฝกประสบการณวิชาการ

วิชาชีพ(3.1.3.4)

4. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีการจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอศิษยเกาโดยมี

ฐานขอมูลศิษยเกาสําหรับเผยแพรขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอศิษยเกา เชน ขอมูลการประชุมทางวิชาการ

การสัมนาความรูใหมแหลงทุนการศึกษา ทุนวิจัย การรับสมัครงาน ขาวสารวิชาการท่ีเก่ียวของกับสาขา

(3.1.4.1)และมีการสงขาวใหศิษยเการับรูเก่ียวกับกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาความรูและประสบการณเปน

ระยะๆ(3.1.4.2)ซึ่งการมีสวนรวมของศิษยเกาในการปรับปรุงการจัดกิจกรรมและกิจกรรมกีฬา(3.1.4.3)โดยมี

ชองทางใหศิษยเกาใหขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการใหบริการ(3.1.4.4)

5. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มีการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรูและประสบการณใหศิษยเกาโดย

มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรูและวิชาชีพแกศิษยเกา(3.1.5.1)โดยการประชาสัมพันธใหศิษยเการับรู

กิจกรรมวิชาการและวิชาชีพของมหาวิทยาลัย(3.1.5.2)และมีชองทางใหศิษยเกาไดใหขอเสนอแนะเพ่ือการ

ปรับปรุงกิจกรรมเพื่อพฒันาความรูและประสบการณวิชาการและวิชาชีพ(3.1.5.3)

6. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการในขอ 1-3 ทุกขอไมตํ่ากวา

3.51 จากคะแนนเต็ม 5 โดยมีระบบติดตามการประเมินคุณภาพการใหบริการทุกดานแกนักศึกษาและศิษยเกา

มีผูรับผิดชอบประเมินและมีระยะเวลาประเมิน(3.1.6.1)ซึ่งเปดโอกาสใหศิษยเกามีสวนรวมในการเสนอแนะ

แนวทางในการแกไขปญหาหรือการปรับปรุงการใหบริการ(3.1.6.2)

7. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีการนําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาใชเปนขอมูลใน

การพัฒนาการจัดบริการท่ีสนองความตองการของนักศึกษาโดยมีการนําผลการประเมินคุณภาพการใหบริการ

เสนอใหผูเก่ียวของทราบทุกระดับ(3.1.7.1)และมีการจัดทําแผนการพัฒนาปรับปรุงการใหบริการโดยเฉพาะการ

ใหบริการในดานที่ยังไมบรรลุเปาหมายที่กําหนด(3.1.7.2)ซึ่งจากการสํารวจขอมูลจากนักศึกษาและศิษยเกาเพื่อ

ศึกษาความพึงพอใจ(3.1.7.3)โดยจัดทําแผนการพัฒนาระบบการบริการในระยะตอไป(3.1.7.4)

Page 151: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  146

ผลการประเมินเทียบกับเกณฑ สกอ. ตัวบงช้ี หนวยวัด ผลการดําเนินงาน ระดับคะแนน

3.1 ขอ 7 ขอ 5 คะแนน

ผลการประเมินเทียบเทียบกับเปาหมายที่กําหนดไว

ตัวบงช้ี หนวยวัด ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

2552

เปาหมาย ปการศึกษา

2553

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

2553

การบรรลุเปาหมาย

3.1 ขอ 7 ขอ 7 ขอ บรรลุ

เสริมจุดแข็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มีฐานขอมูลนักศึกษาและระบบจัดเก็บขอมูลเพื่อใชในการตัดสินใจที่มี

ประสิทธิภาพ มีคูมืออาจารยที่ปรึกษาและมีคําส่ังแตงต้ังอาจารยที่ปรึกษาที่ชัดเจน มีส่ือกลางในการ

ประชาสัมพันธและติดตอส่ือสารกับนักศึกษาท่ีหลากหลาย มีเครือขายโรงพยาบาลและระบบการดูแลสุขภาพ

กายและจิตอยางทั่วถึงและมีการจัดกิจกรรมที่เปนที่ตองการของศิษยเกาและศิษยปจจุบัน จุดควรปรับปรุง มหาวิทยาลัยตองดําเนินการจัดการระบบฐานขอมูลใหมีความเชื่อมโยง ใหผูที่เก่ียวของสามารถใชงาน

ไดอยางคลองตัว และมีขั้นตอนในการติดตอประสานงานระหวางผูเก่ียวของไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการ

สรางเครือขายฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสในการจัดการสวัสดิการของศิษยเกาและศิษยปจจุบัน

เอกสารอางอิง

มสด. 3.1.1.1 เวชระเบียน ฐานขอมูลระบบ MIS

มสด. 3.1.1.2 คําส่ังแตงต้ังอาจารยที่ปรึกษา คูมืออาจารยที่ปรึกษา

มสด. 3.1.1.3 คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการงานบริการและสวัสดิการ เวบไซตและเว็บบอรด

มสด. 3.1.1.4 คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการรับผิดชอบเร่ืองรองทุกขของนักศึกษา เวชระเบียน

รายชื่อนักศึกษาท่ีไดรับประกันอุบัติเหตุ รายชื่อและผลตรวจสุขภาพ

มสด. 3.1.1.5 รายงานการประชุมผูปกครองนักศึกษาใหม

มสด. 3.1.2.1 ฐานขอมูลนักศึกษาในเว็บไซต

มสด. 3.1.2.2 กลองรับความคิดเห็น Internet ไปรษณียบัตร โทรศัพท

มสด. 3.1.2.3 แบบประเมินการใหบริการ การใหขอมูลขาวสาร รายงานผลการประเมินผล

มสด. 3.1.3.1 ฐานขอมูลรายชื่อที่อยูแหลงฝกประสบการณ เว็บไซต

มสด. 3.1.3.2 โครงการกิจกรรมวิชาการหรือกิจกรรมทางสังคม

มสด. 3.1.3.3 กลองรับฟงความคิดเห็นและแจงใบคํารองพรอมขอเสนอแนะ เว็บไซตและเว็บบอรด

ไปรษณียบัตร โทรศัพท

Page 152: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  147

มสด. 3.1.3.4 แบบประเมิน รายงานการประชุม รายงานผลการประเมิน

มสด. 3.1.4.1 คูมือการจัดทําฐานขอมูล และคูมือการใชฐานขอมูล

มสด. 3.1.4.2 เว็บไซต ไปรษณีย จดหมายขาว

มสด. 3.1.4.3 หนังสือเชิญ คําส่ังแตต้ังคณะกรรมการ โครงการ แบบประเมิน ภาพถาย รายงาน

การประชุม

มสด. 3.1.4.4 เว็บไซต แบบสอบถามการใหบริการ รายงานการประชุมศิษยเกา

มสด. 3.1.5.1 โครงการวิชาการและวิชาชีพ คําส่ังแตต้ังคณะกรรมการ แบบประเมิน รายช่ือศิษยที่

เขารวม

มสด. 3.1.5.2 เว็บไซต เว็บบอรด แผนผับ ปายประชาสัมพันธ

มสด. 3.1.5.3 เว็บบอรด รายงานผลการสํารวจกิจกรรม ขอเสนอแนะการจัดกิจกรรม

มสด. 3.1.6.1 แบบฟอรมการประเมินผลการใหบริการและคูมือการใหบริการ

มสด. 3.1.6.2 รายงานผลการติดตาม เว็บไซต กลองรับความคิดเห็น เว็บบอรด โทรศัพท

มสด. 3.1.7.1 รายงานผลการประเมิน เว็บไซต บันทึกขอความการรายงานผลและมีการเวียนแจงให

ทราบ

มสด. 3.1.7.2 แผนการปรับปรุงคุณภาพ

มสด. 3.1.7.3 แบบประเมินและสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ

มสด. 3.1.7.4 แผนปรับปรุงการใหบริการและรายงานผลการสํารวจ

ตัวบงช้ีที่ 3.2 : ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา

ชนิดของตัวบงช้ี : กระบวนการ

คําอธิบายตัวบงช้ี : สถาบันอุดมศึกษาตองสงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมนักศึกษาตาง ๆ อยาง

เหมาะสมและครบถวน กิจกรรมนักศึกษาหมายถึงกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ดําเนินการทั้งโดยสถาบันและโดย

องคกรนักศึกษา เปนกิจกรรมที่ผูเขารวมจะมีโอกาสไดรับการพัฒนาสติปญญา สังคม อารมณ รางกายและ

คุณธรรมจริยธรรมสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค 5 ประการ ไดแก (1) คุณธรรมจริยธรรม

(2) ความรู (3) ทักษะทางปญญา (4) ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ (5)ทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึง

ประสงคที่สภา/องคกรวิชาชีพไดกําหนดเพิ่มเติม ตลอดจนสอดคลองกับความตองการของผูใชบัณฑิต

เกณฑมาตรฐาน :

1. สถาบันจัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่สงเสริมผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติทุกดาน

2. มีกิจกรรมใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา

Page 153: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  148

3. มีการสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใชในการจัดกิจกรรมที่ดําเนินการโดย

นักศึกษาอยางนอย 5 ประเภทสําหรับระดับปริญญาตรี และอยางนอย 2 ประเภทสําหรับระดับบัณฑิตศึกษา

จากกิจกรรมตอไปนี้

- กิจกรรมวิชาการที่สงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค

- กิจกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ

- กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาส่ิงแวดลอม

- กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม

- กิจกรรมสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม

4. มีการสนับสนุนใหนักศึกษาสรางเครือขายพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและระหวางสถาบัน และมี

กิจกรรมรวมกัน

5. มีการประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา

6. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา

เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 หรือ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

ผลการดําเนินงาน

ปการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มีการดําเนินงาน 7 ขอตามเกณฑมาตรฐาน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา คือ

1.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีการจัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีสงเสริมผลการเรียนรู

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติทุกดานโดยมีการจัดทําแผนการสงเสริมการจัดกิจกรรมของ

นักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ 5 ดาน ไดแก ดานจริยธรรม ดานความรู ดานทักษะ

ทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข

การส่ือสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ(3.2.1.1)ซึ่งกําหนดตัวบงช้ีความสําเร็จของการจัดกิจกรรมการ

พัฒนานักศึกษา ตัวบงชี้หลักตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติและตัวบงชี้เฉพาะ(3.2.1.2)

2.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีกิจกรรมใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพแกนักศึกษาโดยให

ความรูแกนักศึกษาดานประกันคุณภาพ(3.2.2.1)และฝกทักษะการเขียนโครงการทํากิจกรรมของนักศึกษาที่มี

การระบุตัวบงช้ีความสําเร็จของการดําเนินงานวิชาการ วิธีการประเมินคุณภาพในโครงการหรือกิจกรรมของ

นักศึกษาโดยการประชุมปฏิบัติการ(3.2.2.2)

3.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีการสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานประกันคุณภาพไปใชในการจัด

กิจกรรมท่ีดําเนินการโดยนักศึกษาดังนี้ กิจกรรมวิชาการที่สงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค กิจกรรม

กีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาส่ิงแวดลอมกิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและ

Page 154: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  149

จริยธรรม กิจกรรมสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีกิจกรรมที่ควรสงเสริม(3.2.3.1)และใหขอมูลปอนกลับ

แกนักศึกษาเพื่อการปรับปรุงงาน(3.2.3.2)

4.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีการสนับสนุนใหนักศึกษาจัดต้ังเครือขายพัฒนาคุณภาพภายใน

มหาวิทยาลัยและระหวางมหาวิทยาลัยและมีกิจกรรมรวมกัน โดยมีแผนการจัดกิจกรรมการสรางเครือขาย

พัฒนาคุณภาพภายในมหาวิทยาลัย จัดกิจกรรมการจัดการความรู(KM)การนําเสนอผลงานในที่ประชุม การ

แลกเปล่ียนรูวิธีการวางแผนการทํางาน การพัฒนาตัวบงชี้ ความสําเร็จและการประเมินความสําเร็จ

(3.2.4.1)และมีการประชุมกับมหาวิทยาลัยภายนอกเพ่ือสงเสริมการจัดกิจกรรมรวมกันของนักศึกษาระหวาง

มหาวิทยาลัย(3.2.4.2)ซึ่งเปนกิจกรรมการแลกเปล่ียนประสบการณการใชระบบประกันคุณภาพในการ

แลกเปล่ียนกิจกรรมของนักศึกษา(3.2.4.3)

5.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีการประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงคตามแผนการจัดกิจกรรม

ของนักศึกษาโดยมีระบบติดตาม ประเมินผลการจัดกิจกรรมตามตัวบงชี้(3.2.5.1)ซึ่งกําหนดใหนักศึกษาจัดทํา

รายงานและนํารายงานผลการจัดกิจกรรมไปสังเคราะห(3.2.5.2)มีการติดตามประเมินความรูความเขาใจและ

การประยุกตใชระบบประกันคุณภาพในการจัดกิจกรรมของนักศึกษา จากรายงานการจัดกิจกรรมของนักศึกษา

(3.2.5.3)และมีการวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง ของนักศึกษาเพื่อจัดทําแผนการจัดกิจกรรมของนักศึกษา(3.2.5.4)

6.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรม

เพื่อพัฒนานักศึกษาโดยมีการวิเคราะหจุดแข็งจุดออนไปใชในการวางแผนพัฒนานักศึกษาอยางตอเนื่องรวมทั้ง

การวิเคราะหคุณลักษณะฑิตที่พึงประสงคในดานที่ยังไมบรรลุผลเทาที่ควร(3.2.6.1)และนําเสนอผลการวิเคราะห

เสนอตอคณะกรรมการบริหารและมีการระดมความคิดในการพัฒนานักศึกษาใหมีลักษณะตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติผานกิจกรรมนักศึกษา(3.2.6.2)

ผลการประเมินเทียบกับเกณฑ สกอ.

ตัวบงช้ี หนวยวัด ผลการดําเนินงาน ระดับคะแนน

3.2 ขอ 6 ขอ 5 คะแนน

ผลการประเมินเทียบเทียบกับเปาหมายที่กําหนดไว

ตัวบงช้ี หนวยวัด ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

2552

เปาหมาย ปการศึกษา

2553

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

2553

การบรรลุเปาหมาย

3.2 ขอ 6 ขอ 6 ขอ บรรลุ

เสริมจุดแข็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มีองคกรผูนํานักศึกษาท่ีเขมแข็งและมีความคิดสรางสรรคในการดําเนิน

กิจกรรม มีขอบังคับเก่ียวกับกิจกรรมนักศึกษาเพื่อเปนแนวทางในการดําเนินกิจกรรม มีระบบการดําเนินงาน

กิจกรรมที่เปนขั้นตอนอยางชัดเจน มีเครือขายนักกิจกรรมท่ัวประเทศ มีฐานขอมูลและแหลงเรียนรูการ

Page 155: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  150

ดําเนินงานกิจกรรมเพื่อการแลกเปล่ียนความรูที่ มีคุณภาพและมีชองทางใหนักศึกษาดําเนินกิจกรรมที่

หลากหลาย จุดควรปรับปรุง มหาวิทยาลัยควรสรางฐานขอมูลรวมกันในกลุมเครือขาย ในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส เพื่อรองรับ

การปฏิรูปการศึกษาในอนาคต และสรางแหลงเรียนรูรวมกัน อีกทั้งควรสนับสนุนใหนักศึกษา ผูประกอบการ

และสังคมเขามามีสวนรวมในการพัฒนามหาวิทยาลัย เพื่อสนองตอบความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย

เอกสารอางอิง

มสด. 3.2.1.1 แผนการจัดกิจกรรมนักศึกษา โครงการกิจกรรม คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการ คูมือการ

จัดกิจกรรมรายชื่อผูเขารวมกิจกรรม ภาพถาย แบบประเมินและรายงานผลการ

ประเมิน

มสด. 3.2.1.2 แผนกิจกรรมประจําปที่ระบุตัวบงชี้

มสด. 3.2.2.1 โครงการ รายชื่อผูเขารวมกิจกรรม แบบประเมินและรายงานผลการประเมิน

มสด. 3.2.2.2 โครงการ รายชื่อผูเขารวมกิจกรรม แบบประเมินและรายงานผลการประเมิน

มสด. 3.2.3.1 แผนการจัดกิจกรรม โครงการกิจกรรม 5 ดาน แบบประเมินและรายงานผลการ

ประเมิน

มสด. 3.2.3.2 บันทึกอนุมัติโครงการ ขอเสนอแนะจากการจัดกิจกรรม แบบประเมินและรายงานผล

มสด. 3.2.4.1 แผน KM แผนการสรางเครือขาย นําเสนอในท่ีประชุมเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู

มสด. 3.2.4.2 รายงานการประชุมระหวางมหาวิทยาลัยของบุคลากรผูดูแลงานกิจกรรมนักศึกษา

มสด. 3.2.4.3 โครงการ บันทึกสงนักศึกษาเขารวมประชุมแลกเปล่ียนความรู

มสด. 3.2.5.1 คูมือการจัดกิจกรรม คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการ แบบฟอรมารายงานผลตามตัวบงชี้

มสด. 3.2.5.2 รายงานผลการดําเนินงาน แบบสรุปผลการดําเนินงานท่ีสังเคราะหตามตัวบงชี้

มสด. 3.2.5.3 แบบประเมินวัดความรูความเขาใจและรายงานผลการจัดกิจกรรม

มสด. 3.2.5.4 ตารางวิเคราะหจุดแข็งจุดออนนักศึกษาและแผนการจัดกิจกรรมในปตอไป

มสด. 3.2.6.1 แบบประเมินและผลการประเมินของกิจกรรมท่ีเกิดจากการวิเคราะหจุดแข็งจุดออนของ

นักศึกษา

มสด. 3.2.6.2 บันทึกรายงานผลการประเมินที่มีการแจงเวียนและรายงานการจัดกิจกรรมกลุมจัดทํา

แนวคิดพัฒนานักศึกษา

Page 156: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  151

ตัวบงช้ีที่ 2.2 อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

ชนิดของตัวบงช้ี : ปจจัยนําเขา

คําอธิบายตัวบงช้ี :

การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเปนการศึกษาระดับสูงสุดที่ตองการบุคลากรที่มีความรูความสามารถ

และความลุมลึกทางวิชาการ เพื่อปฏิบัติพันธกิจสําคัญของสถาบันในการผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจัยเพื่อการติดตาม

ความกาวหนาทางวิชาการและการพัฒนาองคความรู ดังนั้น สถาบันจึงควรมีอาจารยที่มีระดับคุณวุฒิทาง

การศึกษาในสัดสวนที่เหมาะสมกับพันธกิจหรือจุดเนนของสถาบัน เกณฑมาตรฐาน (กรุณาแสดงจํานวนอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก และจํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ใชในการคิดคารอยละ)

1) คารอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกท่ีเพิ่มขึ้นจาก

ปที่ผานมา ที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ X ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ :

1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกเพ่ิมขึ้น

รอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

=

ผลการดําเนินการคิดเปนรอยละ ______

2) แปลคารอยละที่คํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได

= ผลการดําเนินการคิดเปนรอยละ ______

คาการเพิ่มขึ้นของอาจารยประจํา

ที่มีวุฒิปริญญาเอกที่เพิ่มขึ้นเปรียบเทียบกับปที่ผานมา

จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด

x 100

X

x 5

เกณฑประเมิน

1) แปลงคาการเพิ่มขึ้นของคารอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปที่ผาน

มาเปนคะแนนระหวาง 0 – 5 เกณฑประเมิน (เฉพาะกลุม ข และ ค2) :

1) คารอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 30 ขึ้นไป

หรือ

Page 157: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  152

2) คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปที่ผานมา ที่

กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 6 ขึ้นไป

ผลการดําเนินการ มหาวิทยาลัยมีผลการดําเนิน ดังนี้

ในปการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ตามเกณฑมาตรฐานของสํานักคณะกรรมการ

การอุดมศึกษา มีอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเพิ่มขึ้น จํานวน __ คน จากจํานวนอาจารยประจํา

ทั้งหมด ___ คน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปที่ผานมาคิดเปนรอยละ _____ (หลักฐานแสดง 2.2.1) การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะกําหนดเปาหมายไวที่ ____ ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. และดําเนินการไดที่

ระดับ ____

ผลการประเมินเทียบกับเกณฑมาตรฐาน ตัวบงช้ี หนวยวัด ผลการดําเนินการ คะแนนอิงเกณฑการประเมิน

2.2 คะแนน _____ 5

ผลการประเมินเทียบกับเปาหมายที่ไดกําหนด

ตัวบงช้ี หนวยวัด ผลการดําเนินการ ปการศึกษา

2552

เปาหมาย ปการศึกษา

2553

ผลการดําเนินการ ปการศึกษา

2553

การบรรลุ เปาหมาย

2.2 คะแนน - 5 5 บรรลุเปาหมาย

จุดแข็ง มหาวิทยาลัยมีอาจารยปริญญาเอกเพียงพอในการจัดการเรียนการสอน

แนวทางการพัฒนา มหาวิทยาลัยตองมีการพัฒนาอาจารยมากขึ้น และสงเสริมใหมาสอนในทุกระดับ

เอกสารอางอิง

มสด. ตารางแสดงคุณวุฒิอาจารยของอาจารยประจํา

Page 158: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  153

การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอก การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกเปนการนําผลการประเมินมาเปรียบเทียบเพื่อพิจารณา

ระดับคุณภาพในการจัดการศึกษาสถานศึกษา โดยกําหนดมิติพิจารณาท้ังในภาพและกลุมตัวบงชี้ตามเกณฑใน

การตัดสินผลดังนี้

ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ

4.51 – 5.00 ดีมาก

3.51 – 4.50 ดี

2.51 – 3.50 พอใช

1.51 – 2.50 ควรปรับปรุง

0.00 – 1.50 ตองปรับปรุง

******* การเขยีนรายงาน สมศ. ใหเขียนตามรูปแบบของ สกอ. **********

Page 159: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  154

แบบรายงานผลการประเมิน ตาราง ส 1. ผลการประเมินรายตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพ

ผลการดําเนินงาน ตัวตั้ง

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย

ตัวหาร ผลลัพธ

(%หรือสัดสวน)

คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.)

ตัวบงชี้ที่ 1.1กระบวนการพัฒนาแผน ตัวบงชี้ที่ สมศ. ที่ 16 ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและ

วัตถุประสงคของการจัดตั้งสถาบัน

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 17ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกอักษณ

ของสถาบัน

ตัวบงชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

ตัวบงชี้ที่ 2.2 อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

ตัวบงชี้ที่ 2.3 อาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ

ตัวบงชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

ตัวบงชี้ที่ 2.5 หองสมุด อุปกรณการศึกษา และสภาพแวดลอมการเรียนรู ตัวบงชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน

Page 160: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  155

ตาราง ส 1. ผลการประเมินรายตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพ (ตอ) ผลการดําเนินงาน

ตัวตั้ง

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย ตัวหาร

ผลลัพธ (%หรือสัดสวน)

คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.)

ตัวบงชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต

ตัวบงชี้ที่ 2.8 ระดับความสําเร็จของการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมที่จัดใหกับนักศึกษา

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทาํหรือประกอบอาชีพอิสระ

ภายใน 1 ป

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาติ

ตัวบงชี้ที่ สมศ. ที่ 3 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ไดรับการ

ตีพิมพหรือเผยแพร

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 4 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ไดรับการ

ตีพิมพหรือเผยแพร

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 14 การพัฒนาคณาจารย

ตัวบงชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูลขาวสาร ตัวบงชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา

Page 161: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  156

ตาราง ส 1. ผลการประเมินรายตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพ (ตอ) ผลการดําเนินงาน

ตัวตั้ง

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย ตัวหาร

ผลลัพธ (%หรือสัดสวน)

คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.)

ตัวบงชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค ตัวบงชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกจัดการความรูจากงานวจิัยหรืองานสรางสรรค

ตัวบงชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 6 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพ

ตัวบงชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม ตัวบงชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 8 การนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชใน

การพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 9 การเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือองคการ

ภายนอก

Page 162: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  157

ตาราง ส 1. ผลการประเมินรายตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพ ผลการดําเนินงาน

ตัวตั้ง

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย ตัวหาร

ผลลัพธ (%หรือสัดสวน)

คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.)

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 18 ผลการชี้นําปองกัน/หรือแกปญหาสังคมในดานตางๆ ตัวบงชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 10 การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 11การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบงชี้ที่ 7.1 ภาวะผูนําของสภาสถาบันและผูบริหารทุกระดับของสถาบัน ตัวบงชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสูสถาบันเรียนรู ตัวบงชี้ที่ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ตัวบงชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 12 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบัน ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 13 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารสถาบัน ตัวบงชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ตัวบงชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 15 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด

นําคะแนนที่ไดจากเฉลี่ยคะแนน

รวมทุกตัวบงชี้ของทุก

องคประกอบมาบันทึกไว

*ใหระบุเปนตัวเลขที่สอดคลองกับเกณฑใชประเมินสําหรับตัวบงชี้นั้นๆ เชน ระบุเปนคารอยละ หรือระบุเปนสัดสวน หรือระบุเปนคะแนน หรือระบุเปนจํานวน หรือระบุเปนขอ

Page 163: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  158

ตาราง ส 2. ผลการประเมินตนเองตามองคประกอบคุณภาพ คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน

0.00 - 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51 - 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง 2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช 3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี

องคประกอบ

I

P

O

รวม

4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดีมาก

หมายเหตุ

องคประกอบ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

องคประกอบ 2 การผลิตบัณฑิต องคประกอบ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา องคประกอบ 4 การวิจัย องคประกอบ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม องคประกอบ 6 การทํานุบํารงุศิลปและวัฒนธรรม องคประกอบ 7 การบริหารและการจัดการ องคประกอบ 8 การเงินและงบประมาณ องคประกอบ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ไมนําตัวบงชี้ สมศ.ที่15 มาคํานวณ

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกองคประกอบ ผลการประเมิน

Page 164: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  159

ตาราง ส 3. ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการอุดมศึกษา คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน

0.00 - 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51 - 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง 2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช 3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี

มาตรฐานอุดมศึกษา

I

P

O

รวม

4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดีมาก

หมายเหตุ

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ 2

มาตรฐานที่ 2 ก

มาตรฐานที่ 2 ข ไมนําตัวบงชี้ สมศ.ที่15 มาคํานวณ

มาตรฐานที่ 3 เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

Page 165: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  160

ตาราง ส 4. ผลการประเมินตนเองตามมุมมองดานการบริหารจัดการ คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน

0.00 - 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51 - 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง 2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช 3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี

มุมมองดานการบรหิารจดัการ

I

P

O

รวม

4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดีมาก

หมายเหตุ

ดานนักศึกษาและผูมีสวนไดสวนเสีย

ดานกระบวนการภายใน ไมนําตัวบงชี้ สมศ.ที่15 มาคํานวณ

ดานการเงิน

ดานบุคลากรการเรียนรูและนวัตกรรม

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกมุมมอง ผลการประเมิน

Page 166: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  161

ตาราง ส 5. ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถาบันอุดมศกึษา คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน

0.00 - 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51 - 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง 2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช 3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี

มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา

I

P

O

รวม

4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดีมาก

หมายเหตุ

1. มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอมในการจัดการศึกษา

(1) ดานกายภาพ

(2) ดานวิชาการ

(3) ดานการเงิน

(4) ดานการบริหารจัดการ ไมนําตัวบงชี้ สมศ.ที่15 มาคํานวณ

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของมาตรฐานที่ 1 2. มาตรฐานดานการดําเนินการตามภารกจิของสถาบันอุดมศึกษา

(1) ดานการผลิตบัณฑิต

(2) ดานการวิจัย

(3) ดานการใหบริการทางวิชาการแกสังคม

(4) ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

Page 167: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  162

ตาราง ส 5. ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถาบันอุดมศกึษา(ตอ) คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน

0.00 - 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51 - 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง 2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช 3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี

มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา

I

P

O

รวม

4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดีมาก

หมายเหตุ

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของมาตรฐานที่ 2 เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

Page 168: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  163

ตาราง ป.1 ผลการประเมนิรายตัวบงชีข้องสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผลการดําเนินงาน

ตัวตั้ง

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย ตัวหาร

ผลลัพธ (%หรือสัดสวน)

คะแนนประเมินโดยคณะกรรมการ (เกณฑ สกอ.)

หมายเหตุ(เหตผุลของการประเมินที่ตางจากที่

ที่ระบุในsar)

ตัวบงชี้ที่ 1.1กระบวนการพัฒนาแผน ตัวบงชี้ที่ สมศ. ที่ 16 ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและ

วัตถุประสงคของการจัดตั้งสถาบัน

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 17ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปน

เอกอักษณของสถาบัน

ตัวบงชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

ตัวบงชี้ที่ 2.2 อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

ตัวบงชี้ที่ 2.3 อาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ

ตัวบงชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน ตัวบงชี้ที่ 2.5 หองสมุด อุปกรณการศึกษา และสภาพแวดลอมการเรียนรู

ตัวบงชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน

Page 169: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  164

ตาราง ป.1 ผลการประเมนิรายตัวบงชีข้องสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ตอ) ผลการดําเนินงาน

ตัวตั้ง

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย ตัวหาร

ผลลัพธ (%หรือสัดสวน)

คะแนนประเมินโดยคณะกรรมการ (เกณฑ สกอ.)

หมายเหตุ(เหตผุลของการประเมินที่ตางจากที่

ที่ระบุในsar)

ตัวบงชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต

ตัวบงชี้ที่ 2.8 ระดับความสําเร็จของการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมที่จัดใหกับนักศึกษา

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทาํหรือประกอบอาชีพ

อิสระภายใน 1 ป

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตาม

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาต ิ

ตัวบงชี้ที่ สมศ. ที่ 3 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่

ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 4 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่

ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

Page 170: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  165

ตาราง ป.1 ผลการประเมนิรายตัวบงชีข้องสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ตอ) ผลการดําเนินงาน

ตัวตั้ง

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย ตัวหาร

ผลลัพธ (%หรือสัดสวน)

คะแนนประเมินโดยคณะกรรมการ (เกณฑ สกอ.)

หมายเหตุ(เหตผุลของการประเมินที่ตางจากที่

ที่ระบุในsar)

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 14 การพัฒนาคณาจารย

ตัวบงชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูล ขาวสาร

ตัวบงชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ตัวบงชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค ตัวบงชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกจัดการความรูจากงานวจิัยหรืองานสรางสรรค

ตัวบงชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 6 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพ

Page 171: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  166

ตาราง ป.1 ผลการประเมนิรายตัวบงชีข้องสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ตอ) ผลการดําเนินงาน

ตัวตั้ง

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย ตัวหาร

ผลลัพธ (%หรือสัดสวน)

คะแนนประเมินโดยคณะกรรมการ (เกณฑ สกอ.)

หมายเหตุ(เหตผุลของการประเมินที่ตางจากที่

ที่ระบุในsar)

ตัวบงชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม ตัวบงชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 8 การนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการ

มาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 9 การเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือ

องคการภายนอก

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 18 ผลการชี้นําและ/หรือแกปญหาสังคมในดานตางๆ ตัวบงชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 10 การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 11การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบงชี้ที่ 7.1 ภาวะผูนําของสภาสถาบันและผูบริหารทุกระดับของสถาบัน

ตัวบงชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสูสถาบันเรียนรู ตัวบงชี้ที่ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ตัวบงชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 12 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบัน

Page 172: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  167

ตาราง ป.1 ผลการประเมนิรายตัวบงชีข้องสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ตอ) ผลการดําเนินงาน

ตัวตั้ง

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย ตัวหาร

ผลลัพธ (%หรือสัดสวน)

คะแนนประเมินโดยคณะกรรมการ (เกณฑ สกอ.)

หมายเหตุ(เหตผุลของการประเมินที่ตางจากที่

ที่ระบุในsar)

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 13 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารสถาบัน ตัวบงชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ตัวบงชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ตัวบงชี้ สมศ. ที่ 15 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด

นําคะแนนที่ไดจากเฉลี่ย

คะแนนรวมทุกตัวบงชี้ของ

ทุกองคประกอบมาบันทึก

ไว

Page 173: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  168

ตาราง ป.2 ผลการประเมนิตนเองตามองคประกอบคุณภาพ คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน

0.00 - 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51 - 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง 2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช 3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี

องคประกอบ

I

P

O

รวม

4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดีมาก

หมายเหตุ

องคประกอบ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

องคประกอบ 2 การผลิตบัณฑิต องคประกอบ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา องคประกอบ 4 การวิจัย องคประกอบ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม องคประกอบ 6 การทํานุบํารงุศิลปะและวัฒนธรรม องคประกอบ 7 การบริหารและการจัดการ องคประกอบ 8 การเงินและงบประมาณ องคประกอบ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ไมนําตัวบงชี้ สมศ.ที่15 มาคํานวณ

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกองคประกอบ ผลการประเมิน

Page 174: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  169

ตาราง ป.3 ผลการประเมนิตนเองตามมาตรฐานการอุดมศึกษา คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน

0.00 - 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51 - 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง 2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช 3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี

มาตรฐานอุดมศึกษา

I

P

O

รวม

4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดีมาก

หมายเหตุ

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ 2

มาตรฐานที่ 2 ก

มาตรฐานที่ 2 ข ไมนําตัวบงชี้ สมศ.ที่15 มาคํานวณ

มาตรฐานที่ 3 เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

Page 175: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  170

ตาราง ป.4 ผลการประเมนิตนเองตามมุมมองดานการบรหิารจดัการ คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน

0.00 - 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51 - 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง 2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช 3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี

มุมมองดานการบรหิารจดัการ

I

P

O

รวม

4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดีมาก

หมายเหตุ

ดานนักศึกษาและผูมีสวนไดสวนเสีย

ดานกระบวนการภายใน ไมนําตัวบงชี้ สมศ.ที่15 มาคํานวณ

ดานการเงิน ดานบุคลากรการเรียนรูและนวัตกรรม เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกมุมมอง ผลการประเมิน

Page 176: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  171

ตาราง ป.5 ผลการประเมนิตนเองตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน

0.00 - 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51 - 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง 2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช 3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี

มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา

I

P

O

รวม

4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดีมาก

หมายเหตุ

1. มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอมในการจัดการศึกษา

(1) ดานกายภาพ

(2) ดานวิชาการ

(3) ดานการเงิน

(4) ดานการบริหารจัดการ ไมนําตัวบงชี้ สมศ.ที่15 มาคํานวณ

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของมาตรฐานที่ 1 2. มาตรฐานดานการดําเนินการตามภารกจิของสถาบันอุดมศึกษา

(1) ดานการผลิตบัณฑิต

(2) ดานการวิจัย

(3) ดานการใหบริการทางวิชาการแกสังคม

(4) ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

Page 177: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

  172

ตาราง ป.5 ผลการประเมนิตนเองตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา(ตอ) คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน

0.00 - 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51 - 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง 2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช 3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี

มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา

I

P

O

รวม

4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดีมาก

หมายเหตุ

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของมาตรฐานที่ 2 เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

Page 178: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

173

บทที่ 7 แผนปรับปรุงคุณภาพตามรายงานการประเมินตนเองของมหาวิทยาลัยที่เชื่อมโยงแผนปรับปรุงคุณภาพภายหลัง

การตรวจประเมินคุณภาพ จัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพตามรายงานประเมินตนเองของมหาวิทยาลัย โดยการนําสรุป

ขอเสนอแนะหรือแนวทางตามรายงานการประเมินตนเองของมหาวิทยาลัย มาจัดทําแนวทางการพัฒนา/

ปรับปรุงคุณภาพของมหาวิทยาลัย ที่ เ ช่ือมโยงกับแผนปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2554

ประกอบดวยหัวขอดังนี้ สรุปขอเสนอแนะของมหาวิทยาลัย แนวทางการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม ความ

สอดคลองกับกลยุทธของมหาวิทยาลัย ตัวบงชี้ความสําเร็จ เปาหมาย ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ และผูตรวจสอบ ซึ่ง

ผลที่ไดจากแนวทางการพัฒนาดังกลาว มหาวิทยาลัยไดนําไปพิจารณาประกอบการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2554

หลังจากการจัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพเรียบรอยแลว กองนโยบายและแผนจะดําเนินการติดตาม

และประเมินผล แผนปรับปรุงคุณภาพรายไตรมาส พรอมกับการติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานตาม

แผนปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2554 ของหนวยงาน โดยจะสรุปผลเปนรายไตรมาส

แผนปรับปรุงคุณภาพตามรายงานประเมินตนเองของมหาวิทยาลัยประจําปการศึกษา พ.ศ. 2552

โดยมีการนําสรุปขอเสนอแนะหรือมาจัดทําแนวทางการพัฒนา/ปรับปรุงคุณภาพของมหาวิทยาลัยเพื่อเช่ือมกับ

ขอเสนอแนะหรือแนวทางการพัฒนาจากคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัยและทํา

แผนปรับปรุงคุณภาพของมหาวิทยาลัยโดยโยงกับแผนปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2554

ประกอบดวย

1. สรุปขอเสนอแนะของมหาวิทยาลัย

2. แนวทางการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม

3. ความสอดคลองกับกลยุทธของมหาวิทยาลัย

4. ตัวบงชี้ความสําเร็จ เปาหมาย ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ และผูตรวจสอบ

ซึ่งผลที่ไดจากแนวทางการพัฒนาดังกลาว มหาวิทยาลัยไดนําไปพิจารณาประกอบการจัดทํา

แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2554 รวมทั้งมีการติดตาม และประเมินผลรายไตรมาส โดยกอง

นโยบายและแผนตอไป

Page 179: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

174

ตัวอยาง แผนปรับปรุงคุณภาพตามรายงานการประเมินตนเองของมหาวิทยาลยัราชภัฏสวนดุสิต ประจําปการศึกษา 2552

แนวทางการพฒันา/ปรับปรุงคณุภาพที่ผูรับผิดชอบตัวบงชี้พจิารณาและเชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติราชการ ตัวบงชี้

แนวทางการพฒันาตาม

รายงานการประเมินตนเอง 2552(SAR)

แนวทางการพัฒนา / โครงการ/

กิจกรรม

สอดคลองกับกลยุทธ

ตัวบงชี้ความสําเร็จ เปาหมาย ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ ผูตรวจสอบ

1.1 มีการกําหนด

ปรัชญาหรือปณิธาน

ตลอดจนมี

กระบวนการพัฒนา

กลยุทธแผน

ดําเนินงานและมีการ

กําหนดตัวบงชี้เพื่อ

วัดความสําเร็จของ

การดําเนินงานตาม

แผนใหครบทุก

ภารกิจ

สนับสนุนใหหนวยงานใน

มหาวิทยาลัยปรับปรุงผลการ

ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติ

ราชการ โดยใชวงจรการปรับปรุง

PDCA เพื่อใหหนวยงานเกิดการ

พัฒนาอยางตอเนื่อง

โครงการจัดทําแผนปฏิบัติ

ราชการประจําปงบประมาณ

พ.ศ. 2554

- กําหนดใหหนวยงานจัดทํา

แผนปฏิบัติราชการโดยนํา

ขอเสนอแนะจาก

คณะกรรมการที่เกี่ยวของมา

พิจารณากําหนดงาน /

โครงการ

กลยุทธ 6 หนวยงานหลักมีแผน

ปรับปรุงคุณภาพและ

แผนปฏิบัติราชการที่

สอดคลองกัน

หนวยงานหลัก

... หนวยงาน

ตุลาคม -

ธันวาคม

2553

ผูกํากับตัวบงชี้ ดร.ญาลิสาฐ ตนสอน ผูจัดเก็บขอมูล นางสาวธิดารัตน คํายัง

นางสาวรัชดาภรณ แสงศรี

นางสาววรรณี ศิริรัตน ผูเขียนรายงาน นางสาวธิดารัตน คํายัง

นางสาวรัชดาภรณ แสงศรี

นางสาววรรณี ศิริรัตน

Page 180: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

175

บทที่ 8 การดําเนินงานประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2553 ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพ สกอ. และ สมศ.

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีนโยบายประกันคุณภาพตั้งแตระดับมหาวิทยาลัยและระดับหนวยงานประกอบดวย

1. ระดับมหาวิทยาลัย

2. ระดับหนวยงาน

2.1 คณะ

- คณะครุศาสตร - คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

- คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- คณะวิทยาการจัดการ

- คณะพยาบาลศาสตร

- โรงเรียนการเรือน

- โรงเรียนการทองเที่ยวและการบริการ

- บัณฑิตวิทยาลัย

2.2 การจัดสถานศึกษานอกที่ต้ัง

- ศูนยหัวหิน

- ศูนยสุพรรณบุรี

- ศูนยนครนายก

- ศูนยลําปาง

- ศูนยพิษณุโลก

- ศูนยตรัง

2.3 หลักสูตรทุกหลักสูตร

2.4 หนวยงานสนับสนุน

- สํานักงานอธิการบดี

- สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

- สํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน

- สํานักกิจการพิเศษ

- สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม

- สถาบันวิจัยและพัฒนา

Page 181: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

176

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศกึษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ประจําปการศึกษา 2553

หมายเหตุ หนวยงานสามารถใชระบบและกลไกน้ีไดเลย หรือ ปรับปรุงใหเหมาะสมกับหนวยงานก็ได

P

D

C

A

การพัฒนาคุณภาพ

การติดตามคุณภาพ

การประเมินคุณภาพ

ขอมูล

ยอนก

ลับ

ขอมูล

ยอนก

ลับ

จัดทาํ - แผนปรับปรุงคุณภาพ - แผนงานประกันคุณภาพ - แผนปฏิบัติราชการประจําป - คูมือประกนัคุณภาพฯ

- จัดทํารายงานประเมินตนเอง - ติดตามการดําเนนิงาน - รายงานผลการติดตาม (รอบ 6 เดอืนและ 9 เดอืน)

จัดทาํรายงานการประเมินตนเองประจําปการศกึษา

วิพากษและปรับปรุง รายงานการประเมินตนเอง

ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในประจําป

ดําเนนิงานตามแผนและพันธกิจ

จัดทาํรายงานผลการประเมินคุณภาพการศกึษา

จัดสงผลการประเมินคุณภาพใหตนสังกัด

ประชาสัมพันธและส่ือสาร ทัว่ทั้งองคกร

ทบทวนผลการประเมิน มาตรฐาน ตัวบงชี ้คาเปาหมาย ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

การศึกษาภายในประจําปการศึกษา

ระบบ กลไก กรรมการสภา /กรรมการประกัน/ กรรมการบริหาร/บุคลากรของหนวยงาน

แผนการศึกษาชาติ / พรบ.มหาวทิยาลัย / กฎหมายทีเ่ก่ียวของ/ แผนกลยทุธ / วิสัยทัศนและพันธกิจของหนวยงาน / วัตถุประสงคหลักสูตร / ตัวบงชี้และเกณฑมาตรฐานคุณภาพตางๆ / ผูบริหาร / บคุลากรของหนวยงาน / นักศกึษา / ผูมีสวนไดสวนเสยี

ผูบริหาร/บุคลากรของหนวยงาน/นักศึกษา / ผูมีสวนไดสวนเสีย

ผูบริหาร / บุคลากรของหนวยงาน /คณะกรรมการประกันคุณภาพหนวยงาน/ แผนงานประกันคุณภาพ

กรรมการตัวบงช้ี/ ผูบริหาร / บุคลากรของหนวยงาน /คณะกรรมการประกันคุณภาพหนวยงาน / นักศึกษา / ผูมีสวนไดสวนเสีย / คณะกรรมการตรวจประเมิน /คําส่ัง / คูมือประกันคุณภาพภายใน/ แผนงานฯ

คณะกรรมการประกันคุณภาพหนวยงาน / หนวยงานตนสังกัด

ปรับปรุงเม่ือ สิงหาคม 2553 : กลุมงานประกันคุรภาพ

Page 182: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

177

การพัฒนาคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของ สกอ. และ สมศ. มาตรฐานและตัวบงช้ีที่หนวยงานดําเนินการประกันคุณภาพตามพันธกิจ ประจําปการศึกษา 2553 ในปการศึกษา 2553 หนวยงานดําเนินการประกันคุณภาพตามพันธกิจ ทั้งส้ินจํานวน 49 ตัวบงชี้

แบงเปน

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน จํานวน 29 ตัวบงชี ้ตัวบงชี้ประกันคุณภาพภายในของ สกอ. จํานวน 23 ตัวบงชี ้ตัวบงชี้ประกันคุณภาพนโยบายสถานศึกษา 3ดี จํานวน 4 ตัวบงชี้ ตัวบงชี้อัตลักษณของมหาวิทยาลัย จํานวน 2 ตัวบงชี้ ตัวบงชี้การดําเนินการโครงการตามพระราชดําริ จํานวน 1 ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ส่ิงแวดลอมและชุมชน จํานวน 1 ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ที่หนวยงานพัฒนาขึ้นเอง(ถามี เชนอัตลักษณหนวยงาน) จํานวน ตัวบงชี ้การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก ตามเกณฑของ สมศ. จํานวน 18 ตัวบงชี ้

(จํานวนตัวบงชี้ขางบนเปนตัวอยางของระดับมหาวิทยาลัย)

รายละเอียดตัวบงช้ีที่ดําเนินการประกันคุณภาพใน

ลําดับ องคประกอบคุณภาพและตัวบงช้ี (สกอ.) คาเปาหมาย

องคประกอบที ่1 ปรัชญา ปณิธาน วตัถุประสงค และแผนดําเนินการ

1 ตัวบงช้ีที่ 1 กระบวนการพัฒนาแผน 6 ขอ( 4คะแนน)

องคประกอบที ่2 การผลิตบัณฑิต

2 ตัวบงช้ีที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร 5 ขอ( 5คะแนน)

3 ตัวบงช้ีที่ 2.2 อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก รอยละ 18( 3 คะแนน)

4 ตัวบงช้ีที่ 2.3 อาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ รอยละ 18( 1.5 คะแนน)

5 ตัวบงช้ีที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน 3 ขอ( 3คะแนน)

6 ตัวบงช้ีที่ 2.5 หองสมุด อุปกรณการศึกษา และสภาพแวดลอมการเรียนรู 4 ขอ( 3คะแนน)

7 ตัวบงช้ีที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน 7 ขอ( 3คะแนน)

8 ตัวบงช้ีที่ 2.7 ระบบและกลไกการพฒันาสัมฤทธิ์ผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต 4 ขอ( 4คะแนน)

9 ตัวบงช้ีที่ 2.8 ระดับความสําเร็จของการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมที่จัดใหกับนักศึกษา 3 ขอ( 3คะแนน)

องคประกอบที ่3 กิจกรรมการพัฒนานกัศึกษา

10 ตัวบงช้ี 3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและการบริการดานขอมูล 6 ขอ( 4คะแนน)

11 ตัวบงช้ี 3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา 5 ขอ( 4คะแนน)

องคประกอบที ่4 การวิจัย

12 ตัวบงช้ี 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค 6 ขอ( 4คะแนน)

Page 183: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

178

ลําดับ องคประกอบคุณภาพและตัวบงช้ี (สกอ.) คาเปาหมาย

13 ตัวบงช้ี 4.2 ระบบและกลไกจัดการความรูจากงานวจิัยหรืองานสรางสรรค 4 ขอ( 4คะแนน)

14 ตัวบงช้ี 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและ

นักวิจัย

(4,3,5 คะแนน ตามลําดับ )

วิทยาศาสตร 48,000 บ.

วิทยฯสุขภาพ 30,000 บ.

สังคม 25,000 บ.

องคประกอบที ่5 การบริการทางวิชาการแกสังคม

15 ตัวบงช้ี 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวชิาการแกสังคม 4 ขอ( 4คะแนน)

16 ตัวบงช้ี 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม 4 ขอ( 4คะแนน)

องคประกอบที ่6 การทาํนุบํารงุศิลปะวัฒนธรรม

17 ตัวบงช้ี 6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 4 ขอ( 4คะแนน)

องคประกอบที ่7 การบริหารและการจัดการ

18 ตัวบงช้ี 7.1 ภาวะผูนําของสภาสถาบันและผูบริหารทุกระดับของสถาบัน 4 ขอ( 3คะแนน)

19 ตัวบงช้ี 7.2 การพฒันาสถาบันสูสถาบันเรียนรู 3 ขอ( 3คะแนน)

20 ตัวบงช้ี 7.3 ระบบสารสนเทศเพือ่การบริหารและการตัดสินใจ 4 ขอ( 4คะแนน)

21 ตัวบงช้ี 7.4 ระบบบริหารความเส่ียง 5 ขอ( 4คะแนน)

องคประกอบที ่8 การเงินและงบประมาณ

22 ตัวบงช้ี 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ 7 ขอ( 5คะแนน)

องคประกอบที ่9 ระบบและกลไกการประกนัคุณภาพ

23 ตัวบงช้ี 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 6 ขอ( 3คะแนน)

รวมตวัช้ีวัดของ สกอ.

การประกันคุณภาพตามนโยบายสถานศึกษา 3ดี (2 ตัวช้ีวัด)

องคประกอบที ่10 นโยบายสถานศึกษา 3ดี

24 ตัวบงช้ี 10.1 การบริหารจัดการสถานศึกษา 3ดี(3D) 4 ขอ( 2คะแนน)

25 ตัวบงช้ี 10.2 ผลที่เกิดกับผูเรียนตามนโยบาย 3ดี มีความรู เจตนคติทีดี่ตลอดจนเกิด

พฤติกรรมตามคุณลักษณะท่ีพึงประสงคทั้ง 3 ดาน

3 ดาน ( 3 คะแนน)

การประกันคุณภาพอัตลักษณมหาวทิยาลัย(4 ตัวช้ีวัด)

องคประกอบที่ 11 ความสําเรจ็ในการประกันคุณภาพอัตลักษณของมหาวทิยาลัย 4 ดาน

26 ตัวบงช้ี 11.1 ระดับความสําเร็จของการไดรับการยอมรับทางวิชาการของสาขาที่เปนอัต

ลักษณในระดับภมิูภาคอาเซียนดานการศึกษาปฐมวยั ระดับ 3 ( 3 คะแนน)

Page 184: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

179

ลําดับ องคประกอบคุณภาพและตัวบงช้ี (สกอ.) คาเปาหมาย

27 ตัวบงช้ี 11.2 ระดับความสําเร็จของการไดรับการยอมรับทางวชิาการของสาขาที่เปนอัต

ลักษณในระดับภมิูภาคอาเซียนดานอุตสาหกรรมอาหาร ระดับ 3 ( 3 คะแนน)

28 ตัวบงช้ี 11.3 ระดับความสําเร็จของการไดรับการยอมรับทางวชิาการของสาขาที่เปนอัต

ลักษณในระดับภมิูภาคอาเซียนดานอุตสาหกรรมบริการ ระดับ 3 ( 3 คะแนน)

29 ตัวบงช้ี 11.4 ระดับความสําเร็จของการไดรับการยอมรับทางวชิาการของสาขาที่เปนอัต

ลักษณในระดับภมิูภาคอาเซียนดานพยาบาลศาสตร ระดับ 3 ( 3 คะแนน)

การประกันคุณภาพการดําเนนิโครงการตามพระราชดําริ (1 ตัวบงช้ี)

องคประกอบที่ 12 การประกนัคุณภาพการดาํเนินโครงการตามพระราชดําร ิ(1 ตัวบงช้ี)

30 ตัวบงช้ี 12.1 ระดับความสําเร็จการประกันคุณภาพการดําเนินโครงการตามพระราชดําริ รอการพัฒนาเกณฑ

การประกันคุณภาพดานส่ิงแวดลอมชุมชน (1 ตัวช้ีวัด)

องคประกอบที่ 13 การประกนัคุณภาพดานส่ิงแวดลอมชุมชน (1 ตัวบงช้ี)

31 ตัวบงช้ี 13.1 ระดบัความสําเร็จการประกนัคุณภาพดานส่ิงแวดลอมชุมชน รอการพัฒนาเกณฑ

การประกันคุณภาพอัตลักษณหนวยงาน (..... ตัวช้ีวัด) (ถามี)

องคประกอบที่ 14 ............................................ (........... ตัวบงช้ี)

32 ตัวบงช้ี 14.1 ..............................

Page 185: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

180

รายละเอียดตัวบงช้ีที่ดําเนินการประกันคุณภาพภายนอก

ลําดับ ตัวบงชี้ที่ (สมศ.) คาเปาหมาย

ดานคุณภาพบัณฑิต

1 ตัวบงชี้ที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป 4 คะแนน

2 ตัวบงชี้ที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาติ

4 คะแนน

3 ตัวบงช้ีที่ 3 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือ

เผยแพร

4 คะแนน

4 ตัวบงชี้ที่ 4 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ไดรับการตีพิมพ 4 คะแนน

ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค

5 ตัวบงชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร 4 คะแนน

6 ตัวบงชี้ที่ 6 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน 4 คะแนน

7 ตัวบงชี้ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพ 4 คะแนน

8 ตัวบงช้ีที่ 8 การนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการ

พัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย

4 คะแนน

9 ตัวบงชี้ที่ 9 การเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือองคการภายนอก 4 คะแนน

ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

10 ตัวบงชี้ที่ 10 การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม 4 คะแนน

11 ตัวบงชี้ที่ 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม 4 คะแนน

ดานการบริหารและการพัฒนาสถาบัน

12 ตัวบงชี้ที่ 12 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบัน 4 คะแนน

13 ตัวบงชี้ที่ 13 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารสถาบัน 4 คะแนน

14 ตัวบงชี้ที่ 14 การพัฒนาคณาจารย 4 คะแนน

ดานการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน

15 ตัวบงชี้ที่ 15 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด 4 คะแนน

16 ตัวบงชี้ที่ 16 ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงค

ของการจัดต้ังสถาบัน

4 คะแนน

17 ตัวบงชี้ที่ 17 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกอักษณ

ของสถาบัน

4 คะแนน

18 ตัวบงชี้ที่ 18 ผลการชี้นําและ/หรือแกปญหาสังคมในดานตางๆ 4 คะแนน

Page 186: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

181

แผนดํางานการประกนัคุณภาพการศกึษา ประจําปการศึกษา 2553 (พ.ศ.2554)

(ทุกหนวยงานตองยึดตามกรอบเวลาน้ี โดยอาจปรับรายละเอียดใหเปนของหนวยงาน) 1. การพัฒนาคุณภาพ 1.1 จัดทําแผนปรับปรุงคุณภาพ และ จัดทําแผนงานประกันคุณภาพ ของหนวยงาน

- สิงหาคม 2553 –กันยายน 2553 ทุกหนวยงานประชุม ทบทวน ผลการปรเมิน

ปการศึกษาท่ีผานมา และจัดทําแผนงานตางๆ

- ภายในวันที่ 30 กันยายน 2553 สงกลุมงานประกัน

- ตุลาคม 2553 ทุกหนวยงานประชาสัมพันธ ชี้แจงบุคลากรเก่ียวกับตัว

บงชี้และเกณฑประเมินคุณภาพปรับปรุงใหม

มาตรฐาน ตัวบงชี้คาเปาหมายและแผนงานประกัน

คุณภาพของหนวยงาน

1.2 หนวยงานดําเนินงานตามพันธกิจและแผนงานตางๆท่ีจัดทําไว

- มิถุนายน 2553 -พฤษภาคม 2554 2. การติดตามตรวจสอบคุณภาพ 2.1 การเตรียมการเพ่ือรองรับการติดตามคุณภาพ 2.1.1 จัดทํารางประเมินตนเอง (SAR) หนวยงานรอบ 6 เดือน

- พฤศจิกายน 2553 - ทุกหนวยงานจัดทําราง SAR รอบ 6 เดือน

- วิพากษ ทบทวน ราง SAR รอบ 6 เดือน

- 1 ธันวาคม 2553 - ทุกหนวยงานจัดสงเลมพรอมไฟล DOC

SAR รอบ 6 เดือน

2.1.2 จัดทํารางประเมินตนเอง (SAR) หนวยงานรอบ 9 เดือน

- กุมภาพันธ 2554 - ทุกหนวยงานปรับปรุงราง SAR 6 เดือนเปน 9 เดือน

- วิพากษ ทบทวน ราง SAR รอบ 9 เดือน

- 1 มีนาคม 2554 - ทุกหนวยงานจัดสงเลมพรอมไฟล DOC

SAR รอบ 9 เดือน 2.2 ดําเนินการติดตามคณุภาพ 2.2.1 ติดตามความกาวหนาการประกันคุณภาพของหนวยงาน รอบ 6 เดือน

- ธันวาคม 2553 ทุกหนวยงานดําเนินการติดตาม

- วันที่ 30 ธันวาคม 2553 สงผลกลุมงานประกันฯ

2.2.2 ติดตามความกาวหนาการประกันคุณภาพของหนวยงาน รอบ 9 เดือน

- 1 ถึง 15 มีนาคม 2554 ทุกหนวยงานดําเนินการติดตาม

- 1 เมษายน 2554 สงผลกลุมงานประกันฯ

Page 187: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

182

2.3 คณะกรรมการติดตาม หนวยงานแตงต้ังคณะกรรมการติดตาม จากบุคลากรของหนวยงานเอง หรือ จากหนวยงาน

อื่นที่ผานหลักสูตรผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของ สกอ. โดยคํานึงถึงประโยชนที่หนวยงาน

จะไดรับจากคณะกรรมการติดตามคุณภาพที่แตงต้ังขึ้น จํานวนตามที่เห็นเหมาะสม กําหนด

วัน เวลา ใหอยูในกรอบเวลาที่กําหนด และ จัดเตรียมเอกสารที่จําเปนในการใชประกอบการ

ติดตามของคณะกรรมการใหครบถวนสมบูรณ 3. การประเมินคุณภาพ 3.1 การเตรียมการเพ่ือการตรวจประเมินคุณภาพ 3.1.1 การเตรียมคณะกรรมการ 1 มีนาคม 2554 จัดสงรายช่ือคณะกรรมการตรวจประเมินภายในใหกลุมงานประกันฯ 3.1.2 การจัดทํา SAR และไฟลหลักฐาน PDF

กิจกรรม วัน เดือน ป หนวยงาน

1-20 พฤษภาคม 2554 หลักสูตร/ศูนย/สํานัก/สถาบัน/

โรงเรียน/คณะ

จัดทําราง SAR

ประจําปการศึกษา 2553

20-30 มิถุนายน 2554 ระดับมหาวิทยาลัย/กลุมงานประกัน

3.1.3 วิพากษ SAR

กิจกรรม วัน เดือน ป หนวยงาน

วิพากษ+ปรับปรุง SAR 21 - 31 พฤษภาคม 2554 หลักสูตร/ศูนย/สํานัก/สถาบัน/

โรงเรียน/คณะ

วิพากษ-ปรับปรุง ราง SAR (1) 1-5 กรกฎาคม 2554 ระดับมหาวิทยาลัย/กลุมงานประกัน

วิพากษ-ปรับปรุง ราง SAR (2) 5-10 กรกฎาคม 2554 ระดับมหาวิทยาลัย/กลุมงานประกัน

นําเสนอ คบม. กรกฎาคม 2554 ระดับมหาวิทยาลัย/กลุมงานประกัน

วิพากษ-ปรับปรุง ราง SAR (3) กรกฎาคม 2554 ระดับมหาวิทยาลัย/กลุมงานประกัน

นําเสนอ สภาฯ กรกฎาคม 2554 ระดับมหาวิทยาลัย/กลุมงานประกัน

ตรวจสอบหลักฐานอางอิง 1-5 สิงหาคม 2554 ระดับมหาวิทยาลัย/กลุมงานประกัน

3.1.4 สงเลม SAR ใหกลุมงานประกัน จํานวนเทากับ จํานวนกรรมการ +1

กิจกรรม วัน เดือน ป หนวยงาน

สงเลม SAR

จํานวน = จํานวนกรรมการ +1

พรอมไฟล DOC ของ SAR

และไฟลหลักฐาน PDF

1 มิถุนายน 2554 หลักสูตร/ศูนย/สํานัก/สถาบัน/

โรงเรียน/คณะ

Page 188: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

183

3.2 การตรวจประเมินคุณภาพ 3.2.1 ตรวจประเมินระดับหนวยงาน

กิจกรรม วัน เดือน ป หนวยงาน

10 - 30 มิถุนายน 2554

5 กรกฎาคม 2554

หลักสูตร/ศูนย/สํานัก/สถาบัน/

โรงเรียน/คณะ

สงรายงานผล พรอมไฟล DOC

3.2.2 ตรวจประเมินระดับมหาวิทยาลัย

กิจกรรม วัน เดือน ป หนวยงาน

รับการตรวจประเมิน สิงหาคม 2554 มหาวิทยาลัย

จําทํารายงานประจําปผลการตรวจ

ประเมินคุณภาพฯ

สิงหาคม-กันยายน 2554 กลุมงานประกันคุณภาพ

จัดสงรายงานผลการตรวจประเมิน

คุณภาพให สกอ.

25-30 กันยายน 2554 กลุมงานประกันคุณภาพ

3.2.3 การทบทวนผลประเมิน จัดทํา 1.) แผนปรับปรุงคุณภาพ 2.) แผนงานประกันคุณภาพ และ 3.) แผนปฏิบัติราชการ

กิจกรรม วัน เดือน ป หนวยงาน

ประชุมทบทวนผลการตรวจประเมิน

และจัดทําแผนทุกแผน สิงหาคม-กันยายน 2554 ทุกหนวยงาน

จัดสงแผนปรับปรุงคุณภาพและ

แผนงานประกันฯ ใหกลุมงานประกัน

จัดสงแผนปฏิบัติราชการ ใหกอง

นโยบายและแผน

30 กันยายน 2554 ทุกหนวยงาน

หมายเหต ุ กรอบเวลาน้ีอาจมีการปรับเปล่ียนไดตามความเหมาะสม

Page 189: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

184

Page 190: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

185

Page 191: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

186

Page 192: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

187

รางตัวบงชี้ในการประกันคุณภาพภายใน ปการศกึษา 2553 ระดับหนวยงาน (ระดับมหาวทิยาลัยประกนัคุณภาพครบทุกตัวบงชี้)

ลําดับ

ตัวชี้วัด

คณะค

รุศาส

ตร

คณะม

นษุยฯ

คณะวิทย

าการจดั

การ

คณะวิทย

าศาส

ตรฯ

คณะพ

ยาบา

ลฯ

บัณฑิตวิ

ทยาลั

โรงเรีย

นการเรือน

โรงเรีย

นการทอ

งเทีย่

ศูนยสุ

พรรณ

บุร ี

ศูนยห

ัวหนิ

ศูนยต

รงั

ศูนยพิ

ษณุโลก

ศูนยลํ

าปาง

ศูนยน

ครนา

ยก

สํานกั

งานอ

ธกิารบด

สํานกั

วิทยบ

ริการฯ

สํานกั

สงเสรมิ

วิชาก

ารฯ

สถาบั

นภาษ

าฯ

สถาบั

นวิจัย

สํานกั

กิจกา

รพิเศษ

หลักสู

ตรทุก

หลักสู

ตร

ตัวชี้วัดประกันคุณภาพของ สกอ. (23 ตัวชี้วัด)

องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

1 ตัวบงชี้ที่ 1 กระบวนการพัฒนาแผน

องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

2 ตัวบงชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนา

และบริหารหลักสูตร

3 ตัวบงชี้ที่ 2.2 อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิ

ปริญญาเอก

4 ตัวบงชี้ที่ 2.3 อาจารยประจําที่ดํารง

ตําแหนงทางวิชาการ

5 ตัวบงชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย

และบุคลากรสายสนับสนุน

Page 193: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

188

ลําดับ

ตัวชี้วัด

คณะค

รุศาส

ตร

คณะม

นษุยฯ

คณะวิทย

าการจดั

การ

คณะวิทย

าศาส

ตรฯ

คณะพ

ยาบา

ลฯ

บัณฑิตวิ

ทยาลั

โรงเรีย

นการเรือน

โรงเรีย

นการทอ

งเทีย่

ศูนยสุ

พรรณ

บุร ี

ศูนยห

ัวหนิ

ศูนยต

รงั

ศูนยพ

ิษณุโลก

ศูนยลํ

าปาง

ศูนยน

ครนา

ยก

สํานกั

งานอ

ธกิารบด

สํานกั

วิทยบ

ริการฯ

สํานกั

สงเสรมิ

วิ ชาก

ารฯ

สถาบั

นภาษ

าฯ

สถาบั

นวิจัย

สํานกั

กิจกา

รพิเศษ

หลักสู

ตรทุก

หลักสู

ตร

6 ตัวบงชี้ที่ 2.5 หองสมุด อุปกรณการศึกษา

และสภาพแวดลอมการเรียนรู

7 ตัวบงชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการ

เรียนการสอน

8 ตัวบงชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนา

สัมฤทธิ์ผลการเรียนตามคุณลักษณะของ

บัณฑิต

9 ตัวบงชี้ที่ 2.8 ระดับความสําเร็จของการ

เสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมที่จัดใหกับ

นักศึกษา

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

10 ตัวบงชี้ 3.1 ระบบและกลไกการให

คําปรึกษาและการบริการดานขอมูล

11 ตัวบงชี้ 3.2 ระบบและกลไกการสงเสริม

กิจกรรมนักศึกษา

องคประกอบที่ 4 การวิจัย

12 ตัวบงชี้ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนา

งานวิจัยหรืองานสรางสรรค

Page 194: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

189

ลําดับ

ตัวชี้วัด

คณะค

รุศาส

ตร

คณะม

นษุยฯ

คณะวิทย

าการจดั

การ

คณะวิทย

าศาส

ตรฯ

คณะพ

ยาบา

ลฯ

บัณฑิตวิ

ทยาลั

โรงเรีย

นการเรือน

โรงเรีย

นการทอ

งเทีย่

ศูนยสุ

พรรณ

บุร ี

ศูนยห

ัวหนิ

ศูนยต

รงั

ศูนยพ

ิษณุโลก

ศูนยลํ

าปาง

ศูนยน

ครนา

ยก

สํานกั

งานอ

ธกิารบด

สํานกั

วิทยบ

ริการฯ

สํานกั

สงเสรมิ

วิ ชาก

ารฯ

สถาบั

นภาษ

าฯ

สถาบั

นวิจัย

สํานกั

กิจกา

รพิเศษ

หลักสู

ตรทุก

หลักสู

ตร

13 ตัวบงชี้ 4.2 ระบบและกลไกจัดการความรู

จากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค

14 ตัวบงชี้ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน

สรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและ

นักวิจัย

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม

15 ตัวบงชี้ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทาง

วิชาการแกสังคม

16 ตัวบงชี้ 5.2 กระบวนการบริการทาง

วิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม

องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศลิปะและวัฒนธรรม

17 ตัวบงชี้ 6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุง

ศิลปะและวัฒนธรรม

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

18 ตัวบงชี้ 7.1 ภาวะผูนําของสภาสถาบัน

และผูบริหารทุกระดับของสถาบัน

Page 195: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

190

ลําดับ

ตัวชี้วัด

คณะค

รุศาส

ตร

คณะม

นษุยฯ

คณะวิทย

าการจดั

การ

คณะวิทย

าศาส

ตรฯ

คณะพ

ยาบา

ลฯ

บัณฑิตวิ

ทยาลั

โรงเรีย

นการเรือน

โรงเรีย

นการทอ

งเทีย่

ศูนยสุ

พรรณ

บุร ี

ศูนยห

ัวหนิ

ศูนยต

รงั

ศูนยพ

ิษณุโลก

ศูนยลํ

าปาง

ศูนยน

ครนา

ยก

สํานกั

งานอ

ธกิารบด

สํานกั

วิทยบ

ริการฯ

สํานกั

สงเสรมิ

วิ ชาก

ารฯ

สถาบั

นภาษ

าฯ

สถาบั

นวิจัย

สํานกั

กิจกา

รพิเศษ

หลักสู

ตรทุก

หลักสู

ตร

19 ตัวบงชี้ 7.2 การพัฒนาสถาบันสูสถาบัน

เรียนรู

20 ตัวบงชี้ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการ

บริหารและการตัดสินใจ

21 ตัวบงชี้ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง

องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

22 ตัวบงชี้ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและ

งบประมาณ

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

23 ตัวบงชี้ 9.1 ระบบและกลไกการประกัน

คุณภาพการศึกษาภายใน

ตัวชี้วดัประกันคุณภาพตามนโยบายสถานศึกษา 3ด ี (2 ตัวชี้วัด)

องคประกอบที่ 10 นโยบายสถานศึกษา 3ด ี

24 ตัวบงชี้ 10.1 การบริหารจัดการ

สถานศึกษา 3ดี(3D)

Page 196: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

191

ลําดับ

ตัวชี้วัด

คณะค

รุศาส

ตร

คณะม

นษุยฯ

คณะวิทย

าการจดั

การ

คณะวิทย

าศาส

ตรฯ

คณะพ

ยาบา

ลฯ

บัณฑิตวิ

ทยาลั

โรงเรีย

นการเรือน

โรงเรีย

นการทอ

งเทีย่

ศูนยสุ

พรรณ

บุร ี

ศูนยห

ัวหนิ

ศูนยต

รงั

ศูนยพ

ิษณุโลก

ศูนยลํ

าปาง

ศูนยน

ครนา

ยก

สํานกั

งานอ

ธกิารบด

สํานกั

วิทยบ

ริการฯ

สํานกั

สงเสรมิ

วิ ชาก

ารฯ

สถาบั

นภาษ

าฯ

สถาบั

นวิจัย

สํานกั

กิจกา

รพิเศษ

หลักสู

ตรทุก

หลักสู

ตร

25 ตัวบงชี้ 10.2 ผลที่เกิดกับผูเรียนตาม

นโยบาย 3ดี มีความรู เจตนคติที่ดี

ตลอดจนเกิดพฤติกรรมตามคุณลักษณะที่

พึงประสงคทั้ง3ดาน

ตัวชี้วดัประกันคุณภาพอัตลักษณืมหาวิทยาลัย (6 ตัวชี้วดั)

องคประกอบที่ 11 ความสําเร็จในการประกันคุณภาพอัตลักษณของมหาวิทยาลัย

26 ตัวบงชี้ที่ 11.1 ระดับความสําเร็จของการ

ดําเนินงานตามอัตลักษณดานการศึกษา

ปฐมวัย

*

27 ตัวบงชี้ที่ 11.2 ระดับความสําเร็จของการ

ดําเนินงานตามสาขาวิชาอุตสาหกรรม

อาหาร

*

28 ตัวบงชี้ที่ 11.3 ระดับความสําเร็จของการ

ดําเนินงานตามอัตลักษณดาน

อุตสาหกรรมทองเที่ยวและบริการ

*

Page 197: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

192

ลําดับ

ตัวชี้วัด

คณะค

รุศาส

ตร

คณะม

นษุยฯ

คณะวิทย

าการจดั

การ

คณะวิทย

าศาส

ตรฯ

คณะพ

ยาบา

ลฯ

บัณฑิตวิ

ทยาลั

โรงเรีย

นการเรือน

โรงเรีย

นการทอ

งเทีย่

ศูนยสุ

พรรณ

บุร ี

ศูนยห

ัวหนิ

ศูนยต

รงั

ศูนยพ

ิษณุโลก

ศูนยลํ

าปาง

ศูนยน

ครนา

ยก

สํานกั

งานอ

ธกิารบด

สํานกั

วิทยบ

ริการฯ

สํานกั

สงเสรมิ

วิ ชาก

ารฯ

สถาบั

นภาษ

าฯ

สถาบั

นวิจัย

สํานกั

กิจกา

รพิเศษ

หลักสู

ตรทุก

หลักสู

ตร

29 ตัวบงชี้ที่ 11.4 ระดับความสําเร็จของการ

ดําเนินตามอัตลักษณดานพยาบาลศาสตร * 30 ตัวบงชี้ที่ 11.5 ระดับความสําเร็จของการ

สงเสริมและสืบสานโครงการอัน

เนื่องมาจากแนวพระราชดําริ

31 ตัวบงชี้ 11.6 ระดับความสําเร็จของการ

ดําเนินงานดานสิ่งแวดลอม * หมายเหตุ ตัวบงชี้อัตลักษณหนวยงาน

อื่นๆเลือกตามความสมัครใจหรือพัฒนา

ตัวบงชี้อัตลักษณของตัวเอง

Page 198: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

193

ลําดับ

ตัวชี้วัด

คณะค

รุศาส

ตร

คณะม

นษุยฯ

คณะวิทย

าการจดั

การ

คณะวิทย

าศาส

ตรฯ

คณะพ

ยาบา

ลฯ

บัณฑิตวิ

ทยาลั

โรงเรีย

นการเรือน

โรงเรีย

นการทอ

งเทีย่

ศูนยสุ

พรรณ

บุร ี

ศูนยห

ัวหนิ

ศูนยต

รงั

ศูนยพ

ิษณุโลก

ศูนยลํ

าปาง

ศูนยน

ครนา

ยก

สํานกั

งานอ

ธกิารบด

สํานกั

วิทยบ

ริการฯ

สํานกั

สงเสรมิ

วิ ชาก

ารฯ

สถาบั

นภาษ

าฯ

สถาบั

นวิจัย

สํานกั

กิจกา

รพิเศษ

หลักสู

ตรทุก

หลักสู

ตร

ลําดับ ตัวชี้วัดประกันคุณภาพของ สมศ. (18 ตัวชี้วัด)

1. กลุมตัวบงชี้พื้นฐาน

ดานคุณภาพบัณฑิต 32 ตัวบงชี้ที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทํา

หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

33 ตัวบงชี้ที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญา

ตรี โท และเอกตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาติ

34 ตัวบงชี้ที่ 3 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษา

ระดับปริญญาโทที่ไดรับการตีพิมพหรือ

เผยแพร

35 ตัวบงชี้ที่ 4 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษา

ระดับปริญญาเอกที่ไดรับการตีพิมพหรือ

เผยแพร

ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค

36 ตัวบงชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่

ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

Page 199: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

194

ลําดับ

ตัวชี้วัด

คณะค

รุศาส

ตร

คณะม

นษุยฯ

คณะวิทย

าการจดั

การ

คณะวิทย

าศาส

ตรฯ

คณะพ

ยาบา

ลฯ

บัณฑิตวิ

ทยาลั

โรงเรีย

นการเรือน

โรงเรีย

นการทอ

งเทีย่

ศูนยสุ

พรรณ

บุร ี

ศูนยห

ัวหนิ

ศูนยต

รงั

ศูนยพ

ิษณุโลก

ศูนยลํ

าปาง

ศูนยน

ครนา

ยก

สํานกั

งานอ

ธกิารบด

สํานกั

วิทยบ

ริการฯ

สํานกั

สงเสรมิ

วิ ชาก

ารฯ

สถาบั

นภาษ

าฯ

สถาบั

นวิจัย

สํานกั

กิจกา

รพิเศษ

หลักสู

ตรทุก

หลักสู

ตร

37 ตัวบงชี้ที่ 6 งานวิจัยที่นําเอาไปใช

ประโยชน

38 ตัวบงชี้ที่ 7ผลงานวิชาการที่ไดรับการ

รับรองคุณภาพ

ดานการบริการวชิาการแกสังคม

39 ตัวบงชี้ที่ 8 ผลการนําความรูและ

ประสบการณจากการใหบริการวิชาการมา

ใชในการพัฒนการเรียนการสอนหรือการ

วิจัย

40 ตัวบงชี้ที่ 9 ผลการเรียนรูและเสริมสราง

ความเขมแข็งของชุมชนหรือองคกร

ภายนอก

ดานการทํานุบํารงุศิลปะและวัฒนธรรม

41 ตัวบงชี้ที่ 10 การสงเสริมและสนับสนุน

ดานศิลปะและวัฒนธรรม

42 ตัวบงชี้ที่ 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติ

ทางศิลปะและวัฒนธรรม

Page 200: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

195

ลําดับ

ตัวชี้วัด

คณะค

รุศาส

ตร

คณะม

นษุยฯ

คณะวิทย

าการจดั

การ

คณะวิทย

าศาส

ตรฯ

คณะพ

ยาบา

ลฯ

บัณฑิตวิ

ทยาลั

โรงเรีย

นการเรือน

โรงเรีย

นการทอ

งเทีย่

ศูนยสุ

พรรณ

บุร ี

ศูนยห

ัวหนิ

ศูนยต

รงั

ศูนยพ

ิษณุโลก

ศูนยลํ

าปาง

ศูนยน

ครนา

ยก

สํานกั

งานอ

ธกิารบด

สํานกั

วิทยบ

ริการฯ

สํานกั

สงเสรมิ

วิ ชาก

ารฯ

สถาบั

นภาษ

าฯ

สถาบั

นวิจัย

สํานกั

กิจกา

รพิเศษ

หลักสู

ตรทุก

หลักสู

ตร

ดานการบริหารและการพัฒนาสถาบัน

43 ตัวบงชี้ที่ 12 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่

ของสภาสถาบัน

44 ตัวบงชี้ที่ 13 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่

ของผูบริหารสถาบัน

45 ตัวบงชี้ที่ 14 การพัฒนาคณาจารย

ดานการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน

46 ตัวบงชี้ที่ 15 ผลการประเมินการประกัน

คุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด

2. กลุมตัวบงชี้อัตลักษณ

47*** ตัวบงชี้ที่ 16 ผลการพัฒนาใหบรรลุตาม

ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงค

ของการจัดตั้งสถาบัน ***

48 ตัวบงชี้ที่ 17 ผลการพัฒนาตามจุดเนน

และจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกลักษณ

ของสถาบัน

Page 201: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

196

ลําดับ

ตัวชี้วัด

คณะค

รุศาส

ตร

คณะม

นษุยฯ

คณะวิทย

าการจดั

การ

คณะวิทย

าศาส

ตรฯ

คณะพ

ยาบา

ลฯ

บัณฑิตวิ

ทยาลั

โรงเรีย

นการเรือน

โรงเรีย

นการทอ

งเทีย่

ศูนยสุ

พรรณ

บุร ี

ศูนยห

ัวหนิ

ศูนยต

รงั

ศูนยพ

ิษณุโลก

ศูนยลํ

าปาง

ศูนยน

ครนา

ยก

สํานกั

งานอ

ธกิารบด

สํานกั

วิทยบ

ริการฯ

สํานกั

สงเสรมิ

วิ ชาก

ารฯ

สถาบั

นภาษ

าฯ

สถาบั

นวิจัย

สํานกั

กิจกา

รพิเศษ

หลักสู

ตรทุก

หลักสู

ตร

3. กลุมตัวบงชี้มาตรการสงเสริม

49*** ตัวบงชี้ที่ 18 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือ

แกปญหาสังคมในดานตางๆ

หมายเหตุ *** ตัวบงชี้ 16 และ 18

น้ําหนักคะแนน เทากับ 10 คะแนน

นอกนั้นน้ําหนักคะแนน เทากับ 5 คะแนน

Page 202: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

197

(ราง)ผูรับผิดชอบ กํากับดูแล ในการจดัทํารายงานผลดําเนินการ/การตอบขอสงสัย ตัวบงชี้ในการประกันคุณภาพภายใน ปการศึกษา 2553 ระดับมหาวทิยาลัยประกอบดวยมาตรฐานประกันคุณภาพภายใน(สกอ). 23 ตัวบงชี้ ภายนอก(สมศ.) 18 ตัวบงชี้

อัตลักษณ 6 ตัวบงชี้ และ 3 ดี 2 ตัวบงชี้ รวม 49 ตัวบงชี ้ลําดับ ตัวชี้วัดประกันคุณภาพของ สกอ. (23 ตัวชี้วัด) ผูรับผิดชอบตัวบงชี้ ในการจัดทํารายงานผลดําเนินการ และ

การตอบขอซักถาม คาเปาหมาย หมายเหตุ

องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนนิการ

1 ตัวบงชี้ที่ 1 กระบวนการพัฒนาแผน ผูอํานวยการกองนโยบายและแผน 6/8 ขอ( 4คะแนน)

องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

2 ตัวบงชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ผูอํานวยการสํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน 5/6 ขอ( 5คะแนน)

3 ตัวบงชี้ที่ 2.2 อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ผูอํานวยการกองบริหารงานบุคคล วุฒิ ป.เอก รอยละ 18/30 (1.5 คะแนน)

4 ตัวบงชี้ที่ 2.3 อาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ ผูอํานวยการกองบริหารงานบุคคล ผลรวมตําแหนงวิชาการ รอยละ 18/60 (1.5 คะแนน)

5 ตัวบงชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน ผูอํานวยการกองบริหารงานบุคคล 3/7 ขอ (3 คะแนน)

6 ตัวบงชี้ที่ 2.5 หองสมุด อุปกรณการศึกษา และสภาพแวดลอมการเรียนรู ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ,

ผูอํานวยการกองอาคารสถานที่ *

4/7 ขอ (3 คะแนน) (****)

Page 203: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

198

ลําดับ ตัวชี้วัดประกันคุณภาพของ สกอ. (23 ตัวชี้วัด) ผูรับผิดชอบตัวบงชี้ ในการจัดทํารายงานผลดําเนินการ และ การตอบขอซักถาม

คาเปาหมาย หมายเหตุ

7 ตัวบงชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน รองอธิการบดีฝายวิชาการ,คณบดีทุกคณะ,ผูอํานวยการศูนย

การศึกษาทุกศูนย

7/7 ขอ( 5คะแนน)

8 ตัวบงชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิ์ผลการเรียนตาม

คุณลักษณะของบัณฑิต

รองอธิการบดีฝายวิชาการ,คณบดีทุกคณะ,ผูอํานวยการศูนย

การศึกษาทุกศูนย

4/5 ขอ( 4คะแนน)

9 ตัวบงชี้ที่ 2.8 ระดับความสําเร็จของการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมที่จัด

ใหกับนักศึกษา

รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษา,ผูอํานวยการกองพัฒนานักศึกษา 3/5 ขอ (3 คะแนน)

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

10 ตัวบงชี้ 3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและการบริการดานขอมูล รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษา,ผูอํานวยการกองพัฒนานักศึกษา 6/7 ขอ (4 คะแนน)

11 ตัวบงชี้ 3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษา,ผูอํานวยการกองพัฒนานักศึกษา 5/6 ขอ( 4คะแนน)

องคประกอบที่ 4 การวิจัย

12 ตัวบงชี้ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค รองอธิการบดีฝายวิจัยและพัฒนา,ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและ

พัฒนา

6/7 ขอ( 4คะแนน)

13 ตัวบงชี้ 4.2 ระบบและกลไกจัดการความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค รองอธิการบดีฝายวิจัยและพัฒนา,ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและ

พัฒนา

4/5 ขอ (4 คะแนน)

Page 204: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

199

ลําดับ ตัวชี้วัดประกันคุณภาพของ สกอ. (23 ตัวชี้วัด) ผูรับผิดชอบตัวบงชี้ ในการจัดทํารายงานผลดําเนินการ และ

การตอบขอซักถาม คาเปาหมาย

หมายเหตุ

14 ตัวบงชี้ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารย

ประจําและนักวิจัย

รองอธิการบดีฝายวิจัยและพัฒนา,ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและ

พัฒนา

ระดับมหาวิทยาลัยเฉลี่ย 4 คะแนน ระดับหนวยงานเทียบเปนจํานวนเงินตามกลุมสาขา

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม

15 ตัวบงชี้ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม รองอธิการบดีฝายวิชาการ,คณบดีทุกคณะ,ผูอํานวยการศูนย

การศึกษาทุกศูนย

4/5 ขอ( 4คะแนน)

16 ตัวบงชี้ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม รองอธิการบดีฝายวิชาการ,คณบดีทุกคณะ,ผูอํานวยการศูนย

การศึกษาทุกศูนย

4/5 ขอ( 4คะแนน)

องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรม

17 ตัวบงชี้ 6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรม รองอธิการบดีฝายวิจัยและพัฒนา,ผูอํานวยการสถาบันภาษา ศิลปะ

และวัฒนธรรม

4/6 ขอ( 4คะแนน)

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

18 ตัวบงชี้ 7.1 ภาวะผูนําของสภาสถาบันและผูบริหารทุกระดับของสถาบัน ผูชวยอธิการบดีฝายงานเลขานุการและการประชุม,ผูอํานวยการ

สํานักงานอธิการบดี

4/7 ขอ( 3คะแนน) (****)

19 ตัวบงชี้ 7.2 การพัฒนาสถาบันสูสถาบันเรียนรู ผูอํานวยการโครงการหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการ

จัดการความรู (KM)

3/5 ขอ( 3คะแนน) (****)

Page 205: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

200

ลําดับ ตัวชี้วัดประกันคุณภาพของ สกอ. (23 ตัวชี้วัด) ผูรับผิดชอบตัวบงชี้ ในการจัดทํารายงานผลดําเนินการ และ การตอบขอซักถาม

คาเปาหมาย หมายเหตุ

20 ตัวบงชี้ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 4/5 ขอ( 4คะแนน)

21 ตัวบงชี้ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง หัวหนากลุมงานตรวจสอบภายใน * 5/6 ขอ( 4คะแนน) (****)

องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

22 ตัวบงชี้ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ผูอํานวยการกองคลัง 7/7 ขอ( 5 คะแนน)

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

23 ตัวบงชี้ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน รศ.เทื้อน ทองแกว,หัวหนากลุมงานประกันคุณภาพ 6/9 ขอ( 3คะแนน)

ตัวชี้วัดประกันคุณภาพตามนโยบายสถานศึกษา 3ดี (2 ตัวชี้วัด)

องคประกอบที่ 10 นโยบายสถานศึกษา 3ดี

24 ตัวบงชี้ 10.1 การบริหารจัดการสถานศึกษา 3ดี(3D) รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษา,ผูอํานวยการกองพัฒนานักศึกษา 4/5 ขอ( 3 คะแนน)

25 ตัวบงชี้ 10.2 ผลที่เกิดกับผูเรียนตามนโยบาย 3ดี มีความรู เจตนคติที่ดี

ตลอดจนเกิดพฤติกรรมตามคุณลักษณะที่พึงประสงคทั้ง3ดาน รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษา,ผูอํานวยการกองพัฒนานักศึกษา

3/3 ดาน ( 3 คะแนน)

ตัวชี้วัดประกันคุณภาพอัตลักษณืมหาวิทยาลัย (6 ตัวชี้วัด)

องคประกอบที่ 11 ความสําเร็จในการประกันคุณภาพอัตลักษณของมหาวิทยาลัย

26 ตัวบงชี้ที่ 11.1 ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานตามอัตลักษณดาน

การศึกษาปฐมวัย

คณบดีคณะครุศาสตร 5/8 ขอ (3 คะแนน)

27 ตัวบงชี้ที่ 11.2 ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานตามสาขาวิชา

อุตสาหกรรมอาหาร

คณบดีโรงเรียนการเรือน 4/6 ขอ (3 คะแนน)

Page 206: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

201

ลําดับ ตัวชี้วัดประกันคุณภาพของ สกอ. (23 ตัวชี้วัด) ผูรับผิดชอบตัวบงชี้ ในการจัดทํารายงานผลดําเนินการ และ

การตอบขอซักถาม คาเปาหมาย หมายเหตุ

28 ตัวบงชี้ที่ 11.3 ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานตามอัตลักษณดาน

อุตสาหกรรมทองเที่ยวและบริการ

โรงเรียนการทองเที่ยวและการบริการ 3/8 ขอ (3 คะแนน) 28

29 ตัวบงชี้ที่ 11.4 ระดับความสําเร็จของการดําเนินตามอัตลักษณดาน

พยาบาลศาสตร

คณบดีคณะพยาบาลศาสตร 3/5 ขอ (3 คะแนน) 29

30 ตัวบงชี้ที่ 11.5 ระดับความสําเร็จของการสงเสริมและสืบสานโครงการอัน

เนื่องมาจากแนวพระราชดําริ

ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 4/6 ขอ (4 คะแนน) 30

31 ตัวบงชี้ 11.6 ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอม ผูอํานวยการศูนยสิ่งแวดลอม 4/6 ขอ (3 คะแนน) 31

Page 207: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

202

ลําดับ ตัวชี้วัดประกันคุณภาพของ สมศ. (18 ตัวชี้วัด) ผูรับผิดชอบตัวบงชี้ ในการจัดทํารายงานผลดําเนินการ และ การตอบขอซักถาม

คาเปาหมาย หมายเหตุ

1. กลุมตัวบงชี้พื้นฐาน ดานคุณภาพบัณฑิต

32 ตัวบงชี้ที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1

รองอธิการบดีฝายวิจัยและพัฒนา,สถาบันวิจัยและพัฒนา รอยละ 80 (4 คะแนน)

32

33 ตัวบงชี้ที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอกตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาติ

**** ยังไมมีบัณฑิต ในหลักสูตรภายใตกรอบมาตรฐาน TQF**** - 33

34 ตัวบงชี้ที่ 3 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ไดรับการตีพิมพ

หรือเผยแพร

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย,ผูอํานวยการครงการหลักสูตรวิทยาศาสตร

มหาบัณฑิตสาขาการจัดการความรู (KM)

คะแนนเฉลี่ยเทากับ 4 คะแนน

34

35 ตัวบงชี้ที่ 4 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ไดรับการ

ตีพิมพหรือเผยแพร

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย รอยละ 80 (4 คะแนน)

35

ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค

36 ตัวบงชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร รองอธิการบดีฝายวิจัยและพัฒนา,ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและ

พัฒนา

รอยละ 40 (4 คะแนน)

37 ตัวบงชี้ที่ 6 งานวิจัยที่นําเอาไปใชประโยชน รองอธิการบดีฝายวิจัยและพัฒนา,ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและ

พัฒนา

รอยละ 16 (4 คะแนน)

38 ตัวบงชี้ที่ 7ผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพ รองอธิการบดีฝายวิจัยและพัฒนา,ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและ

พัฒนา

รอยละ 8 (4 คะแนน)

Page 208: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

203

ลําดับ ตัวชี้วัดประกันคุณภาพของ สมศ. (18 ตัวชี้วัด) ผูรับผิดชอบตัวบงชี้ ในการจัดทํารายงานผลดําเนินการ และ การตอบขอซักถาม

คาเปาหมาย หมายเหตุ

ดานการบริการวิชาการแกสังคม

39 ตัวบงชี้ที่ 8 ผลการนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมา

ใชในการพัฒนการเรียนการสอนหรือการวิจัย

รองอธิการบดีฝายวิชาการ,รองอธิการบดีฝายวิจัยและพัฒนา,คณบดี

ทุกคณะ,ผูอํานวยการศูนยการศึกษาทุกศูนย,ผูอํานวยการ

สถาบันวิจัยและพัฒนา

4 ขอ (4 คะแนน)

40 ตัวบงชี้ที่ 9 ผลการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือองคกร

ภายนอก

รองอธิการบดีฝายวิชาการ,คณบดีทุกคณะ,ผูอํานวยการศูนย

การศึกษาทุกศูนย *

4 ขอ (4 คะแนน) (****)

ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

41 ตัวบงชี้ที่ 10 การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม รองอธิการบดีฝายวิจัยและพัฒนา,ผูอํานวยการสถาบันภาษา ศิลปะ

และวัฒนธรรม

4 ขอ (4 คะแนน)

42 ตัวบงชี้ที่ 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม รองอธิการบดีฝายวิจัยและพัฒนา,ผูอํานวยการสถาบันภาษา ศิลปะ

และวัฒนธรรม,ผูอํานวยการกองอาคารสถานที่

4 ขอ (4 คะแนน)

ดานการบริหารและการพัฒนาสถาบัน

43 ตัวบงชี้ที่ 12 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบัน ??? (ขอคําแนะนําผูบริหารทุกทาน เสนอะแนะผูรับผิดชอบ) ผลประเมิน= 4 (4 คะแนน)

44 ตัวบงชี้ที่ 13 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารสถาบัน ผูอํานวยการสํานักงานอธิการบดี * ผลประเมิน= 4 (4 คะแนน)

(***)

45 ตัวบงชี้ที่ 14 การพัฒนาคณาจารย ผูอํานวยการกองบริหารงานบุคคล ดัชนีคุณภาพ 4.8 (4 คะแนน)

Page 209: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

204

ลําดับ ตัวชี้วัดประกันคุณภาพของ สมศ. (18 ตัวชี้วัด) ผูรับผิดชอบตัวบงชี้ ในการจัดทํารายงานผลดําเนินการ และ การตอบขอซักถาม

คาเปาหมาย หมายเหตุ

ดานการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน

46 ตัวบงชี้ที่ 15 ผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด รศ.เทื้อน ทองแกว , หัวหนากลุมงานประกันคุณภาพ ผลประเมิน(สกอ.) 4.0 (4 คะแนน)

2. กลุมตัวบงชี้อัตลักษณ

47*** ตัวบงชี้ที่ 16 ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและ

วัตถุประสงคของการจัดตั้งสถาบัน ***

รองอธิการบดีฝายวิชาการ,รองอธิการบดีฝายกิจการศูนยการศึกษา

,คณบดีทุกคณะ,ผูอํานวยการกองนโยบายและแผน,ผูอํานวยการ

สถาบันวิจัยและพัฒนา *

4 ขอ (8 คะแนน) (****)

48 ตัวบงชี้ที่ 17 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปน

เอกลักษณของสถาบัน

รองอธิการบดีฝายวิชาการ,รองอธิการบดีฝายกิจการศูนยการศึกษา

,คณบดีทุกคณะ,ผูอํานวยการกองนโยบายและแผน,ผูอํานวยการ

สถาบันวิจัยและพัฒนา *

4 ขอ (4 คะแนน) (****)

3. กลุมตัวบงชี้มาตรการสงเสริม

49*** ตัวบงชี้ที่ 18 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาสังคมในดานตางๆ ผูอํานวยการกองนโยบายและแผน,ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและ

พัฒนา

4 ขอ (8 คะแนน) (****)

หมายเหตุ *** ตัวบงชี้ 16 และ 18 น้ําหนักคะแนน เทากับ 10 คะแนน

(นอกนั้นน้ําหนักคะแนน เทากับ 5 คะแนน )

**** ผูรับผิดชอบที่กลุมงานประกันคุณภาพพิจารณาผูรับผิดชอบเพิ่มเติมจา

การประชุม ปรึกษาหารือ ที่ศาลาชื่นอารมณ

Page 210: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

205

ภาคผนวก

นิยามศัพท(สกอ.) กระบวนการเรยีนรูที่เนนผูเรยีนเปนสําคัญ หมายถึง การจัดการศึกษาท่ีถือวาผูเรียนสําคัญที่สุดเปน

กระบวนการจัดการศึกษาท่ีตองเนนใหผูเรียนแสวงหาความรู และพัฒนาความรูไดดวยตนเอง หรือรวมทั้งมีการ

ฝกและปฏิบัติในสภาพจริงของการทํางาน มีการเชื่อมโยงส่ิงที่เรียนกับสังคมและการประยุกตใช มีการจัด

กิจกรรมและกระบวนการใหผูเรียนไดคิดวิเคราะหสังเคราะหประเมินและสรางสรรคส่ิงตางๆ

นอกจากนี้ตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยสะทอนจาก

การที่นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชา หรือเลือกทําโครงงานหรือช้ินงานในหัวขอที่สนใจในขอบเขตเนื้อหา

ของวิชานั้นๆ

รูปแบบการจัดการเรียนรูในระดับอุดมศึกษาตามแนวทางเนนผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งมุงพัฒนาความรู

และทักษะทางวิชาชีพ ทักษะชีวิตและทักษะสังคม มีปรากฏในวงการศึกษาไทยหลายรูปแบบตัวอยางเชน1

1) การเรียนรูจากกรณีปญหา (Problem-based Learning : PBL)

2) การเรียนรูเปนรายบุคคล (Individual Study)

3) การเรียนรูแบบสรรคนิยม (Constructivism)

4) การเรียนรูแบบแสวงหาความรูไดดวยตนเอง (Self-Study)

5) การเรียนรูจากการทํางาน (Work-based Learning)

6) การเรียนรูที่เนนการวิจัยเพื่อสรางองคความรู (Research–based Learning)

7) การเรียนรูที่ใชวิธีสรางผลงานจากการตกผลึกทางปญญา (Crystal-based Approach)

การบูรณาการ (Integration) หมายถึง การผสมกลมกลืนของแผน กระบวนการ สารสนเทศการจัดสรร

ทรัพยากรการปฏิบัติการผลลัพธ และการวิเคราะห เพื่อสนับสนุนเปาประสงคที่สําคัญของสถาบัน

(organization-wide goal) การบูรณาการท่ีมีประสิทธิผล เปนมากกวาความสอดคลองไปในแนวทางเดียวกัน

(alignment) ซึ่งการดําเนินการของแตละองคประกอบภายในระบบการจัดการ ผลการดําเนินการมีความ

เช่ือมโยงกันเปนหนึ่งเดียวอยางสมบูรณ

การเผยแพรผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หมายถึง การนําเสนอบทความวิจัยในที่ประชุม

วิชาการ และบทความฉบับสมบูรณ (Full paper) ไดรับการตีพิมพในรายงาน

สืบเน่ืองจากการประชุม (Proceedings) โดยมีกองบรรณาธิการจัดทํารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุม

ประกอบดวยศาสตราจารย หรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเปนที่ยอมรับใน

สาขาวิชานั้นๆ จากนอกสถาบันเจาภาพอยางนอยรอยละ 25 และมีผูประเมินบทความที่เปนผูเช่ียวชาญในสาขา

นั้นจากนอกสถาบันของเจาของบทความ

การเผยแพรผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง การนําเสนอบทความวิจัยในที่

ประชุมวิชาการ และบทความฉบับสมบูรณ (Full paper) ไดรับการตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม

(Proceedings) โดยมีกองบรรณาธิการจัดทํารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบดวย

ศาสตราจารยหรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผูทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเปนที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ

จากตางประเทศอยางนอยรอยละ 25และมีผูประเมินบทความที่เปนผูเช่ียวชาญในสาขานั้นจากตางประเทศ

Page 211: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

206

การใหบริการทางวิชาการแกสังคม หมายถึง กิจกรรมหรือโครงการใหบริการแกสังคมภายนอก

สถาบันการศึกษา หรือเปนการใหบริการที่จัดในสถาบันการศึกษาโดยมีบุคคลภายนอกเขามาใชบริการ

การใหอํานาจในการตัดสินใจ หมายถึง การใหอํานาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจและในการปฏิบัติ

แกผูปฏิบัติงาน ซึ่งเปนผูมีความรูความเขาใจเก่ียวกับงาน เพื่อใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

งานวิจัย หมายถึง กระบวนการท่ีมีระเบียบแบบแผนในการคนหาคําตอบของปญหา หรือการเสาะแสวงหา

ความรูใหม ตลอดจนถึงการประดิษฐคิดคนที่ผานกระบวนการศึกษา คนควาหรือทดลอง วิเคราะหและตีความ

ขอมูลตลอดจนสรุปผลอยางเปนระบบ

งานสรางสรรค หมายถึง ผลงานวิชาการ (ไมจําเปนตองเปนงานวิจัย) ที่มีการศึกษา คนควาที่แสดงออกทาง

ศิลปะหรือดนตรีอันเปนที่ยอมรับ

จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลักเกณฑควรประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยทั่วไป เพื่อใหการดําเนินงานวิจัย

ต้ังอยูบนพื้นฐานของจริยธรรมและหลักวิชาการที่เหมาะสม ตลอดจนประกันมาตรฐานของการศึกษาคนควาให

เปนไปอยางสมศักด์ิศรีและเกียรติภูมิของนักวิจัย ดังนี้

1) นักวิจัยตองซ่ือสัตยและมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ

2) นักวิจัยตองตระหนักถึงพันธกรณีในการทําวิจัยตามขอตกลงที่ทําไวกับหนวยงานที่สนับสนุนการ

วิจัยและตอหนวยงานท่ีตนสังกัด

3) นักวิจัยตองมีพื้นฐานความรูในสาขาวิชาการท่ีทําวิจัย

4) นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบตอส่ิงที่ศึกษาวิจัย ไมวาจะเปนส่ิงมีชีวิตหรือไมมีชีวิต

5) นักวิจัยตองเคารพศักด์ิศรี และสิทธิของมนุษยที่ใชเปนตัวอยางในการวิจัย

6) นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทําวิจัย

7) นักวิจัยพึงนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนในทางที่ชอบ

8) นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผูอื่น

9) นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบตอสังคมทุกระดับ

จรรยาบรรณอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน หมายถึง ประมวลความประพฤติที่อาจารยและบุคลากร

สายสนับสนุนพึงปฏิบัติเพื่อรักษา สงเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

ตามที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด โดยอาจใชกรอบแนวทางตามประกาศก.พ.อ. เร่ือง มาตรฐานของจรรยาบรรณท่ี

พึงมีในสถาบันอุดมศึกษา โดยตองยึดม่ันในหลักการ6 ประการ คือ 1) ยึดม่ันและยืนหยัดในส่ิงที่ถูกตอง 2)

ซื่อสัตยสุจริตและรับผิดชอบ 3) ปฏิบัติหนาที่ดวยความโปรงใสและสามารถตรวจสอบได 4) ปฏิบัติหนาที่โดยไม

เลือกปฏิบัติอยางไมเปนธรรม 5) มุงผลสัมฤทธิ์ของงาน 6) ไมใชอํานาจครอบงําผิดทํานองคลองธรรมตอ

นักศึกษาและตองครอบคลุมจรรยาบรรณ10 ประการ คือ 1) จรรยาบรรณตอตนเอง 2) จรรยาบรรณตอวิชาชีพ

3) จรรยาบรรณตอการปฏิบัติงาน 4) จรรยาบรรณตอหนวยงาน 5) จรรยาบรรณตอผูบังคับบัญชา 6)

จรรยาบรรณตอผูใตบังคับบัญชา7) จรรยาบรรณตอผูรวมงาน 8) จรรยาบรรณตอนักศึกษาและผูรับบริการ 9)

จรรยาบรรณตอประชาชน และ10) จรรยาบรรณตอสังคม

นักวิจัยประจํา หมายถึง ขาราชการ หรือพนักงาน หรือบุคลากรท่ีมีสัญญาจางกับสถาบัน

อุดมศึกษาท้ังปการศึกษา ที่มีตําแหนงเปนเจาหนาที่วิจัยหรือนักวิจัย

Page 212: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

207

นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (Full Time Equivalent Student : FTES) หมายถึงนักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียน

ตามเกณฑจํานวนหนวยกิตมาตรฐานของการลงทะเบียน ดังนี้

ระบบทวิภาค - สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี : ลงทะเบียน 36 หนวยกิตตอ

ปการศึกษา (18 หนวยกิตตอภาคการศึกษา)

- สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทั้งโครงการปกติและโครงการ ภาคพิเศษ :

ลงทะเบียน 24 หนวยกิตตอปการศึกษา (12 หนวยกิตตอภาคการศึกษาปกติ)

ระบบไตรภาค - สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี : ลงทะเบียน 45 หนวยกิตตอปการศึกษา (15

หนวยกิตตอภาคการศึกษา)

- สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา : ลงทะเบียน 30 หนวยกิตตอ

ปการศึกษา (10 หนวยกิตตอภาคการศึกษา)

ขั้นตอนการคํานวณคา FTES มีดังนี้

1) คํานวณคาหนวยกิตนักศึกษา (Student Credit Hours : SCH) ซ่ึงก็คือ ผลรวมของผลคูณระหวาง

จํานวนนักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนกับจํานวนหนวยกิตแตละรายวิชาที่เปดสอนทุกรายวิชาตลอดปการศึกษา

รวบรวมหลังจากนักศึกษาลงทะเบียนแลวเสร็จ (หมดกําหนดเวลาการเพิ่ม-ถอน) โดยมีสูตรการคํานวณ ดังนี้

SCH = Σ nici

เม่ือ ni = จํานวนนักศึกษาท่ีลงทะเบียนในวิชาที่ i

Ci = จํานวนหนวยกิตของวิชาที่ i

2) คํานวณคา FTES โดยใชสูตรคํานวณดังนี้

F TES = SCH

จํานวนหนวยกิตตอปการศึกษาตามเกณฑมาตรฐานการลงทะเบียนในระดับปริญญานั้นๆ นักศึกษาภาคปกติ หมายถึง นักศึกษาที่เรียนในชวงเวลาราชการ หรือนอกเวลาราชการโดยสถาบันไดมีการ

คํานวณเปนภาระงานสอนของอาจารย และไมมีการจายคาตอบแทนเปนการพิเศษ

นักศึกษาภาคพิเศษ หมายถึง นักศึกษาท่ีเรียนในชวงเวลาราชการ หรือนอกเวลาราชการโดยสถาบันมิไดนับวา

การสอนดังกลาวเปนภาระงานสอนของอาจารย และ/หรือไดมีการจายคาตอบแทนใหกับการสอนของอาจารย

เปนการพิเศษ

แนวปฏิบัติที่ดี หมายถึง วิธีปฏิบัติ หรือขั้นตอนการปฏิบัติที่ทําใหองคการประสบความสําเร็จหรือสูความเปน

เลิศตามเปาหมาย เปนที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพนั้นๆ มีหลักฐานของความสําเร็จปรากฏชัดเจนโดยมี

การสรุปวิธีปฏิบัติ หรือขั้นตอนการปฏิบัติ ตลอดจนความรูและประสบการณ บันทึกเปนเอกสารเผยแพรให

หนวยงานภายในหรือภายนอกสามารถนําไปใชประโยชนได

ผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders) หมายถึง กลุมคนตางๆ ที่ไดรับผลกระทบ หรืออาจไดรับผลกระทบจาก

การดําเนินการและความสําเร็จของสถาบัน ตัวอยางของกลุมผูมีสวนไดสวนเสียที่สําคัญ เชน นักศึกษา ปกครอง

สมาคมผูปกครอง ผูปฏิบัติงาน คูความรวมมือทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ คณะกรรมการกํากับดูแล

Page 213: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

208

สถาบันในดานตางๆ ศิษยเกา นายจางสถาบันการศึกษาอื่นๆ องคการที่ทําหนาที่กํากับดูแลกฎ ระเบียบ องคการ

ที่ใหเงินสนับสนุนผูเสียภาษี ผูกําหนดนโยบายผูสงมอบตลอดจนชุมชนในทองถ่ินและชุมชนวิชาการหรือวิชาชีพ

แผนกลยุทธ หมายถึง แผนระยะยาวของสถาบันโดยทั่วไปมักใชเวลา 5 ป เปนแผนที่กําหนดทิศทางการพัฒนา

ของสถาบัน แผนกลยุทธประกอบไปดวยวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงควัตถุประสงค ผลการวิเคราะหจุดแข็ง

จุดออน โอกาสและภัยคุกคาม กลยุทธตางๆ ของสถาบันควรคลอบคลุมทุกภารกิจของสถาบัน มีการกําหนดตัว

บงชี้ความสําเร็จของแตละกลยุทธและคาเปาหมายของตัวบงชี้เพื่อวัดระดับความสําเร็จของการดําเนินงานตาม

กลยุทธ โดยสถาบันนําแผนกลยุทธมาจัดทําแผนดําเนินงานหรือแผนปฏิบัติการประจําป

แผนปฏิบัติการประจําป หมายถึง แผนระยะส้ันที่มีระยะเวลาในการดําเนินงานภายใน 1 ป เปนแผนที่

ถายทอดแผนกลยุทธลงสูภาคปฏิบัติ เพื่อใหเกิดการดําเนินงานจริงตามกลยุทธ ประกอบดวย โครงการหรือ

กิจกรรมตางๆ ที่จะตองดําเนินการในปนั้นๆ เพื่อใหบรรลุเปาหมายตามแผนกลยุทธ ตัวบงชี้ความสําเร็จของ

โครงการหรือกิจกรรม คาเปาหมายของตัวบงชี้เหลานั้นรวมทั้งมีการระบุผูรับผิดชอบหลักหรือหัวหนาโครงการ

งบประมาณในการดําเนินการรายละเอียดและทรัพยากรที่ตองใชในการดําเนินโครงการที่ชัดเจน ระบบและกลไก ระบบ หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีการกําหนดอยางชัดเจนวาตองทําอะไรบางเพื่อใหไดผลออกมาตามที่

ตองการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะตองปรากฏใหทราบโดยทั่วกันไมวาจะอยูในรูปของเอกสารหรือส่ือเล็กทรอ

นิกสหรือโดยวิธีการอื่นๆ องคประกอบของระบบ ประกอบดวย ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต และขอมูล

ปอนกลับ ซึ่งมีความสัมพันธเช่ือมโยงกัน

กลไก หมายถึง ส่ิงที่ทําใหระบบมีการขับเคล่ือนหรือดําเนินอยูได โดยมีการจัดสรรทรัพยากรมีการจัดองคการ

หนวยงาน หรือกลุมบุคคลเปนผูดําเนินงาน

ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ทําหนาที่ในการรวบรวมขอมูลเขามาทําการประมวลผล รวมทั้งการ

วิเคราะหเพื่อจัดทําเปนสารสนเทศในรูปแบบตางๆ และนําสงไปยังผูที่มีสิทธิไดรับสารสนเทศเพื่อใชในการ

ปฏิบัติงาน การบริหาร หรือการตัดสินใจ โดยมีคอมพิวเตอรรวมทั้งอุปกรณตางๆ เปน เคร่ืองมือสนับสนุนการ

ทํางานของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศในองคการมีหลายประเภทในแตละประเภทมีไดหลายระบบ ทั้งนี้

เพื่อตอบสนองวัตถุประสงคเฉพาะดานในการทํางานที่แตกตางกันออกไป

วารสารระดับชาติ หมายถึง วารสารวิชาการ (Journal) ที่ยอมรับโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

(สกอ.) ใหเปนวารสารระดับชาติ และมีชื่อปรากฏในบัญชีรายชื่อที่เผยแพรโดยสํานักงานฯ หรือวารสารวิชาการ

ที่มีชื่อปรากฏอยูในฐานขอมูล Thai-Journal Citation Index Centre (TCI)

วารสารระดับนานาชาติ หมายถึง วารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฏในฐานขอมูลสากลเชน ฐานขอมูล Web

of Science (Science Citation Index Expand, Social SciencesCitation Index, Art and Humanities

Citation Index) หรือฐานขอมูล Scopus หรือในฐานขอมูลสากลอ่ืนๆ ที่เปนที่ยอมรับในศาสตรนั้นๆ หรือ

วารสารวิชาการที่ยอมรับโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ใหเปนวารสารระดับนานาชาติ และ

มีชื่อปรากฏในบัญชีรายชื่อที่เผยแพรโดยสํานักงานฯ

หนวยงานหรือองคกรระดับชาติ หมายถึง หนวยงานราชการระดับกรมหรือเทียบเทาขึ้นไปหรือรัฐวิสาหกิจ

หรือองคการมหาชน หรือองคกรกลางระดับชาติทั้งภาครัฐและเอกชน

หลักธรรมาภิบาล หมายถึง การปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุม ดูแลกิจการตางๆ ใหเปนไปใน

ครรลองธรรม นอกจากนี้ ยังหมายถึงการบริหารจัดการท่ีดี ซึ่งสามารถนําไปใชไดทั้งภาครัฐและเอกชน ธรรมที่ใช

Page 214: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

209

ในการบริหารงานน้ีมีความหมายอยางกวางขวาง กลาวคือหาไดมีความหมายเพียงหลักธรรมทางศาสนาเทานั้น

แตรวมถึงศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมและความถูกตอง ชอบธรรมทั้งปวง ซึ่งวิญูชนพึงมีและพึงประพฤติ

ปฏิบัติ อาทิ ความโปรงใสตรวจสอบได การปราศจากการแทรกแซงจากองคการภายนอก เปนตน

หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี (Good Governance) ที่เหมาะสมจะนํามาปรับ

ใชในภาครัฐมี 10 องคประกอบ ดังนี้4

1) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) คือ ผลการปฏิบัติราชการท่ีบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของ

แผนการปฏิบัติราชการตามที่ไดรับงบประมาณมาดําเนินการรวมถึงสามารถเทียบเคียงกับสวนราชการหรือ

หนวยงานท่ีมีภารกิจคลายคลึงกันและมีผลการปฏิบัติงานในระดับชั้นนําของประเทศเพ่ือใหเกิดประโยชนสุขตอ

ประชาชนโดยการปฏิบัติราชการจะตองมีทิศทางยุทธศาสตร และเปาประสงคที่ชัดเจนมีกระบวนการปฏิบัติงาน

และระบบงานที่เปนมาตรฐาน รวมถึงมีการติดตามประเมินผลและพัฒนา ปรับปรุงอยางตอเนื่องและเปนระบบ

2) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ การบริหารราชการตามแนวทางการกํากับดูแลที่ดีที่มีการ

ออกแบบกระบวนการปฏิบัติงานโดยใชเทคนิคและเคร่ืองมือการบริหารจัดการท่ีเหมาะสมใหองคการสามารถใช

ทรัพยากรท้ังดานตนทุน แรงงานและระยะเวลาใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการพัฒนาขีดความสามารถในการ

ปฏิบัติราชการตามภารกิจเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุม

3) หลักการตอบสนอง (Responsiveness) คือ การใหบริการที่สามารถดําเนินการไดภายในระยะเวลา

ที่กําหนด และสรางความเช่ือม่ัน ความไววางใจ รวมถึงตอบสนองความคาดหวังหรือความตองการของ

ประชาชนผูรับบริการ และผูมีสวนไดสวนเสียที่มีความหลากหลายและมีความแตกตาง

4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) คือ การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่และ

ผลงานตอเปาหมายที่กําหนดไว โดยความรับผิดชอบนั้นควรอยูในระดับที่สนองตอความคาดหวังของสาธารณะ

รวมทั้งการแสดงถึงความสํานึกในการรับผิดชอบตอปญหาสาธารณะ

5) หลักความโปรงใส (Transparency) คือ กระบวนการเปดเผยอยางตรงไปตรงมา ชี้แจงไดเม่ือมีขอ

สงสัยและสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารอันไมตองหามตามกฎหมายไดอยางเสรี โดยประชาชนสามารถรูทุก

ขั้นตอนในการดําเนินกิจกรรมหรือกระบวนการตางๆและสามารถตรวจสอบได

6) หลักการมีสวนรวม (Participation) คือ กระบวนการที่ขาราชการ ประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสีย

ทุกกลุมมีโอกาสไดเขารวมในการรับรู เรียนรู ทําความเขาใจรวมแสดงทัศนะ รวมเสนอปญหาหรือ ประเด็นที่

สําคัญที่เก่ียวของ รวมคิดแนวทางรวมการแกไขปญหารวมในกระบวนการตัดสินใจ และรวมกระบวนการพัฒนา

ในฐานะหุน สวนการพัฒนา

7) หลักการกระจายอํานาจ (Decentralization) คือ การถายโอนอํานาจการตัดสินใจ ทรัพยากร และ

ภารกิจจากสวนราชการสวนกลางใหแกหนวยการปกครองอื่นๆ(ราชการบริหารสวนทองถ่ิน) และภาคประชาชน

ดําเนินการแทนโดยมีอิสระตามสมควร รวมถึงการมอบอํานาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจและการ

ดําเนินการใหแกบุคลากร โดยมุงเนนการสรางความพึงพอใจในการใหบริการตอผูรับบริการและผูมีสวนไดสวน

เสียการปรับปรุง กระบวนการ และเพิ่มผลติ ภาพเพื่อผลการดําเนินงานท่ีดีของสวนราชการ

8) หลักนิติธรรม (Rule of Law) คือ การใชอํานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับในการบริหาร

ราชการดวยความเปนธรรม ไมเลือกปฏิบัติและคํานึงถึงสิทธิเสรีภาพของผูมีสวนไดสวนเสีย

Page 215: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

210

9) หลักความเสมอภาค (Equity) คือ การไดรับการปฏิบัติและไดรับบริการอยางเทาเทียมกันโดยไมมี

การแบงแยกดาน ชายหรือหญิงถ่ินกําเนิด เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ

สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษา การฝกอบรม และอื่นๆ

10) หลักมุงเนนฉันทามติ (Consensus Oriented) คือ การหาขอตกลงท่ัวไปภายในกลุมผูมีสวนไดสวน

เสียที่เก่ียวของ ซึ่งเปนขอตกลงท่ีเกิดจากการใชกระบวนการเพ่ือหาขอคิดเห็นจากกลุมบุคคลที่ไดรับประโยชน

และเสียประโยชน โดยเฉพาะกลุมที่ไดรับผลกระทบโดยตรงซึ่งตองไมมีขอคัดคานที่ยุติไมไดในประเด็นท่ีสําคัญ

โดยฉันทามติไมจําเปนตองหมายความวาเปนความเห็นพองโดยเอกฉันท

หลักสูตรสาขาวิชาชีพ หมายถึง รายวิชาและประสบการณทั้งหมดที่ผูเรียนตองศึกษาเพื่อใหไดรับการรับรอง

จากสภาหรือองคกรวิชาชีพที่กําหนดตามกฎหมาย

อาจารยประจํา หมายถึง ขาราชการ พนักงาน และบุคลากรที่มีสัญญาจางกับสถาบันอุดมศึกษาท้ังปการศึกษา

ซึ่งมีหนาที่ความรับผิดชอบตามพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา

หรือบุคลากรที่มีสัญญาจางกับสถาบันอุดมศึกษาท้ังปการศึกษา ที่มีตําแหนงเปนเจาหนาที่วิจัยหรือนักวิจัย

หมายเหตุ การนับจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา ใหนับระยะเวลาการทํางาน ดังนี้

9-12 เดือน คิดเปน 1 คน

6 เดือนขึ้นไปแตไมถึง 9 เดือน คิดเปน 0.5 คน

นอยกวา 6 เดือน ไมสามารถนํามานับได

นิยามศัพท(สมศ.) งานวิจัย หมายถึง ผลงานทางวิชาการที่ไดมีการศึกษาคนควาตามกระบวนการระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสมกับ

สาขาวิชาเพื่อใหเกิดเปนองคความรูใหม หรือเปนการตอยอดองคความรูเดิม

งานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในระดับชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิจัยท่ีได รับการตีพิมพใน

วารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฏอยูในฐานขอมูล Thai-Journal Citation Index Centre (TIC) หรือ

วารสารวิชาการที่ยอมรับโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ใหเปนวารสารระดับชาติรวมทั้งการ

เผยแพรผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ

การเผยแพรผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หมายถึง การนําเสนอบทความวิจัยในท่ีประชุม

วิชาการและบทความฉบับสมบูรณ (Full Paper) ไดรับการตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ

(Proceedings) ระดับชาติ ที่มีกองบรรณาธิการจัดทํารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบดวย

ศาสตราจารย หรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผูทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเปนที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ

นอกจากสถาบันเจาภาพอยางนอยรอยละ 25 และมีผูประเมินบทความที่เปนผูเช่ียวชาญในสาขาน้ันจากนอก

สถาบันของเจาของบทความ

งานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในระดับนานาชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพใน

วารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฏในฐานขอมูลสากล เชน ฐานขอมูล ISI Web of Science (Science Citation

Index Expand, social sciences Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรือฐานขอมูล

Scopus หรือในฐานขอมูลสากลอื่นๆ ที่ยอมรับในศาสตรนั้นๆ หรือวารสารวิชาการท่ียอมรับโดยสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ใหเปนวารสารระดับนานาชาติ รวมทั้งการเผยแพรผลงานวิจัยที่ประชุม

วิชาการระดับนานาชาติ

Page 216: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

211

การเผยแพรผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง การนําเสนอบทความวิจัยในที่

ประชุมวิชาการและบทความฉบับสมบูรณ (Full Paper) ไดรับการตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม

วิชาการ (Proceedings) ระดับนานาชาติ ที่มีกองบรรณาธิการจัดทํารายงาน หรือคณะกรรมการจัดประชุม

ประกอบดวยศาสตราจารย หรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผูทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเปนที่ยอมรับใน

สาขาวิชานั้นๆ จากตางประเทศอยางนอยรอยละ 25 และมีผูประเมินบทความที่เปนผูเช่ียวชาญในสาขาน้ันจาก

ตางประเทศ

งานสรางสรรค หมายถึง ผลงานทางศิลปะที่มีการศึกษาคนควาอยางเปนระบบท่ีเหมาะสม กับกลุมวิชาทาง

ศิลปะ ตามการจัดกลุมศิลปะของอาเซียน ไดแก ทัศนศิลป (Visual Arts) ศิลปะการแสดง (Performing Arts)

และวรรณศิลป (Literature) และตามการแบงกลุม ISCED (International Standard Classification of

Education) ไดแก คณะวิจิตรศิลป คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ คณะมัณฑนศิลป คณะ

ศิลปกรรมศาสตร คณะโบราณคดี คณะมนุษยศาสตร และคณะสถาปตยกรรมศาสตร โดยเปนผลงานท่ี

แสดงออกถึงแนวคิด แนวทางการทดลอง เพื่อใหเกิดผลงานในมิติใหม หรือเปนการพัฒนาจากแนวคิดการ

สรางสรรคเดิม เพื่อเปนตนแบบหรือความสามารถในการบุกเบิกศาสตรทางศิลปะงานสรางสรรคยังครอบคลุมไป

ถึงส่ิงประดิษฐ และงานออกแบบตามสาขาศิลปะเฉพาะทางท่ีมีคุณคาและคุณประโยชนเปนที่ยอมรับในวง

วิชาชีพ

งานสรางสรรคที่เผยแพรในระดับชาติ หมายถึง การนําเสนอผลงาน ศิลปะแขนงตางๆ อาทิ ผลงานศิลปะ

ดนตรี นาฏศิลป ฯลฯ ที่เปนผลงานวิชาการสูสาธารณะหรือกลุมเปาหมาย โดยมีการจัดการการนําเสนอใน

ระดับชาติอยางเปนระบบและเปนวิธีการที่ยอมรับในวงวิชาชีพ หรือไดรับการสนับสนุนจากองคกร สมาคมที่

เก่ียวของและมีชื่อเสียงในระดับประเทศ

งานสรางที่เผยแพรระดับนานาชาติ หมายถึง การนําเสนอผลงาน ศิลปะแขนงตางๆ อาทิ ผลงานศิลปะ ดนตรี

นาฏศิลป ฯลฯ ที่เปนผลงานวิชาการสูสาธารณะหรือกลุมเปาหมาย โดยมีการจัดการการนําเสนอในระดับ

นานาชาติอยางเปนระบบและเปนวิธีการที่ยอมรับในวงวิชาชีพ หรือไดรับการสนับสนุนจากองคกร สมาคมท่ี

เก่ียวของและมีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ

แหลงเผยแพรที่มีคุณภาพ หมายถึง สถานที่สําหรับการเผยแพร โดยการจัดนิทรรศการหรือจัดการแสดงซ่ึงเปน

การนําเสนอผลงานจากงานสรางสรรค สูสาธารณะหรือกลุมเปาหมาย โดยประกอบดวยหลักเกณฑในการ

พิจารณาคุณภาพ ดังตอไปนี้

1. ตองเปนหอศิลประดับสถาบันการศึกษา

2. หอศิลปขององคกรหรือสมาคมจะตองเปนสถานที่จัดการแสดงงานศิลปะโดยเฉพาะ และมี

คณะกรรมการจัดการหอศิลป เพื่อดูแลการจัดนิทรรศการทางวิชาการ

3. แหลงเผยแพรระดับนานาชาติตองไดรับการยอมรับในวงการศิลปะในระดับนานาชาติ หรือโครงการ

ความรวมมือทางศิลปะระหวางประเทศ

4. มีคณะกรรมการพิจารณาการกล่ันกรองคัดเลือกงานศิลปะหรือการจัดแสดงผลงาน โดยมี

องคประกอบของคณะกรรมการท่ีสอดคลองกับเกณฑการประเมิน ประกอบดวย ศิลปนระดับชาติ ผูทรงคุณวุฒิ

และนักวิชาการที่ไดรับการยอมรับในวงวิชาการ

Page 217: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

212

5. ศิลปะท่ีไมตองการแสดงท่ีหอศิลป จะตองมีเอกสารโครงงาน แผนงาน และการประเมินผล โดย

ผลงานที่จัดแสดงตองไดรับการยอมรับจากผูทรงคุณวุฒิในวงวิชาการ หรือหลักฐานที่แสดงกิจกรรมการ

ดําเนินการอยางเปนระบบและมีคุณภาพของการแสดงที่มีลักษณะเฉพาะ เชน การแสดงพื้นบาน ดนตรี ดุริยางค

ศิลป และนาฏศิลปนอกสถานท่ี (Street Performance) เปนตน

งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน หมายถึง งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดนําไปใชประโยชน

ตามวัตถุประสงคที่ระบุไวในโครงการ โครงการวิจัย และรายงานการวิจัยอยางถูกตอง สามารถนําไปสูการแกไข

ปญหาไดอยางเปนรูปธรรม มีความคิดริเร่ิมสรางสรรคในการประยุกตใชกับกลุมเปาหมาย โดยมีหลักฐานปรากฏ

อยางชัดเจนถึงการนําไปใชจนกอใหเกิดประโยชนไดจริงอยางชัดเจนตามวัตถุประสงค และ/หรือไดการรับรอง

การใชประโยชนจากหนวยงานที่เก่ียวของ

ประเภทของการใชประโยชนจากงานวิจัยและงานสรางสรรค ที่สามารถนําไปสูการแกปญหาไดอยาง

เปนรูปธรรม มีดังนี้

1. การใชประโยชนในเชิงสาธารณะ เชน ผลงานวิจัยที่นําไปใชใหเกิดประโยชนแกสาธารณชนในเร่ือง

ตางๆ ที่ทําใหคุณภาพชีวิต และเศรษฐกิจของประชาชนดีขึ้น ไดแก การใชประโยชนดานสาธารณสุข ดานการ

บริหารจัดการสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SME) ดานการสงเสริมประชาธิปไตยภาคประชาชน

ดานศิลปะและวัฒนธรรม ดานวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนตน

2. การใชประโยชนในเชิงนโยบาย เชน ใชประโยชนจากผลงานวิจัยเชิงนโยบายในการนําไปประกอบ

เปนขอมูลการประกาศใชกฎหมาย หรือกําหนดมาตรการ กฎเกณฑตางๆ โดยองคกร หรือหนวยงานภาครัฐและ

เอกชน เปนตน

3. การใชประโยชนในเชิงพาณิชย เชน งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปสูการพัฒนาส่ิงประดิษฐ หรือ

ผลิตภัณฑซึ่งกอใหเกิดรายได หรือนําไปสูการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เปนตน

4. การใชประโยชนทางออมของงานสรางสรรค ซึ่งเปนการสรางคุณคาทางจิตใจ ยกระดับจิตใจ

กอใหเกิดสุนทรียภาพ สรางความสุข เชน งานศิลปะที่นําไปใชในโรงพยาบาล ซึ่งไดมีการศึกษาและการประเมิน

ไว

หนวยงานที่เกี่ยวของในการรับรองการนํางานวิจัยหรืองานสรางสรรคมาใชประโยชน หมายถึง

หนวยงานหรือองคกรภายนอกสถาบันอุดมศึกษา ที่มีการนํางานวิจัยหรืองานสรางสรรคของสถาบันอุดมศึกษา

ไปใชกอใหเกิดประโยชน โดยมีการรับรองเปนเอกสารหลักฐานที่ชัดเจน พรอมทั้งระบุผลของการนํางานวิจัยหรือ

งานสรางสรรคไปใชประโยชน

ผลงานวิชาการที่ไดรับรองคุณภาพ หมายถึง บทความวิชาการ ตํารา หรือหนังสือ ที่ผานกระบวนการ

กล่ันกรองและไดรับการรับรองคุณภาพแลว ตามเกณฑของ กพอ. เร่ืองหลักเกณฑการขอกําหนดตําแหนงทาง

วิชาการหรือเทียบเทา

ผลงานทางวิชาการที่เปนบทความวิชาการ (Academic Paper) ตํารา (Textbook) หรือหนังสือ (Book)

ตองเปนผลงานที่ผานกระบวนการกล่ันกรองผลงานกอนตีพิมพ โดยมีรายละเอียดดังนี้

- บทความวิชาการ หมายถึง เอกสารวิชาการที่เรียบเรียงอยางเปนระบบ มีขอความรูที่สะทอน

มุมมองแนวคิดเชิงทฤษฎีที่ไดจากประสบการณ การสังเคราะหเอกสาร หรือ การวิจัย โดย จัดทําในรูปของ

บทความเพื่อตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการที่มีคุณภาพซ่ึงมีผูตรวจอาน

Page 218: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

213

- ตํารา หมายถึง เอกสารทางวิชาการท่ีเรียบเรียงอยางเปนระบบ อาจเขียนเพ่ือตอบสนองเนื้อหา

ทั้งหมด ของรายวิชาหรือเปนสวนหนึ่งของวิชาหรือหลักสูตรก็ไดโดยมีการวิเคราะหและ สังเคราะหความรูที่

เก่ียวของและสะทอนใหเห็นความสามารถในการถายทอดวิชาใน ระดับอุดมศึกษา

- หนังสือ หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่เขียนขึ้นเพื่อเผยแพรความรู ไปสูวงวิชาการหรือผูอานทั่วไป

โดยไมจําเปนตองเปนไปตามขอกําหนดของหลักสูตรหรือตองนํามาประกอบการ เรียนการสอนในวิชาใดวิชาหนึ่ง

ทั้งนี้จะตองเปนเอกสารท่ีเรียบเรียงขึ้นอยางมีเอกภาพ มี รากฐานทางวิชาการท่ีม่ันคงและใหทัศนะของผูเขียนที่

สรางเสริมปญญาความคิด และสราง ความแข็งแกรงทางวิชาการใหแกสาขาวิชานั้นๆ หรือสาขาวิชาที่

เก่ียวเนื่อง

วารสารระดับชาติ หมายถึง วารสารวิชาการ (Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยูในฐานขอมูล Thai-Journal Citation

Index Centre (TCI) หรือวารสารวิชาการที่ยอมรับโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ใหเปน

วารสารระดับชาติและมีปรากฏในบัญชีรายชื่อที่เผยแพร

วารสารระดับนานาชาติ หมายถึง วารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฏในฐานขอมูลสากล เชน ฐานขอมูล ISI

Web of Science (Science Citation Index Expand, social sciences Citation Index, Art and Humanities

Citation Index) หรือฐานขอมูล Scopus หรือในฐานขอมูลสากลอื่นๆ ที่ยอมรับในศาสตรนั้นๆ หรือ

วารสารวิชาการที่ยอมรับโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ใหเปนวารสารระดับนานาชาติและ

มีชื่อปรากฏในบัญชีรายชื่อที่เผยแพร

อาจารย หมายถึง อาจารยประจําที่เปนขาราชการ หรือพนักงานของมหาวิทยาลัย รวมทั้งอาจารยที่มีสัญญา

จางกับสถาบันหรือสถานศึกษาท้ังปการศึกษา

นักวิจัย หมายถึง นักวิจัยประจําที่เปนขาราชการ หรือพนักงานของมหาวิทยาลัย รวมทั้งบุคลากรที่มีตําแหนง

และหนาที่ความรับผิดชอบเทียบเทาเจาหนาที่วิจัยหรือนักวิจัย และมีสัญญาจางกับสถาบันหรือสถานศึกษาท้ังป

การศึกษา วิธีการนับ การนับจํานวนบทความจากผลงานวิจัยหรือผลงานสรางสรรคที่ตีพิมพหรือเผยแพร บทความจาก

ผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพที่สามารถนํามานับไดมีเฉพาะ Article หรือ Conference หรือ Review เทานั้นสวน

บทความจากผลงานวิจัยที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนั้นสามารถนํามานับไดเฉพาะท่ีเปน

บทความฉบับสมบูรณ (Full Paper) เทานั้น

ทั้งนี้ใหนับบทความจากผลงานวิจัยที่ตีพิมพหรือผลงานสรางสรรคเผยแพรของอาจารยประจําและ

นักวิจัยประจําทั้งหมด (นับรวมของผูลาศึกษาตอ) ตามปปฏิทิน ในกรณีที่บทความจากผลงานวิจัยที่ตีพิมพหรือ

ผลงานสรางสรรคท่ีเผยแพรเปนผลงานเดิมแตนําไปตีพิมพหรือเผยแพรมากกวา 1 คร้ัง ใหนับไดเพียง 1 ผลงาน

ทั้งนี้จะนับเม่ือบทความจากผลงานวิจัยหรือผลงานสรางสรรคไดตีพิมพหรือดําเนินการไปแลว หรือไดรับตอบรับ

อยางเปนทางการเปนลายลักษณอักษรใหมีการตีพิมพหรือเผยแพรแลวเทานั้น

การนับจํานวนผลงานวิจัยหรือผลงานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน ใหนับจากวันที่นําผลงานวิจัยหรือ

งานสรางสรรคของอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา (นับรวมของผูลาศึกษาตอ) มาใชและเกิดผลอยางชัดเจน

ตามปปฏิทิน ในกรณีที่งานวิจัยหรืองานสรางสรรคมีการนําไปใชประโยชนมากกวา 1 คร้ัง ใหนับการใชประโยชน

ไดเพียงคร้ังเดียว ยกเวนในกรณีที่มีการใชประโยชนที่แตกตางกันอยางชัดเจนตามมิติของการใชประโยชนที่ไมซ้ํา

กัน

Page 219: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

214

การนับจํานวนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการับรองคุณภาพ จะนับผลงานวิชาการของอาจารยประจํา(นับ

รวมของผูลาศึกษาตอ) โดยเปนผลงานท่ีไดรับการพิจารณาใหตีพิมพเผยแพรในรูปของบทความวิชาการใน

วารสารวิชาการท้ังในระดับชาติหรือนานาชาติ หนังสือ หรือตําราทางวิชาการ ซึ่งมีระบบพิจารณาตนฉบับจาก

คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิกอนการตีพิมพ ในกรณีที่มีการตีพิมพมากวา 1 คร้ัง ใหนับการตีพิมพเพียงคร้ังเดียว

ตองานวิชาการ 1 เลม ไมนับซ้ํากรณีที่ไดรับการตีพิมพหลายคร้ัง หรือที่อยูระหวางกระบวนการตีพิมพ

การนับจํานวนอาจารยและนักวิจัย ใหนับอาจารยประจําและนักวิจัยประจําทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษา

ตอในแตละปการศึกษา โดยรวบรวมส้ินสุดปการศึกษาตามเงื่อนไข ดังนี้

- กรณีระยะเวลาทํางาน 9 เดือนขึ้นไป ใหนับเปน 1 คน

- กรณีระยะเวลาทํางาน 6-9 เดือน ใหนับเปน 0.5 คน

- กรณีระยะเวลาทํางานนอยกวา 6 เดือน ไมสามารถนํามานับได ระบบและกลไกที่ปรากฏในคูมือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน คําวา “ระบบ”

หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานท่ีมีการกําหนดวาตองทําอะไรบางหรือใหไดผลออกมาตามที่ตองการ

ขั้นตอนปฏิบัติตองปรากฏใหทราบโดยทั่วกันไมวาจะอยูในรูปเอกสาร หรือส่ืออิเล็กทรอนิกส หรือโดยวิธีการอื่น

องคประกอบของระบบประกอบดวย ปจจัยนําเขา กระบวนการ และผลผลิต และขอมูลยอนกลับ ซึ่งมี

ความสัมพันธเช่ือมโยงกัน คําวา “กลไก”

หมายถึง ส่ิงที่ทําใหระบบมีการขับเคล่ือน หรือดําเนินอยูได โดยมีการจัดสรรทรัพยากร มีการจัด

องคการ หนวยงาน หรือกลุมบุคคลเปนผูดําเนินการ 1. ระบบการประกันคุณภาพภายในหรือใชกํากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ

การศึกษา 2. ระบบและกลไกควบคุมคุณภาพขององคประกอบตางๆ ที่ใชในผลิตบัณฑิต

2.1 หลักสูตรการศึกษา

2.2 มาตรการและระบบการพัฒนาคณาจารย

2.3 ส่ือการศึกษาและเทคนิคการสอน

2.4 หองสมดุและแหลงการเรียนรูอื่น

2.5 อุปกรณการศึกษา

2.6 สภาพแวดลอมในการเรียนรูและการบริการศึกษา

2.7 การวัดผลการศึกษา และสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนของนักศึกษา

2.8 องคประกอบอื่น ๆ

3. ระบบฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพ (CHE QA Online)

4.ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร(องคประกอบที่ 2.1)

5. ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน (องคประกอบที่ 2.4)

6. ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน(องคประกอบที่ 2.6)

7. ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต(องคประกอบที่ 2.7)

Page 220: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

215

8. ระบบและกลไกการเปดหลักสูตรใหม และปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางที่กําหนดโดย สกอ.และ

ดําเนินการตามระบบที่กําหนด(องคประกอบที่ 2.1 เกณฑขอที่ 1)

9. ระบบและกลไกการปดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติ โดยคณะกรรมการอุดมศึกษา และดําเนินการ

ตามระบบท่ีกําหนด (องคประกอบที่ 2.1 เกณฑขอที่ 2)

10. มีระบบการติดตามใหคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนนําความรูและทักษะท่ีไดจากการ

พัฒนามาใชในการเรียนการสอน และการวัดผลการเรียนรูของนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติงานท่ีเก่ียวของ

(ตัวบงช้ีที่ 2.4 เกณฑขอที่ 4)

11. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคาร ตลอดจนบริเวณโดยรอบอยางนอย

ในเร่ืองประปา ไฟฟา ระบบกําจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมถึงมีระบบและอุปกรณปองกันอัคคีภัย ในบริเวณ

อาคารตางๆ โดยเปนไปตามกฎหมายที่เก่ียวของ(ตัวบงชี้ที่ 2.5 เกณฑขอที่ 5)

12. มีระบบและกลไกประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญทุกหลักสูตร

(ตัวบงช้ีที่ 2.6 เกณฑขอที่ 1)

13. มีระบบและกลไกการสงเสริมใหนักศึกษาระดับปริญญาตรี และบัณฑิตเขารวมกิจกรรมการประชุม

วิชาการ หรือนําเสนอผลงานทางวิชาการในท่ีประชุมระหวางสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ

(ตัวบงช้ีที่ 2.7, เกณฑขอที่ 4)

14. มีระบบและกลไกสนับสนุนการประยุกตใชผลงานจากวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับ

บัณฑิตศึกษา และมีการรับรองการใชประโยชนจริงจากหนวยงานภาครัฐ หรือเอกชน หรือหนวยงานวิชาชีพ

(เฉพาะกลุม ค,ตัวบงชี้ที่ 2.7 เกณฑขอที่ 6)

15. ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูลขาวสาร (ตัวบงชี้ที่ 3.1)

16. ระบบและกลไกสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา (ตัวบงชี้ที่ 3.2)

17. ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัย หรืองานสรางสรรค (ตัวบงชี้ที่ 4.1)

18. มีระบบและกลไกบริหารงานวิจัย หรืองานสรางสรรค เพื่อใหบรรลุเปาตามแผน ดานการวิจัยของ

สถาบัน และดําเนินการตามระบบที่กําหนด

19. มีระบบและกลไกเพื่อสรางงานวิจัย หรืองานสรางสรรคบนพื้นฐานขอมูลเบื้องตน หรือ จากสภาพ

ปญหาของสังคม เพื่อตอบสนองความตองการของทองถ่ินและสังคม และดําเนินการตามระบบที่กําหนด

(เฉพาะกลุม ข และ ค,ตัวบงชี้ที่ 4.1 เกณฑขอที่ 8)

20. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัย หรืองานสรางสรรคในการประชุมวิชาการหรือ

การตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพรผลงานวิจัย หรืองานสรางสรรค ในการประชุม

วิชาการ หรือการตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ (ตัวบงชี้ที่ 4.2 เกณฑขอที่ 1)

21. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจากงานวิจัยหรืองาน

สรางสรรค หรือใหเปนองคความรูที่คนทั่วไปเขาใจไดและดําเนินการตามระบบที่กําหนด

(ตัวบงช้ีที่ 4.2 เกณฑขอที่ 2)

22. มีระบบและกลไกเพื่อชวยกระตุนในการคุมครองสิทธิของงานวิจัย หรืองานสรางสรรคที่นําไปใช

ประโยชน และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

(ตัวบงช้ี 4.2 เกณฑขอที่ 4)

Page 221: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

216

23. มีระบบและกลไกสงเสริมการจดสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตร และมีการย่ืนจดสิทธิบัตร หรืออนุ

สิทธิบัตร (เฉพาะกลุม ค และ ง,ตัวบงชี้ที่ 4.2 เกณฑขอที่ 6)

24. ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม (ตัวบงชี้ที่ 5.1)

25. มีระบบและกลไกการบริการวิชาการแกสังคม และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด (ตัวบงชี้ที่ 5.1

เกณฑขอที่ 1)

26. ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (ตัวบงชี้ 6.1)

27. มีระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และดําเนินตามระบบที่กําหนด (ตัวบงชี้ที่ 6.1

เกณฑขอที่ 1)

28. ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจ (ตัวบงชี้ที่7.3)

29. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan) (ตัวบงชี้ที่ 7.3 เกณฑขอที่ 2)

30. มีระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจตามพันธกิจของสถาบัน โดยอยางนอยตอง

ครอบคลุมการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริหารจัดการ และการเงิน และสามารถนําไปใชในการ

ดําเนินงานประกันคุณภาพ

31. ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

32. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (ตัวบงชี้ที่ 9.1)

33. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมและสอดคลองกับพันธกิจ และ

พัฒนาการของสถาบัน ต้ังแตภาควิชา หรือหนวยงานเทียบเทา และดําเนินการตามระบบที่กําหนด (ตัวบงชี้ที่

9.1 เกณฑขอที่ 1)

34. มีระบบสารสนเทศที่ใหขอมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ครบท้ัง 9

องคประกอบคุณภาพ (ตัวบงชี้ที่ 9.1 เกณฑขอที่ 6)

Page 222: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

217

การบูรณาการเกณฑคุณภาพ EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และ TQF (มคอ.) จาก TQA สู EdPEx

รางวัลคุณภาพแหงชาติ (Thailand Quality Award - TQA) ความสําคัญของรางวัลรางวัลคุณภาพแหงชาติ (Thailand Quality Award - TQA) สํานักงาน

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดบรรจุรางวัลคุณภาพแหงชาติไวในแผนยุทธศาสตรการ

เพิ่มผลผลิตของประเทศ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 โดยมีสถาบัน

เพิ่มผลผลิตแหงชาติเปนหนวยงานหลักในการประสานความรวมมือกับหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน

เพื่อเผยแพร สนับสนุน และผลักดันใหองคกรตางๆ ทั้งภาคการผลิตและการบริการนําเกณฑรางวัลคุณภาพ

แหงชาติไปพัฒนาขีดความสามารถดานการบริหารจัดการ องคกรที่มีวิธีปฏิบัติและผลการดําเนินการในระดับ

มาตรฐานโลกจะไดรับการประกาศเกียรติคุณดวยรางวัลคุณภาพแหงชาติ และองคกรที่ไดรับรางวัลจะนําเสนอ

วิธีปฏิบัติที่นําองคกรของตนไปสูความสําเร็จเพื่อเปนแบบอยางใหองคกรอื่นๆ นําไปประยุกต เพื่อใหประสบ

ผลสําเร็จเชนเดียวกัน ซึ่งเม่ือมีการขยายการดําเนินงานไปอยางกวางขวางยอมจะสงผลตอการพัฒนาขีด

ความสามารถในการแขงขันของประเทศใหสามารถแขงขันในตลาดการคาโลกได

รางวัลคุณภาพแหงชาติ ถือเปนรางวัลระดับโลก (World Class) เนื่องจากมีพื้นฐานทางดานเทคนิคและ

กระบวนการตัดสินรางวัลเชนเดียวกับรางวัลคุณภาพแหงชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ The Malcolm

Baldrige National Quality Award (MBNQA) ซึ่งเปนตนแบบรางวัลคุณภาพแหงชาติที่ประเทศตางๆ หลาย

ประเทศทั่วโลกนําไปประยุกต เชน ประเทศญี่ปุน ออสเตรเลีย สิงคโปร และฟลิปปนส เปนตน วิสัยทัศน “รางวัลคุณภาพแหงชาติเปนรางวัลอันทรงเกียรติซึ่งไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง เปนเคร่ืองหมาย

แสดงถึงความเปนเลิศในการบริหารจัดการขององคกร ที่ทัดเทียมระดับมาตรฐานโลก” วัตถุประสงค 1. สนับสนุนการนําแนวทางรางวัลคุณภาพแหงชาติไปใชในการปรับปรุงความสามารถในการแขงขัน

2. ประกาศเกียรติคุณใหกับองคกรที่ประสบผลสําเร็จในระดับมาตรฐานโลก

3. กระตุนใหมีการเรียนรูและแลกเปล่ียนวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ

4. แสดงใหนานาชาติเห็นถึงความมุงม่ันในการยกระดับมาตรฐานความเปนเลิศในการบริหารจัดการ ประโยชนตอองคกร องคกรภาครัฐ ภาคเอกชน ทุกประเภท ทุกขนาด ที่นําเกณฑเพื่อการดําเนินการที่เปนเลิศ ซึ่งเปนกรอบ

การประเมินคุณภาพระดับมาตรฐานโลกไปเปรียบเทียบกับระบบการบริหารจัดการของตน จะไดรับประโยชนใน

ทุกขั้นตอน เร่ิมจากการตรวจประเมินตนเอง ผูบริหารจะทราบถึงสภาพท่ีแทจริงวาระบบการบริหารจัดการของ

ตนยังขาดตกบกพรองในเร่ืองใด จึงสามารถกําหนดวิธีการและเปาหมายที่ชัดเจนในการจัดทําแผนปฏิบัติการ

และเม่ือองคกรปฏิบัติตามแผนจนบรรลุเปาหมายที่วางไว มีความพรอม และตัดสินใจสมัครรับรางวัล องคกรจะ

ไดรับการตรวจประเมินดวยกระบวนการท่ีมีประสิทธิผล โดยผูทรงคุณวุฒิจากหลากหลายสาขาอาชีพที่ไดรับการ

ฝกอบรมเพื่อเปนผูตรวจประเมินโดยเฉพาะ และไมวาองคกรจะผานเกณฑรับรางวัลหรือไมก็ตาม องคกรจะไดรับ

รายงานปอนกลับซึ่งระบุจุดแข็งและจุดที่ตองปรับปรุง ซึ่งนับเปนประโยชนตอการนําไปวางแผนปรับปรุงองคกร

ใหสมบูรณมากขึ้นตอไป

Page 223: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

218

องคกรที่ไดรับรางวัลจะเปนที่ยอมรับจากองคกรตางๆ ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ และมีสิทธิ์ใช

ตราสัญลักษณรางวัลคุณภาพแหงชาติ ซึ่งส่ือถึงความเปนเลิศในระบบการบริหารจัดการในการโฆษณา

ประชาสัมพันธองคกร รวมทั้งมีโอกาสสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของ

ประเทศ โดยการนําเสนอวิธีปฏิบัติที่นําไปสูความสําเร็จและเปดโอกาสใหมีการเขาเย่ียมชมสถานประกอบการ

เพื่อเปนแบบอยางใหกับองคกรอื่นๆ นําไปประยุกต เพื่อใหประสบผลสําเร็จเชนเดียวกัน จุดประสงคของเกณฑ เกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาติ เปนบรรทัดฐานสําหรับการประเมินตนเองขององคกร การคัดเลือกผู

ไดรับรางวัลคุณภาพแหงชาติ และการใหขอมูลปอนกลับแกองคกรที่สมัครรับรางวัล ย่ิงกวานั้นยังมีบทบาท

สําคัญสามประการในการเสริมสรางความสามารถในการแขงขันดังตอไปนี้

• ชวยในการปรับปรุงวิธีการดําเนินการ ขีดความสามารถ และผลลัพธขององคกร

• กระตุนใหมีการส่ือสารและแบงปนสารสนเทศวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศระหวางองคกรตางๆ ทุกประเภท

• เปนเคร่ืองมือที่สามารถนํามาใชในการทําความเขาใจและจัดการผลการดําเนินการขององคกร

รวมทั้งใชเปนแนวทางในการวางแผนและเพิ่มโอกาสในการเรียนรู

เกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาติ จัดทําขึ้นเพื่อชวยใหองคกรใชแนวทางท่ีบูรณาการในการจัดการผลการ

ดําเนินการ ซึ่งจะสงผลใหเกิด

• การสงมอบคุณคาที่ดีขึ้นเสมอใหแกลูกคา และผูมีสวนไดสวนเสีย ซึ่งจะสงผลตอความย่ังยืนของ

องคกร

• การปรับปรุงประสิทธิผลและขีดความสามารถขององคกรโดยรวม

• การเรียนรูขององคกรและของแตละบุคคล ระบบการใหคะแนน การใหคะแนนคําตอบในแตละหัวขอ และการใหขอมูลปอนกลับใหแกผูสมัครรับรางวัล จะขึ้นอยูกับ

การประเมินใน 2 มิติ คือ

(1) กระบวนการ

(2) ผลลัพธ

ผูที่นําเกณฑไปใชจะตองใหขอมูลที่สัมพันธกับมิติเหลานี้ ปจจัยของแตละมิติมีดังนี้ กระบวนการ “กระบวนการ” หมายถึง วิธีการที่องคกรใชและปรับปรุง เพื่อตอบสนองขอกําหนดตางๆ ของหัวขอใน

หมวด 1 - 6 ปจจัยทั้ง 4 ที่ใชประเมินกระบวนการ ไดแก "แนวทาง (Approach – A) การถายทอดเพื่อนําไป

ปฏิบัติ (Deployment – D) การเรียนรู (Learning – L) และการบูรณาการ (Integration – I)”

แนวทาง (Approach-A) หมายถึง

• วิธีการที่ใชเพื่อใหกระบวนการบรรลุผล

• ความเหมาะสมของวิธีการที่ตอบสนองขอกําหนดของหัวขอตางๆ ของเกณฑ และสภาพแวดลอมการ

ดําเนินงานขององคกร

• ความมีประสิทธิผลของการใชวิธีการตางๆ ขององคกร

• ระดับของการที่แนวทางนั้นนําไปใชซ้ําได และอยูบนพื้นฐานของขอมูลและสารสนเทศท่ีเช่ือถือได (ซึ่ง

หมายถึง การดําเนินการอยางเปนระบบ)

Page 224: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

219

การถายทอดเพื่อนําไปปฏิบัติ (Deployment – D) หมายถึง ความครอบคลุมและทั่วถึงของ

• การใชแนวทางเพื่อตอบสนองขอกําหนดของหัวขอที่มีความเก่ียวของและสําคัญตอองคกร

• การใชแนวทางอยางคงเสนคงวา

• การนําแนวทางไปใช (นําไปปฏิบัติ) ในทุกหนวยงานที่เหมาะสม

การเรียนรู (Learning-L) หมายถึง

• การปรับปรุงแนวทางใหดีขึ้น โดยใชวงจรการประเมินและการปรับปรุง

• การกระตุนใหเกิดการเปล่ียนแปลงอยางกาวกระโดดของแนวทาง ผานการสรางนวัตกรรม

• การแบงปนความรูที่ไดจากการปรับปรุงและการสรางนวัตกรรมกับหนวยงานและกระบวนการอื่นที่

เก่ียวของภายในองคกร

การบูรณาการ (Integration-I) หมายถึง ความครอบคลุมและทั่วถึง ของ

• แนวทางที่ใชสอดคลองไปในแนวทางเดียวกันกับความตองการขององคกรตามที่ระบุไวในโครงราง

องคกร และขอกําหนดของหัวขอตางๆ ในเกณฑ (หมวด 1 ถึง หมวด 6)

• การใชตัววัด สารสนเทศ และระบบการปรับปรุง ที่ชวยเสริมซึ่งกันและกัน ทั้งระหวางกระบวนการ

และระหวางหนวยงานทั่วทั้งองคกร

• แผนงาน กระบวนการ ผลลัพธ การวิเคราะห การเรียนรู และการปฏิบัติการ มีความสอดคลอง

กลมกลืนกันในทุกกระบวนการและหนวยงาน เพื่อสนับสนุนเปาประสงคระดับองคกร

ผลลัพธ

“ผลลัพธ” หมายถึง ผลผลิตและผลลัพธขององคกรที่บรรลุผลตามขอกําหนดในหัวขอ 7.1 ถึง 7.6

(หมวด 7) ปจจัยทั้ง 4 ที่ใชในการประเมินผลลัพธ ไดแก ระดับ (Level-L) แนวโนม (Trend-T) การเปรียบเทียบ

(Comparison-C) และบูรณาการ (Integration-I) (LeTCI) โดยมีความหมายดังตอไปนี้

“ระดับ” (Level – Le) หมายถึง

• ระดับผลการดําเนินการในปจจุบัน

“แนวโนม” (Trend – T) หมายถึง

• อัตราของการปรับปรุงผลการดําเนินการ หรือการรักษาไวของผลการดําเนินการท่ีดี (ความลาดชัน

ของแนวโนมของขอมูล)

• ความครอบคลุมของผลการดําเนินการขององคกรในเร่ืองตางๆ (ความครอบคลุมและทั่วถึงของการ

ถายทอดเพื่อนําไปปฏิบัติ) ของผลลัพธ

“การเปรียบเทียบ” (Comparison – C) หมายถึง

• ผลการดําเนินการขององคกรเปรียบเทียบกับสารสนเทศขององคกรอื่นอยางเหมาะสม เชน คูแขง

หรือองคกรที่คลายคลึงกัน

• ผลการดําเนินการที่เทียบเคียงกับระดับเทียบเคียง หรือองคกรที่เปนผูนําในอุตสาหกรรมหรือวงการ

เดียวกัน

“การบูรณาการ” (Integration – I) หมายถึง ความครอบคลุมและทั่วถึงของ

Page 225: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

220

• ตัววัดผลตางๆ (มักมีการจําแนกประเภท) ที่ระบุผลการดําเนินการดานลูกคารายสําคัญ ผลิตภัณฑ

ตลาด กระบวนการ และแผนปฏิบัติการท่ีระบุผลการดําเนินการท่ีตองการ ตามท่ีปรากฏอยูในโครงรางองคกร

และหัวขอที่อยูในหมวด 1-6

• ผลลัพธ รวมถึงดัชนีชี้วัดที่เช่ือถือไดสําหรับผลการดําเนินการในอนาคต

• ผลลัพธมีการสอดประสานอยางกลมกลืนในทุกกระบวนการและหนวยงานเพ่ือสนับสนุนเปาประสงค

ระดับองคกร

เกณฑคุณภาพการศึกษาเพ่ือการดําเนนิการที่เปนเลิศ

(Education Criteria for Performance Excellence (EdPEx))

เกณฑคุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการท่ีเปนเลิศ (Education Criteria for Performance

Excellence (EdPEx)) เปนเคร่ืองมือคุณภาพที่ไดรับการยอมรับในระดับสากลวาเปนเคร่ืองมือที่มีประสิทธิภาพ

ในการพัฒนาองคการสูความเปนเลิศ นอกจากน้ี EdPEx ยังเปนเกณฑที่สามารถนํามาเปนกรอบในการ

ดําเนินงานบริหารจัดการการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาใหมีคุณภาพและพัฒนาสูความเปนเลิศไดอยางกาว

กระโดดและย่ังยืน

กรอบเกณฑคุณภาพการศึกษาเพ่ือการดําเนินการทีเ่ปนเลิศ

Page 226: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

221

กรอบของเกณฑคุณภาพการศึกษาเพ่ือการดําเนินการที่เปนเลิศ ขอกําหนดตางๆ ของเกณฑคุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการที่เปนเลิศนั้น สามารถจัดแบง

ออกเปน 7 หมวดดวยกัน คือ

หมวด 1 การนําองคกร

หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ

หมวด 3 การมุงเนนลูกคา

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรู

หมวด 5 การมุงเนนผูปฏิบัติงาน

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ

หมวด 7 ผลลัพธ โครงรางองคกร

โครงรางองคกรเปนการบงบอกถึงบริบทและอธิบายวิธีการปฏิบัติการขององคกร สภาพแวดลอม

การดําเนินการ ความสัมพันธที่สําคัญในการปฏิบัติการและความทาทายเชิงกลยุทธ ซึ่งเปนแนวทางที่ครอบคลุม

ระบบการจัดการการดําเนินการองคกรโดยรวม ระบบการปฏิบัติการ ระบบการปฏิบัติการประกอบดวยเกณฑทั้ง 6 หมวดอยูที่สวนกลางของภาพ ซึ่งระบุลักษณะของ

การปฏิบัติการและผลลัพธที่องคกรบรรลุ

การนําองคกร (หมวด 1) การวางแผนเชิงกลยุทธ (หมวด 2) และการมุงเนนลูกคา (หมวด 3)

ประกอบกันเปนกลุมการนําองคกร หมวดตางๆเหลานี้ถูกจัดเขาไวดวยกันเพื่อเนนใหเห็นความสําคัญวาการนํา

องคกรตองมุงเนนที่ กลยุทธ ผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย ผูนําระดับสูงตองกําหนดทิศทางขององคกรและ

แสวงหาโอกาสดานการจัดการศึกษาในอนาคต

การมุงเนนผูปฏิบัติงาน (หมวด 5) และการจัดการกระบวนการ (หมวด 6) และผลลัพธ (หมวด 7)

ประกอบกับเปนกลุมผลลัพธ โดยผูปฏิบัติงานและกระบวนการที่สําคัญ มีบทบาททําใหการดําเนินการสําเร็จและ

นําไปสูผลการดําเนินการโดยรวมที่ดีขององคกร

การปฏิบัติการทุกอยางมุงสูผลลัพธ ซึ่งประกอบดวยผลลัพธของผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ตลาด

งบประมาณ การเงิน และผลลัพธการดําเนินการภายในองคกร โดยรวมถึง ผูปฏิบัติงาน การนําองคกร ธรรมาภิ

บาล และความรับผิดชอบตอสังคม

การเช่ือมโยงกลุมการนําองคกรเขากับกลุมผลลัพธ มีความสําคัญอยางย่ิงตอความสําเร็จของ

องคกร แสดงถึงความสัมพันธโดยตรงระหวาการนําองคกร (หมวด 1) และผลลัพธ (หมวด 7) และแสดง

ความสําคัญของขอมูลปอนกลับในระบบการจัดการผลการดําเนินการที่มีประสิทธิผล พ้ืนฐานของระบบ การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรู (หมวด 4) มีความสําคัญอยางย่ิงในการทําใหองคกร

มีการจัดการท่ีมีประสิทธิผล และมีการปรับปรุงผลการดําเนินการและความสามารถในการแขงขันโดยระบบท่ีใช

ขอมูลจริงและองคความรูเปนแรงผลักดัน การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรูนี้ เปนพื้นฐานของระบบ

การจัดการผลการดําเนินการโดยรวม

Page 227: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

222

โครงสรางเกณฑ เกณฑทั้ง 7 หมวด ในภาพนี้ ประกอบดวยหัวขอและประเด็นพิจารณาตางๆ

หัวขอ หัวขอทั้งหมด มี 18 หัวขอ แตละหัวขอมุงเนนขอกําหนดที่สําคัญ

ประเด็นพิจารณา ในแตละหัวขอมีประเด็นพิจารณาอยางนอยหนึ่งประเด็น องคกรจึงควรตอบคําถามตาม

ขอกําหนดตางๆ ของแตละประเด็นพิจารณา

Page 228: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

223

คะแนนของเกณฑคุณภาพการศึกษาเพ่ือการดําเนนิการทีเ่ปนเลิศ 2552-2553 บทนํา : โครงรางองคกร

สวนที่ 1 ลักษณะองคกร

สวนที่ 2 ความทาทายตอองคกร หมวดและหัวขอตางๆ คะแนน หมวด 1 การนําองคกร 120

หัวขอ 1.1 การนําองคกรโดยผูนําระดับสูง 70

หัวขอ 1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบตอสังคม 50

หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ 85

หัวขอ 2.1 การจัดทํากลยุทธ 40

หัวขอ 2.2 การนํากลยุทธไปปฏิบัติ 45

หมวด 3 การมุงเนนลูกคา 85

หัวขอ 3.1 ความผูกพันของลูกคา 40

หัวขอ 3.2 เสียงของลูกคา 45

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรู 90

หัวขอ 4.1 การวัด การวิเคราะห และการปรับปรุงผลการดําเนินการ 45

ขององคกร

หัวขอ 4.2 การจัดการสารสนเทศ ความรู และเทคโนโลยีสารสนเทศ 45

หมวด 5 การมุงเนนผูปฏิบัติงาน 85

หัวขอ 5.1 ความผูกพันของผูปฏิบัติงาน 45

หัวขอ 5.2 สภาพแวดลอมของผูปฏิบัติงาน 40

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 85

หัวขอ 6.1 ระบบงาน 35

หัวขอ 6.2 กระบวนการทํางาน 50

หมวด 7 ผลลัพธ 450

หัวขอ 7.1 ผลลัพธดานการเรียนรูของผูเรียน 100

หัวขอ 7.2 ผลลัพธดานการมุงเนนลูกคา 70

หัวขอ 7.3 ผลลัพธดานงบประมาณ การเงินและการตลาด 70

หัวขอ 7.4 ผลลัพธดานการมุงเนนผูปฏิบัติงาน 70

หัวขอ 7.5 ผลลัพธดานประสิทธิผลขององคกร 70

หัวขอ 7.6 ผลลัพธดานการนําองคกร 70 คะแนนรวม

1,000

Page 229: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

224

การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 (สกอ.) จุดมุงหมายของการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในก็เพื่อตรวจสอบและประเมินการดําเนินงานของ

สถาบันตามระบบและกลไกท่ีสถาบันนั้นๆ ไดกําหนดขึ้น ทั้งนี้ เพื่อใหสถาบันไดทราบสถานภาพท่ีแทจริง อันจะ

นําไปสูการกําหนดแนวทางและพัฒนาคุณภาพตามเกณฑและมาตรฐานที่ต้ังไวอยางตอเนื่อง โดยมี

องคประกอบคุณภาพ ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมิน 9 องคประกอบ ดังนี้

องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

องคประกอบที่ 4 การวิจัย

องคประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแกสังคม

องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (สมศ. 2554) วัตถุประสงคของการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม 1. เพื่อใหทราบระดับคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาในการดําเนินภารกิจดานตางๆ

2. เพื่อกระตุนเตือนใหสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

อยางตอเนื่อง

3. เพื่อใหทราบความกาวหนาของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา

4. เพื่อรายงานสถานภาพและพัฒนาการในดานคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษาตอ

สาธารณชนและหนวยงานที่เก่ียวของ

ตัวบงชี้การประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม แบงเปน 3 กลุม คือ ตัวบงชี้พื้นฐาน ตัว

บงช้ีอัตลักษณ และตัวบงชี้มาตรการสงเสริม ดังนี้

ตัวบงช้ีพ้ืนฐาน หมายถึง สกอ.ตัวบงชี้ที่ สมศ. ประเมินภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา โดยกําหนดตัว

บงช้ี และเกณฑการประเมินบนพื้นฐานที่ทุกสถาบันอุดมศึกษาตองมีและปฏิบัติได ซึ่งสามารถชี้ผลหรือ

ผลกระทบไดดี และมีความเช่ือมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน ซึ่งเปนการพัฒนามาจากรอบแรกและรอบท่ี

สอง ประกอบดวย 6 ดาน 15 ตัวบงชี้

ตัวบงช้ีอัตลักษณ หมายถึง สกอ.ตัวบงชี้ที่ สมศ. ประเมินเอกลักษณ ปรัชญา นวัตกรรม จุดเดน

ลักษณะพิเศษ โดยสถาบันอุดมศึกษาเปนผูระบุและเลือกดําเนินการตามกลุมและจุดเดนของสถาบันโดยไดรับ

การอนุมัติจากสภาสถาบัน และแจงใหสมศ.ทราบลวงหนา ประกอบดวย 2 ตัวบงชี้ (ตัวบงชี้ทื่ 16 และ 17

สําหรับสกอ.ตัวบงชี้ที่ 16 เลือก 2 จาก 6 ตัวบงชี้ยอย)

ตัวบงช้ีมาตรการสงเสริม หมายถึง สกอ.ตัวบงช้ีที่ สมศ. ประเมินผลการดําเนินงานของ

สถาบันอุดมศึกษา

Page 230: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

225

โดยสถาบันเปนผูกําหนดแนวทางพัฒนาเพื่อรวมกันแกไขปญหาสังคมตามนโยบายของรัฐหรือของประเทศ ซึ่ง

สามารถปรับเปล่ียนตามกาลเวลาและปญหาสังคมที่เปล่ียนไป โดยมีเปาหมายที่แสดงถึงความเปนผูชี้นําสังคม

และแกปญหาสังคมของสถาบันอุดมศึกษาในการช้ีนําเร่ืองตางๆ เชน การสงเสริมและสืบสานโครงการมาจาก

พระราชดําริ ความรักชาติ บํารุงศาสนาและเทิดทูนพระมหากษัตริย สุขภาพคานิยมและจิตสาธารณะ ความคิด

สรางสรรค ผูดอยโอกาสและผูสูงอายุ นโยบายรัฐบาล เศรษฐกิจ การพรอมรับการเปนสมาชิกสังคมอาเซียน

พลังงานส่ิงแวดลอม อุบัติภัย ส่ิงเสพติด ความฟุมเฟอย การแกปญหาความขัดแยง สรางสังคมสันติสุขและความ

ปรองดอง ฯลฯ ประกอบดวย 1 ตัวบงชี้ (เลือกดําเนินการ 2 เร่ือง)

การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํา รับรองการปฏิบัติราชการของสถาบันอุดมศึกษา

ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ก.พ.ร.) การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํา รับรองการปฏิบัติราชการของสถาบันอุดมศึกษา มี

วัตถุประสงค (1) เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษามีการปฏิบัติราชการท่ีสอดคลองกับหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่

ดี (2) เพื่อนําผลการประเมินการปฏิบัติราชการมาจัดสรรส่ิงจูงใจแกสถาบันอุดมศึกษาไดอยางเหมาะสมและเปน

ธรรม โดยมีรายละเอียดของกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสถาบันอุดมศึกษา ดังนี้

มิติที่ 1: มิติดานประสิทธิผล แสดงถึงผลที่บรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายตามแผน ปฏิบัติราชการ

และพันธกิจหลักที่ไดกําหนดซ่ึงสะทอนเอกลักษณและจุดเนนของสถาบันอุดมศึกษา

มิติที่ 2 : มิติดานคุณภาพแสดงถึงการใหความสําคัญกับการใหบริการที่มีคุณภาพของสถาบัน

อุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

มิติที่ 3: มิติดานประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ แสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการ ไดแก

การบริหารงบประมาณ การรักษามาตรฐานระยะเวลาการใหบริการ การจัดทําตนทุนตอหนวย และประสิทธิภาพ

การใชพลังงาน

มิติที่ 4 : มิติดานการพัฒนาสถาบัน แสดงความสามารถในการบริหารการศึกษาการเสริมสรางธรรมา

ภิบาล การใหความสําคัญกับผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย การจัดการสารสนเทศ การพัฒนาบุคลากร การ

ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย การพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน และการพัฒนาคุณภาพ

การบริหารจัดการภาครัฐ

Page 231: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

226

การสังเคราะหความเช่ือมโยงระหวางเกณฑ EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และ มคอ. การสังเคราะหความเชื่อมโยงระหวางเกณฑ EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และ มคอ. มีรายละเอียดตาม

ตาราง ดังนี้

EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และ มคอ. หมายเหตุ : อักษรตัวหนา หมายความวา ตองการคําแนะนําจากผูบริหารและคณะกรรมการกลยุทธ

บทนํา : โครงรางองคกร ประวัติ แผนกลยุทธ

1. ลักษณะองคกร : คุณลักษณะที่สําคัญของสถาบันของทานคืออะไร ประวัติ อัตลักษณ พันธกิจ

ใหอธิบายลักษณะสภาพแวดลอมของสถาบันและความสัมพันธหลักกับผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ผูสงมอบ และคูความรวมมืออ่ืนๆ

ประวัติ แผนกลยุทธ

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 ความสัมพันธหลักกับผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ผูสงมอบ และคูความรวมมืออ่ืนๆ

ก. สภาพแวดลอมขององคกร (1) สถาบันมีหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรูและบริการทางการศึกษาอื่นๆ ที่สําคัญ

อะไรบาง สถาบันใชวิธีการอะไรในการจัดหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรูและบริการทาง

การศึกษาอื่นๆ

(2) ลักษณะที่สําคัญของวัฒนธรรมองคกรคืออะไรจุดประสงค วิสัยทัศน คานิยม และพันธ

กิจที่ระบุไวของสถาบันคืออะไร สมรรถะหลักของสถาบันคืออะไร และมีความเก่ียวของ

อยางไรกับพันธกิจของสถาบัน

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7

บริการที่สงเสริมการเรียนรู

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.8

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.2

บริการทางการศึกษาอื่นๆ ที่สําคัญ

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.5

ดุสิตโพล

โรงแรมดุสิตเพลส

โฮมเบอรเกอร่ี วัฒนธรรมองคกร สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1

อัตลักษณ

แผนกลยุทธ สมรรถะหลักของสถาบัน

Page 232: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

227

(3) ลักษณะโดยรวมของผูปฏิบัติงานคืออะไร แบงเปนกลุมและประเภทอะไรบาง ระดับ

การศึกษาของผูปฏิบัติงานเปนอยางไร ปจจัยหลักที่จูงใจใหผูปฏิบัติงานมุงมั่นตอการ

บรรลุพันธกิจของสถาบันคืออะไร ผูปฏิบัติงานและภาระงานในสถาบันมีความหลากหลาย

อยางไร มีกลุมที่จัดตั้งใหทําหนาที่ตอรองกับสถาบันหรือไม สวัสดิการที่สําคัญ และ

ขอกําหนดพิเศษดานสุขภาพและความปลอดภัยภายในสถาบันเปนเชนใด

(4) สถาบันมีอาคารสถานท่ี เทคโนโลยี อุปกรณ และส่ิงอํานวยความสะดวกที่สําคัญ

อะไรบาง

(5) สถาบันดําเนินงานภายใตเงื่อนไขขอบังคับอะไรบาง มาตรฐานของทองถ่ิน จังหวัด และ

ประเทศ ตลอดจนหลักสูตร แผนการศึกษา และการวัดผลที่บังคับใชมีอะไรบาง ทั้งนี้รวมถึง

กฎระเบียบเร่ืองความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ขอกําหนดดานการรับรองวิทยฐานะ เงื่อนไข

ดานการประกอบวิชาชีพครูและผูบริหาร ระเบียบการเงินและสภาพแวดลอม ขอบเขตของ

ชุมชนที่รับผิดชอบ และขอจํากัดการใหบรกิารของสถาบันคืออะไร

ข. ความสัมพันธระดับองคกร (1) โครงสรางและระบบธรรมาภิบาลของสถาบันมีลักษณะอยางไร และความสัมพันธเชิงการ

รายงานระหวางคณะกรรมการบริหารสถาบันและผูนําระดับสูงมีลักษณะเชนใด การรายงาน

ระหวางผูนําระดับสูงของสถาบันกับคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยหรือสภาสถาบัน

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.3

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.4 ปจจัยหลักที่จูงใจใหผูปฏิบัติงานมุงมั่นตอการบรรลุพันธกิจของสถาบัน กลุมที่จัดตั้งใหทําหนาทีต่อรองกับสถาบัน สวัสดิการ

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัด 15.1 ขอกําหนดพิเศษดานสุขภาพและความปลอดภัยภายในสถาบัน ตังบงชี้ที่ 2.5

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 4.1

กฎหมายที่เก่ียวของกับการศึกษา

เงื่อนไขขอบงัคับ

มาตรฐานของทองถ่ิน จังหวัด และ

ประเทศ

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 4.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.3

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 8.1

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 8.2 ขอบเขตของชุมชนที่รับผิดชอบ ขอจํากัดการใหบริการของสถาบัน

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1

คณะกรรมการติดตามตรวจสอบและ

ประเมินผลของมหาวิทยาลัย

Page 233: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

228

(2) สวนตลาด ประเภทผูเรียน และกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ที่สําคัญของสถาบันคืออะไร

กลุมเหลานี้มีความตองการและความคาดหวังที่สําคัญอะไรตอหลักสูตร บริการที่สงเสริม

การเรียนรู การสนับสนุนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย และตอการปฏิบัติงานของสถาบัน

ความตองการและความคาดหวังของกลุมตางๆ มีความแตกตางกันอยางไร

(3) ผูสงมอบและคูความรวมมือที่เปนทางการและไมเปนทางการที่สําคัญคือใครบาง มี

บทบาทอะไรในการจัดหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรูและสนับสนุนผูเรียนและผูมีสวนได

สวนเสีย สถาบันมีกลไกที่สําคัญอะไรในการส่ือสารและจัดการดานความสัมพันธกับ ผูสงมอบ

ผูเรียน และผูมีสวนไดสวนเสีย กลุมตางๆ เหลานี้มีบทบาทอะไรในกระบวนการสรางนวัตกรรม

ของสถาบัน และสถาบันมีขอกําหนดที่สําคัญอะไรสําหรับผูสงมอบ

แผนกลยุทธ

หลักสูตร

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 สวนตลาด ประเภทผูเรียน และกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ความตองการและความคาดหวัง

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 ผูสงมอบและคูความรวมมือที่เปนทางการและไมเปนทางการ สถาบันมีกลไกที่สําคัญอะไรในการส่ือสาร สถาบันมีขอกําหนดที่สําคัญอะไรสําหรับผูสงมอบ

2. สภาวะการณขององคกร : สภาวะการณเชิงกลยุทธของสถาบันเปนอยางไร สภาวะการณเชิงกลยุทธของสถาบัน แผนกลยุทธ

ใหอธิบายสภาพแวดลอมดานการแขงขัน ความทาทายและความไดเปรียบเชิงกลยุทธที่

สําคัญ และระบบการปรับปรุงผลการดําเนินการของสถาบัน

-สภาพแวดลอมดานการแขงขัน ความทาทาย -ความไดเปรียบเชิงกลยุทธ -ระบบการปรับปรุงผลการดําเนินการของสถาบัน

ก. สภาพดานการแขงขัน (1) สถาบันอยูในลําดับใดในการแขงขัน ใหอธิบายขนาดและการเติบโตของสถาบัน เม่ือ

เปรียบเทียบกับสถาบันในภาคการศึกษาหรือตลาดการศึกษา จํานวนและประเภทของคูแขง

และคูความรวมมืออยางไมเปนทางการที่สําคัญเปนอยางไร (2) อะไรคือปจจัยสําคัญที่กําหนดความสําเร็จของสถาบันเม่ือเปรียบเทียบกับความสําเร็จของ

คูแขง และสถาบันซึ่งใหบริการในลักษณะเดียวกัน อะไรคือการเปล่ียนแปลงหลักที่เกิดขึ้นซึ่ง

สงผลกระทบตอสภาพ การแขงขันของสถาบัน รวมถึงโอกาสในการสรางนวตักรรมและความ

รวมมือ

แผนกลยุทธ สถาบันอยูในลําดับใดในการแขงขัน จํานวนและประเภทของคูแขงและคูความรวมมืออยางไมเปนทางการ ปจจัยสําคัญที่กําหนดความสําเร็จของสถาบัน การเปลี่ยนแปลงหลักที่เกิดขึ้นซึ่งสงผลกระทบ

Page 234: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

229

(3) แหลงขอมูลสําคัญที่มีอยูสําหรับขอมูลเชิงเปรียบเทียบและเชิงแขงขันภายในชุมชน

วิชาการมีอะไรบาง แหลงขอมูลสําคัญที่มีอยูสําหรับขอมูลเชิงเปรียบเทียบสําหรับกระบวนการ

ที่คลายคลึงกันภายนอกชุมชนวิชาการคืออะไร และมีขอจํากัดอะไรบางในการรวบรวมขอมูล

เหลานั้น

ข. ความทาทายเชิงกลยุทธ ความทาทายและความไดเปรียบเชิงกลยุทธที่สําคัญดานการศึกษา และการเรียนรู ดาน

การปฏิบัติการ ดานทรัพยากรบุคคล และดานชุมชนของสถาบันคืออะไร ความทาทายเชิงกล

ยุทธ และความไดเปรียบที่สําคัญที่เก่ียวของกับความย่ังยืนของสถาบันคืออะไร

ค. ระบบการปรับปรุงผลการดําเนินการ สวนประกอบที่สําคัญของระบบการปรับปรุงผลการดําเนินการ ซึ่งรวมถึงการประเมินผล

การเรียนรูระดับองคกร และกระบวนการสรางนวัตกรรมของสถาบันมีอะไรบาง

แหลงขอมูลสําคัญที่มีอยูสําหรับขอมูลเชิงเปรียบเทียบและเชิงแขงขัน ความทาทายเชิงกลยุทธ ความไดเปรียบที่สําคัญ

EdPex ประกันคุณภาพ

PDCA ADLI ระบบการปรับปรุงผลการดําเนินการ กระบวนการสรางนวัตกรรม

Page 235: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

230

EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และ มคอ. หมายเหตุ : อักษรตัวหนา หมายความวา ตองการ

คําแนะนําจากผูบริหารและคณะกรรมการกลยุทธ

หมวด 1 การนาํสถาบัน

1.1 การนําสถาบันโดยผูนําระดับสูง : ผูนําระดับสูงนําสถาบันอยางไร สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1

ใหอธิบายถึงการกระทําของผูนําระดับสูงในการชี้นําและทําใหสถาบันมีความย่ังยืน รวมทั้ง

อธิบายวิธีการที่ผูนําระดับสูงส่ือสารกับผูปฏิบัติงาน และสงเสริมใหมีผลการดําเนินการที่ดี

ย่ิงขึ้น

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 2 , 3

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 5

ก. วิสัยทัศน คานิยม และพันธกิจ (1) ผูนําระดับสูงดําเนินการอยางไรในการกําหนดวิสัยทัศนและคานิยม รวมถึงถายทอด

วิสัยทัศนและคานิยมเพื่อนําไปปฏิบัติโดยผานระบบการนําสถาบันไปยังผูปฏิบัติ ผูสงมอบและ

คูความรวมมือที่เปนทางการและผูสงมอบหลัก รวมทั้งผูเรียน และผูมีสวนไดสวนเสียอื่นๆ

เพื่อใหนําไปปฏิบัติ การปฏิบัติตนของผูนําระดับสูงไดแสดงใหเห็นถึงความมุงม่ันที่มีตอ

คานิยมของสถาบันอยางไร

(2) ผูนําระดับสูงดําเนินการดวยตนเองอยางไรในการสรางบรรยากาศในสถาบันเพื่อสงเสริม

กํากับ และสงผล ใหมีการประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม

(3) ผูนําระดับสูง ดําเนินการอยางไรที่จะทําใหสถาบันมีความย่ังยืน ผูนําระดับสูงดําเนินการ

อยางไรในการสรางบรรยากาศเพ่ือใหเกิดการปรับปรุงผลการดําเนินการ การบรรลุพันธกิจ

และวัตถุประสงคเชิงกลยุทธ การสรางนวัตกรรม ความคลองตัวของสถาบัน และมีผลการ

ดําเนินการที่เหนือกวาคูแขงหรือเปนแบบอยางที่ดีใหแกสถาบันอื่นๆ รวมทั้งการสราง

บรรยากาศเพื่อใหเกิดการเรียนรูทั้งในระดับสถาบันและระดับบุคคล ผูนําระดับสูงพัฒนาและ

เสริมสรางทักษะความเปนผูนําของพวกเขาอยางไร นอกจากนี้ผูนําระดับสูงมีสวนรวมในการ

เรียนรูระดับองคการ การวางแผนสืบทอดตําแหนง และการพัฒนาผูนําในอนาคตของ

สถาบันอยางไร

ข. การส่ือสารและผลการดําเนินการของสถาบัน (1) ผูนําระดับสูงดําเนินการอยางไรในการส่ือสารและสรางความผูกพันกับผูปฏิบัติงานทั้ง

สถาบัน การสงเสริมใหมีการส่ือสารที่ตรงไปตรงมา และเปนไปในลักษณะสองทิศทางทั่วทั้ง

สถาบัน การส่ือสารใหทราบถึงผลการตัดสินใจที่สําคัญๆ การมีบทบาทในเชิงรุกในการ

ใหรางวัลและยกยองชมเชยเพ่ือเสริมสรางใหมีผลการดําเนินการทีด่ีย่ิงขึน้ รวมทั้งการ

ใหความสําคัญกับสถาบัน ผูเรียน และผูมีสวนไดสวนเสีย

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 2 , 3 , 5

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1 เกณฑ 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 เกณฑ 4

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7 เกณฑ 1 , 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 9.1 เกณฑ 7

แผนกลยุทธ , โครงรางสถาบัน

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.7 เกณฑ 4 , 5 , 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.4 เกณฑ 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 4 , 5

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.2 เกณฑ 2 , 3

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.2 เกณฑ 1 , 2 , 3

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 5

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.2 เกณฑ 3 การวางแผนสืบทอดตําแหนง การพัฒนาผูนาํในอนาคตของสถาบัน

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 2 , 3 , 4 , 5

, 6 การส่ือสารใหทราบถึงผลการตัดสินใจที่สําคัญๆ การมีบทบาทในเชิงรุกในการใหรางวัลและยกยองชมเชยเพ่ือเสริมสรางใหมีผลการดําเนินการที่ดีย่ิงขึ้น

Page 236: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

231

(2) ผูนําระดับสูงดําเนินการอยางไร ในการทําใหเกิดการปฏิบัติการอยางจริงจังที่ทําใหสถาบัน

ปรับปรุงผลการดําเนินการ บรรลุวัตถุประสงคและวิสัยทัศนของสถาบัน ผูนําระดับสูงทบทวน

ตัววัดผลการดําเนินการอะไรบางเปนประจําเพื่อระบุส่ิงที่ตองทํา ในการต้ังความคาดหวังตอผล

การดําเนินการ ผูนําระดับสูงคํานึงถึงและดําเนินการอยางไรในการนําเร่ืองการสราง

คุณคาและทําใหเกิดความสมดุลของคุณคาที่ใหกับผูเรียน และผูมีสวนไดสวนเสียมาพิจารณา

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 2 , 3

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 เกณฑ 1 , 4 , 5

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 เกณฑ 1, 4

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 เกณฑ 1

(รวมถึง สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1 เกณฑ 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 เกณฑ 4

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7 เกณฑ 1 , 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 9.1 เกณฑ 7)

1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบตอสังคม : สถาบันดําเนินการอยางไรในการกํากับดูแล และทําใหบรรลุผลดานความรับผิดชอบตอสังคม

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.4

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 8.1

ใหอธิบายถึงระบบธรรมาภิบาลและแนวทางปรับปรุงระบบการนํา อธิบายวิธีการที่สถาบัน

สรางความม่ันใจวามีการดําเนินการอยางถูกตองตามกฎหมายและจริยธรรม ทําใหบรรลุผล

ดานความรับผิดชอบตอสังคม และสนับสนุนชุมชนที่สําคัญ

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 1 , 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 3 , 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.4 เกณฑ 1 , 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 8.1 เกณฑ 2 , 6 ,7

ก. ระบบธรรมาภิบาลขององคการ (1) สถาบันดําเนินการอยางไรในการทบทวนและทําใหสถาบันประสบความสําเร็จในเร่ืองตางๆ

ที่สําคัญในระบบธรรมาภิบาล

ความรับผิดชอบในการกระทําของผูบริหาร

ความรับผิดชอบดานการเงิน

ความโปรงใสในการดําเนินการ การสรรหาคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย/สภาสถาบัน

และนโยบายในเรื่องการเปดเผยขอมูลของสถาบัน

การตรวจสอบภายในและภายนอกที่เปนอิสระ การปกปองผลประโยชนของผูถือหุนและผูมี

สวนไดสวนเสีย

(2) สถาบันดําเนินการอยางไรในการประเมินผลการดําเนินการของผูนําระดับสูง ซึ่งรวมถึงผูนํา

สูงสุดดวย รวมท้ังการประเมินผลการดําเนินการของคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย/สภา

สถาบัน ผูนําระดับสูงและคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย/สภาสถาบัน ใชผลการประเมินผล

การดําเนินการขางตนไปพัฒนาตอและปรับปรุงประสิทธิผลของภาวะผูนําเปนรายบุคคล ของ

คณะกรรมการ และระบบการนําองคการอยางไร

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.4 เกณฑ 1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 8.1 เกณฑ 2 , 4 , 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.4 เกณฑ 2 นโยบายในเร่ืองการเปดเผยขอมูลของสถาบัน สกอ.ตัวบงชี้ที่ 8.1 เกณฑ 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 7

คณะกรรมการติดตามตรวจสอบและ

ประเมินผลของมหาวิทยาลัย

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 15.1 , 16

Page 237: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

232

ข. การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและจริยธรรม

(1) สถาบันดําเนินการอยางไรในกรณีที่ หลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรูและบริการทาง

การศึกษาอื่นๆ และการดําเนินการของสถาบันมีผลกระทบในเชิงลบตอสังคม สถาบันได

คาดการณลวงหนาถึงความกังวลของสังคมที่มีตอหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรูและ

บริการทางการศึกษาอื่นๆ ตลอดจนการดําเนินการของสถาบันทั้งในปจจุบันและอนาคต

อยางๆร สถาบันมีการดําเนินการเชิงรุกในประเด็นดังกลาวอยางไร ทั้งนี้รวมถึงการอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติและใชกระบวนการจัดการผูสงมอบ

สถาบันมีกระบวนการ ตัววัด และเปาประสงคหลักอะไรบาง ในเร่ืองที่เก่ียวกับความปลอดภัย

การรับรองมาตรฐาน และขอกําหนดทางกฎหมายเพ่ือใหเปนไปตามระเบียบขอบังคับที่กําหนด

หรือดีกวาที่กําหนด สถาบันมีกระบวนการ ตัววัด และเปาประสงคหลักอะไรในการดําเนินการ

เร่ืองความเส่ียงที่เก่ียวของกับหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรูและบริการทางการศึกษา

อื่นๆ และการดําเนินการของสถาบนั

(2) สถาบันดําเนินการอยางไรในการสงเสริมและสรางความม่ันใจวาปฏิสัมพันธทุกดานของ

สถาบันมีการประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรม สถาบันมีกระบวนการหลัก และตัววัดหรือตัว

บงชี้หลักอะไรในการสงเสริมและกํากับดูแลใหมีการประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรมภายใต

โครงสรางระบบธรรมาภิบาลและตลอดทั่วทั้งสถาบัน รวมทั้งในการปฏิสัมพันธกับผูเรียน ผูมี

สวนไดสวนเสีย ผูสงมอบและคูความรวมมืออยางเปนทางการ สถาบันมีวิธีการอยางไรในการ

กํากับดูแล และดําเนินการในกรณีที่มีการกระทําที่ขัดตอจริยธรรม

ค. ความรับผิดชอบตอสังคมในภาพใหญ และการสนับสนุนชุมชนที่สําคัญ (1) สถาบันคํานึงถึงความผาสุกและผลประโยชนของสังคมเปนสวนหนึ่งในกลยุทธ และการ

ปฏิบัติการประจําวันอยางไร รวมถึงการสรางความสมบูรณใหกับสภาพแวดลอม เศรษฐกิจ

และสังคมที่สถาบันดําเนินการอยูหรืออาจใหการสนับสนุนได

(2) สถาบันดําเนินการอยางไรในการสนับสนุนและสรางความเขมแข็งใหแกชุมชนที่สําคัญ

อยางจริงจัง ชุมชนใดคือชุมชนที่สําคัญของสถาบัน และสถาบันมีวิธีการกําหนดชุมชน

ดังกลาวอยางไร และกําหนดเร่ืองที่สถาบันเขาไปมีสวนรวม รวมถึงเร่ืองที่อาจใชสมรรถนะหลัก

ขององคการ ผูนําระดับสูงไดรวมกับผูปฏิบัติงานในการพัฒนาชุมชนนั้นอยางไร

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 5.2 เกณฑ 1 , 2 , 3 ผลกระทบในเชิงลบตอสังคม ตัวบงชี้ 9.1 เกณฑ 3

โครงการพระราชดําริ

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.5 เกณฑ 3 , 4 , 5

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.4 เกณฑ 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.5 เกณฑ 1 , 2 , 3 , 4

, 5

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.4 เกณฑ 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 2 , 6 , 7

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.4 เกณฑ 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 4.1 เกณฑ 3

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 16

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.8 เกณฑ 1 , 2

(รวมถึง สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1 เกณฑ 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 เกณฑ 4

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7 เกณฑ 1 , 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 9.1 เกณฑ 7)

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 5.2 เกณฑ 1 , 2 , 3 , 5

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 9.1 เกณฑ 3

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 5.2 เกณฑ 1 , 2 , 3 , 5 ชุมชนที่สําคัญของสถาบัน ผูนําระดับสูงไดรวมกับผูปฏิบัติงานใน

การพัฒนาชุมชน

Page 238: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

233

EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และ มคอ. หมายเหตุ : อักษรตัวหนา หมายความวา ตองการ

คําแนะนําจากผูบริหารและคณะกรรมการกลยุทธ

หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ

2.1 การจัดทํากลยุทธ : องคการจัดทํากลยุทธอยางไร สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1

ใหอธิบายการสรางกลยุทธของสถาบัน ที่ใหความสําคัญกับความทาทายเชิงกลยุทธ และ

เสริมสรางความไดเปรียบเชิงกลยุทธ รวมทั้งสรุปวัตถุประสงคเชิงกลยุทธที่สําคัญของสถาบัน

และเปาประสงคที่เก่ียวของ

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 เกณฑ 1

แผนกลยุทธมหาวิทยาลัย

ก. กระบวนการจัดทํากลยุทธ (1) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการวางแผนเชิงกลยุทธ ขั้นตอนที่สําคัญของกระบวนการจัดทํา

กลยุทธมีอะไรบาง และผูเก่ียวของที่สําคัญมีใครบาง กระบวนการดังกลาวสามารถระบุจุด

บอดที่อาจเกิดขึ้นไดอยางไร สถาบันมีวิธีการอยางไรในการกําหนดสมรรถนะหลักของ

องคการ ความทาทายเชิงกลยุทธ และความไดเปรียบเชิงกลยุทธ (ที่อธิบายไวในโครง

รางองคการ) กรอบเวลาของการวางแผนระยะสั้นและระยะยาวคืออะไร สถาบันมีวิธีการ

อยางไรในการกําหนดกรอบเวลา และทําใหกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธมีความสอดคลอง

กับกรอบเวลาดังกลาว

(2) สถาบันมีวิธีการอยางไรเพื่อทําใหม่ันใจวาไดนําปจจัยที่สําคัญตอไปนี้มาประกอบการ

วางแผนเชิงกลยุทธ สถาบันมีวิธีการอยางไรในการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลและสารสนเทศ

ที่เก่ียวของกับปจจัยเหลานี้ มาใชในกระบวนการวางแผนกลยุทธ

จุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรคของสถาบัน

สัญญาณบงช้ีแตเนิ่นๆ ถึงความเส่ียงหรือการเปล่ียนแปลงที่สําคัญดานเทคโนโลยี หลักสูตร

บริการที่สงเสริมการเรียนรูและบริการทางการศึกษาอื่นๆ ผูเรียน ขอมูลประชากรของผูเรียน

และชุมชน ตลาด ความนิยมของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย การแขงขัน หรือการบังคับใช

กฎระเบียบขอบังคับตางๆ

ความย่ังยืนของสถาบันในระยะยาว รวมถึงสมรรถนะหลักที่จําเปนขององคการ

ความสามารถในการปฏิบัติตามแผนกลยุทธ

ข. วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ (1) วัตถุประสงคเชิงกลยุทธที่สําคัญของสถาบันมีอะไรบาง ใหระบุตารางเวลาที่จะบรรลุ

วัตถุประสงคเหลานั้น เปาประสงคที่สําคัญที่สุดของวัตถุประสงคเชิงกลยุทธเหลานั้นมี

อะไรบาง

โครงรางองคการ

แผนกลยุทธมหาวิทยาลัย ระบุจุดบอดที่อาจเกิดขึ้น การกําหนดสมรรถนะหลัก ความทาทายเชิงกลยุทธ ความไดเปรียบเชิงกลยุทธ แผนระยะส้ัน สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 เกณฑ 1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1 เกณฑ 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 เกณฑ 4

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7 เกณฑ 1 , 2 ความย่ังยืนของสถาบันในระยะยาว สมรรถนะหลักที่จําเปนขององคการ สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 เกณฑ 4 , 5 , 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 เกณฑ 1

แผนกลยุทธมหาวิทยาลัย

Page 239: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

234

(2) วัตถุประสงคเชิงกลยุทธของสถาบันใหความสําคัญตอความทาทายและความไดเปรียบ

เชิงกลยุทธอยางไร วัตถุประสงคเชิงกลยุทธของสถาบันตอบสนองอยางไรตอโอกาสในการ

สรางนวัตกรรมในเร่ือง หลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรู และบริการทางการศึกษาอื่นๆ

รวมทั้งโอกาสในการสรางนวัตกรรมดานการดําเนินการและรูปแบบธุรกิจของสถาบัน

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธใหความสําคัญตอสมรรถนะหลักขององคการทั้งในปจจุบันและอนาคต

อยางไร สถาบันมีวิธีการอยางไรเพื่อทําใหม่ันใจวาวัตถุประสงคเชิงกลยุทธทําใหเกิดความ

สมดุลระหวางโอกาสกับความทาทายทั้งระยะส้ันและระยะยาว รวมทั้งทําใหเกิดความ

สมดุลของความตองการของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียที่สําคัญทั้งหมด

แผนกลยุทธมหาวิทยาลัย โอกาสในการสรางนวัตกรรม สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7 ความสมดุลระหวางโอกาสกับความทาทายทัง้ระยะส้ันและระยะยาว ความสมดุลของความตองการของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย

2.2 การนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ : องคการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติอยางไร สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1

ใหอธิบายวิธีการแปลงวัตถุประสงคเชิงกลยุทธไปสูแผนปฏิบัติการ ใหสรุปแผนปฏิบัติการ

วิธีการถายทอดเพื่อนําไปปฏิบัติ และตัววัดหรือสกอ.ตัวบงชี้ที่สําคัญผลการดําเนินการที่

เก่ียวของกับแผนปฏิบัติการ รวมทั้งคาดการณผลการดําเนินการในอนาคตของสถาบัน เปรียบเทียบกับตัววัดหรือตัวบงช้ีกับคูเปรียบเทียบสําคัญ

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 การเปรียบเทียบกับคูเปรียบเทียบสําคัญ

ก. การจัดทําแผนปฏิบัติการและนําไปสูการไปปฏิบัติ (1) แผนปฏิบัติการทั้งระยะส้ันและระยะยาวท่ีสําคัญของสถาบันมีอะไรบาง การเปล่ียนแปลงท่ี

สําคัญที่ไดวางแผนไว มีอะไรบาง ในเร่ือง

หลักสูตร บริการสงเสริมการเรียนรู และบริการทางการศึกษา

ผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย และตลาด สถาบันปฏิบัติอยางไร เพื่อตอบสนองตอการ

เปล่ียนแปลงดังกลาว

(2) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการจัดทําแผนปฏิบัติการและนําไปสูการปฏิบัติทั่วทั้งสถาบัน ทั้ง

ในสวนของผูปฏิบัติงาน ผูสงมอบที่สําคัญ และคูความรวมมืออยางเปนทางการและไม

เปนทางการ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคเชิงกลยุทธที่สําคัญ สถาบันม่ันใจไดอยางไรวาผลการ

ดําเนินการที่สําคัญตามแผนปฏิบัติการนี้จะมีความย่ังยืน

(3) สถาบันทําอยางไรใหม่ันใจวามีทรัพยากรดานการเงินและดานอื่นๆ มีพรอมใชในการ

สนับสนุนแผนปฏิบัติการจนประสบความสําเร็จ และบรรลุพันธะผูกพันในปจจุบัน สถาบันทํา

อยางไรในการจัดสรรทรัพยากรเพ่ือสนับสนุนใหแผนปฏิบัติการบรรลุผล สถาบันประเมินความ

เส่ียงดานการเงินและความเส่ียงอื่นๆ ที่เก่ียวกับแผนปฏิบัติการอยางไร

แผนปฏิบัติราชการประจําป

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 เกณฑ 3

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1

(รวมถึง สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1 เกณฑ 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 เกณฑ 4

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7 เกณฑ 1 , 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 9.1 เกณฑ 7)

แผนปฏิบัติราชการประจําป ผูสงมอบที่สําคัญ และคูความรวมมืออยางเปนทางการและไมเปนทางการ

แผนกลยุทธการเงิน

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 8.1

ก.พ.ร. ตัวช้ีวัดที่ 8.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.4 เกณฑ 2

Page 240: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

235

(4) ในกรณีที่สถานการณบังคับใหมีการปรับเปล่ียนแผนปฏิบัติการ สถาบันมีวิธีการอยางไร

ในการจัดทําและนําแผนใหมหรือแผนที่เปล่ียนแปลงไปปฏิบัติอยางรวดเร็ว

(5) แผนดานทรัพยากรบุคคลหรือแผนดานผูปฏิบัติงานที่สําคัญมีอะไรบาง เพื่อใหบรรลุ

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธและแผนปฏิบัติการทั้งระยะส้ันและระยะยาว แผนดังกลาวไดเนนถึง

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตอผูปฏิบัติงาน และการเปล่ียนแปลงที่อาจเกิดขึ้นตอขีดความสามารถ

ของผูปฏิบัติงานและอัตรากําลังอยางไร

(6) ตัววัดหรือตัวบงช้ีผลการดําเนินการที่สําคัญที่ใชติดตามผลสําเร็จและประสิทธิผลของ

แผนปฏิบัติการมีอะไรบาง สถาบันมีวิธีการอยางไรเพื่อทําใหม่ันใจวาระบบการวัดผลโดยรวม

ของแผนปฏิบัติการเสริมสรางใหสถาบันทั้งหมดสอดคลองไปในแนวทางเดียวกัน สถาบันมี

วิธีการอยางไรเพื่อทําใหม่ันใจวาระบบการวัดผลดังกลาวครอบคลุมหนวยงาน ประเภทผูเรียน

และผูมีสวนไดสวนเสียที่สําคัญทั้งหมด

ข. การคาดการณผลการดําเนินการ การคาดการณผลการดําเนินการตามกรอบเวลาของการวางแผนทั้งระยะส้ันและระยะยาวของ

สถาบัน ตามตัววัดหรือตัวบงชี้ผลการดําเนินการท่ีสําคัญที่ระบุไวในขอ 2.2ก.(6) มีอะไรบาง

สถาบันมีวิธีการอยางไรในการคาดการณผลการดําเนนิการ ผลการดําเนินการท่ีคาดการณ

ไวของสถาบันเปนอยางไรเม่ือเปรียบเทียบกับผลการดําเนินการที่คาดการณไวของคูแขง

หรือที่เทียบเคียงกันได ผลการดําเนินการที่คาดการณไวนั้นเปนอยางไร เม่ือเปรียบเทียบกับ

ระดับเทียบเคียงที่สําคัญ เปาประสงค และผลการดําเนินการที่ผานมา สถาบันทําอยางไรหาก

มีความแตกตางระหวางผลการดําเนนิการปจจุบันหรือที่คาดการณไวเม่ือเปรียบเทียบกับ

คูแขง หรือองคการที่เทียบเคียงกันได

สถานการณบังคับ แผนที่เปล่ียนแปลงไปปฏิบัติอยางรวดเร็ว (แผนสํารองภาวะฉุกเฉิน)

ก.พ.ร. ตัวช้ีวัดที่ 15.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.3

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 เกณฑ 4 ระบบการวัดผลโดยรวมของแผนปฏิบัติการดําเนนิการ

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1 เกณฑ 5 , 6 , 7 การคาดการณผลการดําเนินการ เปรียบเทียบกับผลการดําเนินการที่คาดการณไวของคูแขงหรือที่เทียบเคียงกันได ความแตกตางระหวางผลการ ดําเนินการ

Page 241: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

236

EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และ มคอ. หมายเหตุ : อักษรตัวหนา หมายความวา ตองการ

คําแนะนําจากผูบริหารและคณะกรรมการกลยุทธ

หมวด 3 การมุงเนนลูกคา สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 5.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 9.1 เกณฑ 7

3.1 ความผูกพันของลูกคา : องคการมีวิธีการอยางไรในการสรางความผกูพันกับผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย เพ่ือสนองตอบตอความตองการและสรางความสัมพันธกับทั้งสองกลุม

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 5.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 9.1 เกณฑ 7

ใหอธิบายถึงวิธีการที่สถาบันกําหนดหลักสูตรบริการที่สงเสริมการเรียนรู และบริการการศึกษา

อื่นๆ เพื่อสนับสนุนใหผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียมาใชบริการท่ีมี ใหอธิบายถึงวิธีการสราง

วัฒนธรรมที่มุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7

ก. หลักสูตรบริการที่สงเสริมการเรียนรู และบริการการศึกษาอ่ืนๆ และการสงเสริมผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย (1) สถาบันมีวิธีการอยางไรที่จะคนหาและสรางนวัตกรรมใหกับหลักสูตรบริการที่สงเสริม

การเรียนรู และบริการการศึกษาอื่นๆ เพื่อตอบสนองความตองการ และทําใหดีกวาความ

คาดหวังของกลุมผูเรียนผูมีสวนไดสวนเสีย (ตามที่ระบุไวในโครงรางองคการ) รวมทั้งเพื่อ

ดึงดูดผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียกลุมใหมและสรางโอกาสในการขยายความสัมพันธกับ

ผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียในปจจุบัน

(2) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการกําหนดกลไกหลัก เพื่อสงเสริมใหผูเรียนและผูมีสวนได

สวนเสียมาใชบริการดานหลักสูตรบริการที่สงเสริมการเรียนรู และบริการการศึกษาอื่นๆ และ

สามารถสืบคนสารสนเทศ หรือมาใชประโยชนจากบริการตางๆ ดังกลาว

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 , 2.7

กพร. ตัวช้ีวัดที่ 3.1 คนหาและสรางนวัตกรรม ตอบสนองความตองการ และทําใหดีกวาความคาดหวัง ผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียกลุมใหมและสรางโอกาสในการขยายความสัมพันธ สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.5 เกณฑ 2 , 3

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.1 เกณฑ 4

มคอ.2 การกําหนดกลไกหลักบริการดานหลักสูตรบริการที่สงเสริมการเรียนรู

Page 242: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

237

สถาบันมีวิธีการหลักอะไรในการสงเสริมผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย รวมทั้งกลไกหลักในการ

ส่ือสาร วิธีการดังกลาวมีความแตกตางกันอยางไร ระหวางกลุมผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย และ

สวนตลาด

สถาบันมีวิธีการอยางไรท่ีจะกําหนดความตองการหลักในการสงเสริมผูเรียนและผูมีสวนได

สวนเสีย และทําใหม่ันใจไดอยางไรวาการสงเสริมตามความตองการดังกลาวไดนําไปสูการ

ปฏิบติัโดยทุกคนและในทุกกระบวนการที่เก่ียวของ

(3) สถาบันทําใหแนวทางที่ใชในการคนหาและสรางนวัตกรรมใหกับหลักสูตร บริการที่สงเสริม

การเรียนรู และบริการการศึกษาอื่นๆ และแนวทางที่จะสงเสริมผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย

ทันตอทิศทางและความตองการขององคกร

ข. การสรางวัฒนธรรมที่มุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย (1) สถาบันมีวิธีการอยางไรที่จะสรางวัฒนธรรมองคกรเพื่อใหม่ันใจวาผูเรียนและผูมีสวนได

สวนเสียไดรับประสบการณที่ดีและสงผลตอความผูกพัน ระบบการจัดการผลการดําเนินการ

ของผูปฏิบัติงาน และระบบการพัฒนาผูนําและผูปฏิบัติงานเก้ือหนุนตอวัฒนธรรมนี้อยางไร

(2) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการสรางและจัดการกับความสัมพันธที่มีตอผูเรียนและผูมีสวน

ไดสวนเสียเพื่อ

ใหไดผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียใหม

สนองความตองการและทําใหดีกวาความคาดหวังในแตละชวงเวลาที่มีการสานสัมพันธกับ

สถาบัน และเพิ่มความผูกพันกับสถาบัน

(3) สถาบันมีวิธีการอยางไรที่จะทําใหวิธีการสรางวัฒนธรรมการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนได สวนเสีย และการสรางความสัมพันธของทั้งสองกลุมทันตอความตองการและทิศทางของสถาบัน

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.1 เกณฑ 2 , 4

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 5.2

มคอ.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7

มคอ.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7 เกณฑ 1

มคอ.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.1 การสรางวัฒนธรรมที่มุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย

การสรางและจัดการกับความสัมพันธที่มีตอผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย เพ่ิมความผูกพันกับสถาบัน

วิธีการสรางวัฒนธรรมการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนได สวนเสีย

3.2 เสียงของลูกคา : วิธีการรวบรวม และใชสารสนเทศจากผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 5.2 เกณฑ 1

ใหอธิบายถึงวิธีการที่สถาบันรับฟงผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย รวมทั้งวิธีการประเมินความ

พึงพอใจและความไมพึงพอใจของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย และใชสารสนเทศดังกลาว

เพื่อปรับปรุงความสําเร็จในวงการศึกษา

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 เกณฑ 4 , 5 , 6 , 7

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 5.2 เกณฑ 1 วิธีการที่สถาบันรับฟงผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย วิธีการประเมินความพึงพอใจและความไมพึงพอใจของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย

Page 243: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

238

ก. การรับฟงผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย (1) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการรับฟงผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อใหไดมาซ่ึง

ขอมูลปอนกลับเก่ียวกับหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรู และบริการการศึกษาอื่นๆ และ

การสนับสนุนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย วิธีการรับฟงดังกลาวมีความแตกตางกันอยางไร

ระหวางกลุมผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย และสวนตลาด รวมถึงวิธีการที่แตกตางออกไปในแตละ

ชวงเวลาของการสานสัมพันธกับสถาบัน สถาบันมีวิธีการอยางไรในการติดตามคุณภาพของหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรู และบริการการศึกษาอ่ืนๆ รวมถึงคุณภาพของการสนับสนุนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย และวิธีการในการติดตอระหวางกันเพื่อใหได

ขอมูลปอนกลับที่ทันทวงทีและสามารถนําไปปฏิบัติได

(2) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการรับฟงผูเรียน และผูมีสวนไดสวนเสียในอดีต อนาคตและของ

คูแขง เพื่อใหไดสารสนเทศท่ีนําไปปฏิบัติไดและเปนขอมูลปอนกลับเก่ียวกับหลักสูตร บริการที่

สงเสริมการเรียนรู และบริการการศึกษาอื่นๆ การสนับสนุนผูมีสวนไดสวนเสีย และวิธีการ

ติดตอระหวางกัน

(3) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการจัดการกับขอรองเรียนที่ไดรับจากผูเรียนและผูมีสวนได

สวนเสีย สถาบันมีวิธีการอยางไรที่ทําใหม่ันใจไดวาจะแกไขขอรองเรียนนั้นอยางมีประสิทธิผล

และทันทวงที และทําใหความเชื่อม่ันของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียกลับคืนมา รวมทั้งสราง

เสริมความพึงพอใจและความผูกพัน ระบบการบริหารขอรองเรียนของสถาบันชวยทําใหเกิด

การรวบรวมและวิเคราะหขอรองเรียน เพื่อนําผลไปใชปรับปรุงทั่วทั้งสถาบัน และโดยคูความ

รวมมือที่เปนทางการ ข. การประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย (1) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการประเมินความพึงพอใจและความผูกพัน ของผูเรียนและ ผูมี

สวนไดสวนเสีย วิธีการเหลานี้มีความแตกตางกันอยางไรสําหรับผูเรียนแตละประเภท และผูมี

สวนไดสวนเสียแตละกลุม สถาบันมีวิธีการอยางไรที่ทําใหม่ันใจไดวา การวัดผลดังกลาวให

สารสนเทศท่ีสามารถนําไปใชได เพื่อตอบสนองใหเกินความคาดหวังของผูเรียนและผูมีสวนได

สวนเสีย เพื่อสรางความผูกพัน กระบวนการประเมินดังกลาวของสถาบันสงเสริมใหเกิดการ

ประมวล และวิเคราะหขอรองเรียน เพื่อนําผลไปใชปรับปรุงทั่วทั้งสถาบัน และโดยคูความ

รวมมือที่เปนทางการ

(2) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการรวบรวมและใชสารสนเทศเก่ียวกับความพึงพอใจของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย โดยเปรียบเทียบกับคูแขง และระดับของสถาบันการศึกษาอื่นๆ ซึ่งใหบริการในลักษณะท่ีคลายคลึงกัน หรือเปรียบเทียบกับเกณฑ

เปรียบเทียบในอุตสาหกรรม

วิธีการที่สถาบันรับฟงผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

มคอ.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

มคอ.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.1

มคอ.2 (การอุทธรณของนักศึกษา) การจัดการกับขอรองเรียน

มคอ.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 เกณฑ 6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7 เกณฑ 1 การประเมินความผูกพันของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย

มคอ.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 การรวบรวมและใชสารสนเทศเกี่ยวกับความพึงพอใจของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย โดยเปรียบเทียบกับคูแขง และระดับของสถาบันการศึกษา

Page 244: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

239

(3) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการประเมินความไมพึงพอใจของผูเรียนและผูมีสวนได

สวนเสีย สถาบันมีวิธีการอยางไรที่ทําใหม่ันใจไดวา การวัดผลดังกลาวใหสารสนเทศที่

สามารถนําไปใชได เพื่อตอบสนองความตองการและทําใหดีกวาความคาดหวังในอนาคต ของ

ผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย วิธีการประเมินดังกลาวของสถาบันสงเสริมใหเกิดการประมวล

และวิเคราะหขอรองเรียน เพื่อนําผลไปใชปรับปรุงทั่วทั้งสถาบัน และโดยคูความรวมมือที่เปน

ทางการ

ค. การวิเคราะหและใชขอมูลของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย (1) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการใชสารสนเทศของผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสียและตลาด รวมถึงหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรู และบริการการศึกษาอ่ืนๆ เพ่ือกําหนดกลุมและสวนของผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสียและสวนตลาดทั้งในปจจุบันและอนาคต สถาบันไดคํานึงถึงผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียของสถาบันคูแขงหรือที่จะมีมาในอนาคตใน

การจําแนกน้ีอยางไร สถาบันกําหนดอยางไรวากลุมนักศึกษา ผูมีสวนไดสวนเสีย และสวน

ตลาดสวนใด ที่จะชักจูงใหมาศึกษาในหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรู และบริการ

การศึกษาอื่นๆ ทั้งในปจจุบันและในอนาคต

(2) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการใชสารสนเทศของผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสียและตลาด

รวมถึงหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรู และบริการการศึกษาอื่นๆ เพื่อกําหนดและ

คาดการณดานความตองการหลักของผูเรียน และผูมีสวนไดสวนเสีย (ซึ่งรวมถึงลักษณะของ

หลักสูตร บริการท่ีสงเสริมการเรียนรู และบริการการศึกษาอื่นๆ) รวมถึงความคาดหวังที่เปล่ียนแปลงไป และความสําคัญในการทําใหผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียตัดสินใจเลือกเขาเรียน เลือกซื้อ หรือสรางความสัมพันธกับสถาบัน สถาบันกําหนดและคาดการณอยางไรถึงความตองการและความคาดหวังที่เปล่ียนแปลงไปจะ

มีความแตกตางกันในระหวางกลุมผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสียและสวนตลาด รวมถึงตลอดชวง

ระยะเวลาในการสานสัมพันธกับสถาบัน

(3) สถาบันใชสารสนเทศเก่ียวกับผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย และเก่ียวกับหลักสูตร บริการ

ที่สงเสริมการเรียนรู และบริการการศึกษาอื่นๆ เพ่ือปรับปรุงดานการตลาด เสริมสรางวัฒนธรรมที่มุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย และกําหนดโอกาสในการสรางนวัตกรรม

(4) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการทําใหแนวทางการเรียนรูจากผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย การประเมินความพึงพอใจ ไมพึงพอใจ ความผูกพัน รวมถึงการใชขอมูลที่เกี่ยวของกับกลุมดังกลาวทันตอความตองการและทิศทางของสถาบันอยูเสมอ

มคอ.2 การประเมินความไมพึงพอใจของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 5.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.3 การวิเคราะหและใชขอมูลของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.3

มคอ.2

(การวิพากษหลักสูตร) ความคาดหวังที่เปล่ียนแปลงไป และความสําคัญในการทําใหผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียตัดสินใจเลือกเขาเรียน เลือกซื้อ หรือสรางความสัมพันธกับสถาบัน

ใชสารสนเทศปรับปรุงดานการตลาด เสริมสรางวัฒนธรรมที่มุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย และกําหนดโอกาสในการสรางนวัตกรรม

มคอ.2 การใชขอมูลที่เกี่ยวของทันตอความตองการและทิศทางของสถาบันอยูเสมอ

Page 245: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

240

EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และ มคอ. หมายเหตุ : อักษรตัวหนา หมายความวา ตองการ

คําแนะนําจากผูบริหารและคณะกรรมการกลยุทธ

หมวด 4 การวัดผล การวิเคราะห และการจัดการความรู

4.1 การวัด วิเคราะห และปรับปรุงผลการดําเนินการขององคกร : องคกรมีวิธีการอยางไรในการวัด วิเคราะห และนํามาปรับปรุงผลการดําเนนิการขององคกร

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.2 (แตยังไมตรง

ประเด็น)

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 15.2 (แตยังไมตรง

ประเด็น)

ใหอธิบายถึงวิธีการที่สถาบันใชในการวัด วิเคราะห ทบทวน ตลอดจนปรับปรุงผลการเรียนรู

ของผูเรียนและผลการดําเนินการของสถาบัน โดยการใชขอมูลและสารสนเทศในทุกระดับและ

ทุกสวนงานของสถาบัน

มคอ.2

สกอ. , สมศ. , ก.พ.ร.

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 4.3

ก. การวัดผลการดําเนนิการ (1) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการเลือก รวบรวม ปรับใหสอดคลอง และบูรณาการขอมูลและ

สารสนเทศ เพื่อติดตามผลการปฏิบัติงานประจําวัน และผลการดําเนินการโดยรวมของสถาบัน

ซึ่งรวมถึงการติดตามความกาวหนาของการดําเนินการเทียบกับวัตถุประสงคเชิงกลยุทธ และ

แผนปฏิบัติการ สถาบันมีตัววัดผลการดําเนินการท่ีสําคัญอะไรบาง รวมทั้งตัววัดดาน

งบประมาณและการเงินที่สําคัญทั้งระยะส้ันและระยะยาว ตัววัดเหลานี้ไดรับการพิจารณาบอย

เพียงใด สถาบันมีวิธีการอยางไรในการใชขอมูลและสารสนเทศเหลานี้เพื่อสนับสนุนการ

ตัดสินใจและสรางนวัตกรรม

(2) สถาบันมีวิธีการเลือกและทําใหมั่นใจไดอยางไรวาไดใชขอมูลและสารสนเทศเชิง

เปรียบเทียบที่สําคัญ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับปฏิบัติการและระดับกลยุทธ และ

เพื่อนวัตกรรมอยางมีประสิทธิผล

(3) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการทําใหระบบการวัดผลการดําเนนิการทนัตอความ

ตองการและทิศทางของบริการทางการศึกษาอยูเสมอ สถาบันทําใหม่ันใจไดอยางไรวา

ระบบการวัดผลการดําเนินการดังกลาว ไวตอการเปล่ียนแปลงท้ังภายในและภายนอกสถาบัน

ที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและไมคาดคิด

ข. การวิเคราะห และทบทวนผลการดําเนินการ สถาบันมีวิธีการอยางไรในการทบทวนผลการดําเนินการและขีดความสามารถของ

สถาบัน สถาบันทําการวิเคราะหในเร่ืองอะไรบาง เพื่อนํามาใชสนับสนุนการทบทวนและเพ่ือ

ทําใหม่ันใจวาผลสรุปนั้นใชได สถาบันใชผลการทบทวนนี้อยางไรในการตรวจประเมินผล

eoffice

คณะกรรมการกลยุทธ

สกอ. , สมศ. , ก.พ.ร.

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 1.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 8.1

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 5

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 8.2

วิธีการเลือกและทําใหมั่นใจไดอยางไรวาไดใชขอมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบที่สําคัญ วิธีการอยางไรในการทําใหระบบการวัดผลการดําเนินการทันตอความตองการและทิศทางของบริการทางการศึกษา

การทบทวนผลการดําเนนิการและขีดความสามารถของสถาบัน ผลการดําเนินการเม่ือเทียบกับคูแขงและสถาบันที่มีลักษณะ

Page 246: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

241

สําเร็จของสถาบัน ผลการดําเนนิการเม่ือเทียบกับคูแขงและสถาบันที่มีลักษณะคลายกัน

และความกาวหนาเทียบกับวัตถุประสงคเชิงกลยุทธและแผนปฏิบัติการ รวมทั้งใชใน

การตรวจประเมินความสามารถของสถาบันที่จะตอบสนองอยางรวดเร็วตอความ

เปล่ียนแปลงในดานความตองการและความทาทายของสถาบัน ในสภาพแวดลอมที่สถาบัน

ดําเนินงานอยู

ค. การปรับปรุงผลการดําเนนิการ สถาบันมีวิธีการอยางไรในการแปลงผลการทบทวนผลการดําเนินการ ไปจัดลําดับ

ความสําคัญของเร่ืองที่ตองนําไปปรับปรุงอยางตอเนื่องและอยางกาวกระโดด รวมทั้งไปเปน

โอกาสในการสรางนวัตกรรม สถาบันมีวิธีการอยางไรในการถายทอดเรื่องทีจ่ัดลําดับความสําคัญไวและโอกาสในการสรางนวัตกรรม ไปสูคณาจารย บุคลากร และกลุมงานอ่ืนๆ ทั่วทัง้สถาบัน เพื่อสนับสนุนบุคลากรเหลานั้นอยางมีประสิทธิผลใหสามารถ

ตัดสินใจได สถาบันมีวธีิการอยางไร ในการถายทอดเรื่องทีจ่ัดลําดับความสําคัญและโอกาสดังกลาวไปยังสถาบันที่สงผูเรียนมาศึกษาและรับผูเรียนไปศึกษาตอ รวมถึงผูสงมอบ และคูความรวมมือทั้งทีเ่ปนทางการและไมเปนทางการ เพื่อใหม่ันใจวามีการนําไป

ปฏิบัติอยางสอดคลองไปในแนวทางเดียวกันกับสถาบัน

คลายกัน ความกาวหนาเทียบกับวัตถุประสงคเชิงกลยุทธและแผนปฏิบัติการ การตรวจประเมินความสามารถของสถาบัน

วิธีการอยางไรในการแปลงผลการทบทวนผลการดําเนินการ ไปจัดลําดับความสําคัญ การถายทอดเรือ่งที่จัดลําดับความสําคัญ

4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและและการจัดการความรู : สถาบันมีวิธีการอยางไรในการจัดการสารสนเทศ ความรูของสถาบัน และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ใหอธิบายถึงวิธีการที่สถาบันดําเนินงานเพื่อใหม่ันใจไดวา ขอมูลสารสนเทศ ซอฟตแวรและ

ฮารดแวรที่จําเปนสําหรับผูปฏิบัติงาน ผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ตลอดจนผูสงมอบและ

คูความรวมมือทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ มีคุณภาพและพรอมใชงาน ใหอธิบายถึงวิธีการที่สถาบันสรางและจัดการสินทรัพยเชิงความรูของสถาบัน

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 3.1

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.2

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 5

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 7.2

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 15.2 วิธีการที่สถาบันสรางและจัดการสินทรัพยเชิงความรูของสถาบัน

ก. การจัดการขอมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู (1) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการทําใหม่ันใจวาขอมูลสารสนเทศ และองคความรูของสถาบัน

มีคุณสมบัติดังนี้ :

ความแมนยํา

ความถูกตองและเช่ือถือได

ความทันกาล

การรักษาความปลอดภัยและความลับ

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.2

Page 247: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

242

(2) สถาบันดําเนินการอยางไร เพื่อใหขอมูลและสารสนเทศที่ตองการมีความพรอมใชงาน และ

ทําอยางไรเพื่อใหผูปฏิบัติงาน ผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ตลอดจนผูสงมอบและคูความรวมมือ

ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ สามารถเขาถึงขอมูลดังกลาวได

(3) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการจัดการความรูของสถาบัน เพื่อใหบรรลุผลของ

การรวบรวมและถายทอดความรูของผูปฏิบัติงาน

การถายทอดความรูที่เปนประโยชน ระหวางสถาบันกับผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ผูสงมอบ

และคูความรวมมือทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ

ความรวดเร็วในการคนหา ระบุ แบงปนและนํา วิธีการปฏิบัติที่เปนเลิศ ไปดําเนินการ การรวบรวมความรูและถายทอดความรูที่เปนประโยชน ไปใชในกระบวนการวางแผนเชิงกล

ยุทธ

ข. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (1) สถาบันดําเนินการอยางไรเพ่ือใหม่ันใจไดวาฮารดแวรและซอฟตแวรมีความเช่ือถือได ปลอดภัยและงายตอการใชงาน (2) ในกรณีฉุกเฉิน สถาบันมีวิธีการอยางไรในการทําใหม่ันใจวาขอมูลและสารสนเทศ รวมทั้ง

ระบบฮารดแวรและซอฟตแวรมีความพรอมใชงานอยางตอเนื่อง

(3) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการรักษากลไกที่ทําใหขอมูลและสารสนเทศมีความพรอม

ในการใชงาน รวมทั้งระบบฮารดแวรและซอฟตแวร ทันกับความตองการและทิศทางของ

บริการทางการศึกษา และการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีในสภาพแวดลอมที่สถาบัน

ดําเนินงานอยู

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.5

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 5.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 15.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 5.2 เกณฑ 5 ความรวดเร็วในการคนหา ระบุ แบงปนและนํา วิธีการปฏิบัติที่เปนเลิศ ไปดําเนินการ สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 เกณฑ 2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.3 ฮารดแวรและซอฟตแวรมีความเช่ือถือได ปลอดภัยและงายตอการใชงาน กรณีฉุกเฉินขอมูลและสารสนเทศ

รวมทั้งระบบฮารดแวรและซอฟตแวรมี

ความพรอมใชงานอยางตอเนื่อง

การรักษากลไกที่ทําใหขอมูลและสารสนเทศมีความพรอมในการใชงาน

Page 248: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

243

EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และ มคอ. หมายเหตุ : อักษรตัวหนา หมายความวา ตองการ

คําแนะนําจากผูบริหารและคณะกรรมการกลยุทธ

หมวด 5 การมุงเนนผูปฏิบัติงาน (Workforce Focus) สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.4

5.1 การผูกใจผูปฏิบัติงาน (Workforce Engagement): องคกรมีวิธีการอยางไรในการผูกใจผูปฏิบัติงานเพ่ือใหบรรลุความสําเร็จในระดับองคกรและระดับบุคคล

การผูกใจผูปฏบัิติงาน

ใหอธิบายวาสถาบัน ผูกใจ จายคาตอบแทนและใหรางวัลผูปฏิบัติงานอยางไร เพื่อใหไดผลการ

ดําเนินการที่ดี อธิบายวาไดมีการพัฒนาสมาชิกของกลุมผูปฏิบัติงาน รวมถึงกลุมผูนําอยางไร

เพื่อใหเกิดผลการดําเนินการที่ดี อธิบายวาสถาบันมีวิธีการอยางไรในการประเมินความผูกพัน

ของผูปฏิบัติงาน และใชผลการประเมินนั้นมาทําใหผลการดําเนินการดีย่ิงขึ้น

ความผูกพัน การจายคาตอบแทน การใหรางวัล

ก. การสรางคุณคาของผูปฏิบัติงาน (1) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการกําหนดปจจยัที่สําคัญที่สงผลตอ ความผูกพันของ

ผูปฏิบัติงาน และมีวิธีการอยางไรในการกําหนดปจจัยที่สําคัญที่สงผลตอความพึงพอใจ

ของผูปฏิบัติงาน วิธีการกําหนดปจจัยเหลานี้แตกตางกันอยางไร ตามกลุมและประเภทของ

ผูปฏิบัติงาน

(2) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการเสริมสรางวัฒนธรรมองคกรที่มีลักษณะเปดใหมีการ

ส่ือสาร มีผลการดําเนนิการทีด่ี และผูปฏิบัติงานมีความผูกพันตอสถาบัน สถาบันทําให

ม่ันใจไดอยางไรวาวัฒนธรรมองคกรไดใชประโยชนจากความหลากหลายของความคิด

วัฒนธรรม และวิธีคิดของผูปฏิบัติงาน

(3) ระบบการจัดการผลการปฏิบัติงานสนับสนุนใหมีผลการดําเนนิการทีด่ีและผูกใจ

ผูปฏิบัติงานไดอยางไร ระบบการจัดการผลการปฏิบัติงานไดพิจารณาถึงการบริหาร

คาตอบแทน การยกยองชมเชย การใหรางวัล และการใหส่ิงจูงใจตอผูปฏิบัติงานอยางไร

ระบบการจัดการผลการปฏิบัติงานของสถาบันสงเสริมใหเกิด การมุงเนนผูเรียน ผูมีสวนไดสวน

เสีย และสถาบัน รวมถึงการบรรลุแผนปฏิบัติการของสถาบันอยางไร

ข. การพัฒนาผูปฏิบัติงานและผูนํา (1) ระบบการเรียนรูและการพัฒนาของสถาบันไดพิจารณาประเด็นที่เก่ียวกับผูปฏิบัติงาน

และผูนําของสถาบันเหลานี้อยางไรบาง

สมรรถนะหลัก ความทาทายเชิงกลยุทธ และการบรรลุผลสําเร็จของแผนปฏิบัติการทั้งระยะส้ันและระยะยาวของสถาบัน การปรับปรุงผลการดําเนินการและสรางนวัตกรรมของสถาบัน จริยธรรมและการดําเนินธุรกิจอยางมีจริยธรรม

ความครอบคลุมของโอกาสในการพัฒนา ซึ่งรวมถึง การศึกษา การฝกอบรม การสอนงาน

การเปนพี่เล้ียง และประสบการณที่ไดจากการทํางาน

การสรางคุณคาของผูปฏิบัติงาน การกําหนดปจจัยที่สําคัญที่สงผลตอ ความผูกพันของผูปฏิบัติงาน การกําหนดปจจัยที่สําคัญที่สงผลตอความพึงพอใจของผูปฏิบัติงาน การเสริมสรางวัฒนธรรมองคกรที่มีลักษณะเปดใหมีการส่ือสาร มีผลการดําเนินการที่ด ี

ระบบการจัดการผลการปฏิบัติงานสนับสนุนใหมีผลการดําเนินการที่ดีและผูกใจผูปฏิบัตงิาน

การพัฒนาผูปฏิบัติงานและผูนํา สกอ.ตัวบงชี้ที่ 4.1

กพร.ตัวช้ีวัดที่ 16

มคอ.2 ระบบการเรียนรูและการพัฒนาของสถาบันไดพิจารณาประเด็นที่

เก่ียวกับผูปฏิบัติงานและผูนํา การปรับปรุงผลการดําเนินการและสรางนวัตกรรมของสถาบัน

Page 249: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

244

(2) ระบบการเรียนรูและการพัฒนาของสถาบัน ไดพิจารณาถึงเร่ืองที่เก่ียวของกับ ผูปฏิบัติงาน

ตอไปนี้อยางไร

ความตองการดานการเรียนรูและการพัฒนา ทั้งเร่ืองที่เปนความตองการของตนเอง และเรื่องที่กําหนดโดยพ่ีเล้ียงและหัวหนางาน การถายทอดความรูจากผูปฏิบัติงานที่จะลาออกหรือเกษียณอายุ การสงเสริมการนําความรูและทักษะใหมมาใชในการทํางาน

(3) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการเรียนรูและการพัฒนาของสถาบัน

(4) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการจัดการความกาวหนาในอาชีพการงานสําหรับ

ผูปฏิบัติงานทั่วทั้งสถาบันอยางมีประสิทธิผล สถาบันมีวิธีการเพื่อใหบรรลุการวางแผนการสืบทอดที่มีประสิทธิภาพสําหรับตําแหนง หัวหนางาน ผูบรหิารงาน และตําแหนงผูนําอื่นๆ อยางไร สถาบันม่ันใจไดอยางไรวาคณาจารยและบุคลากรไดรับการรับรองคุณวุฒิและมี

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพที่เหมาะสม

ค. การประเมินความผกูพันของผูปฏิบัติงาน (1) สถาบันวิธีการประเมินความผูกพันของผูปฏิบัติงานอยางไร มีวิธีการทั้งที่เปนทางการและ

ไมเปนทางการและตัววัดอะไรบาง ที่ใชในการประเมินความผูกพันและความพึงพอใจของ

ผูปฏิบัติงาน วิธีการและตัววัดเหลานี้มีความแตกตางกันอยางไร สําหรับใชในแตละกลุมและ

สวนของผูปฏิบัติงาน มีการใชตัวบงชี้อื่นๆ เชน การคงอยู การขาดงาน การรองทุกข ความ

ปลอดภัยและผลิตภาพของผูปฏิบัติงานเพื่อตรวจประเมินและปรับปรุงความผูกพันของ

ผูปฏิบัติงานอยางไร

(2) สถาบันมีการนําผลการประเมินความผูกพันของผูปฏิบัติงานมาเช่ือมโยงกับผลลัพธในหมวดที่ 7 อยางไร เพ่ือระบุโอกาสในการปรับปรุงทั้งดานการผูกใจผูปฏิบัติงานและผลลัพธของสถาบัน

ความตองการของตนเอง และเรื่องที่กําหนดโดยพ่ีเล้ียงและหัวหนางาน การถายทอดความรูจากผูปฏิบัติงานที่จะลาออกหรือเกษียณอายุ ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการเรียนรูและการพัฒนาของสถาบัน มคอ.2 การจัดการความกาวหนาในอาชีพการงานสําหรบัผูปฏิบัติงาน การวางแผนการสืบทอด กพร.ตัวช้ีวัดที่ 15.1

กพร.ตัวช้ีวัดที่ 17

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.2 , 2.3

การประเมินความผูกพันของผูปฏิบัติงาน สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.4

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.4 เกณฑ 7

5.2 สภาพแวดลอมในการทํางาน (Workforce Environment) : องคกรมีวิธีการอยางไรในการสรางสภาพแวดลอมในการทํางานที่มปีระสิทธิผลและสนับสนุนผูปฏิบัติงาน

ใหอธิบายวาสถาบันมีวิธีการอยางไรในการบริหารขีดความสามารถ และอัตรากําลังเพื่อใหงาน

บรรลุผลสําเร็จ ใหอธิบายวาสถาบันดําเนินการอยางไร เพื่อรักษาบรรยากาศในการทํางานให

ปลอดภัย ม่ันคง และเก้ือหนุนตอการทํางาน

Page 250: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

245

ก. ขีดความสามารถและอัตรากําลัง (1) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการประเมินความตองการ ดานขีดความสามารถและอัตรากําลัง

รวมทั้งทักษะ สมรรถนะ และกําลังคนที่มีอยู

(2) สถาบันมีวิธีอยางไร ในการสรรหา วาจาง บรรจุ และรักษาผูปฏิบัติงานใหมไว สถาบัน

ม่ันใจไดอยางไรวาผูปฏิบัติงานเปนตัวแทนที่สะทอนใหเห็นถึงความหลากหลายทางความคิด

วัฒนธรรม และวิธีคิดของชุมชนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย รวมทั้งชุมชนแรงงานที่สถาบัน

จาง

(3) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการบริหารและจัดโครงสรางของผูปฏิบัติงานเพื่อ

ทําใหงานของสถาบันประสบความสําเร็จ

ใชประโยชนจากสมรรถนะหลักของสถาบันอยางเต็มที่

สงเสริมสนับสนุนการมุงเนนผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย และสถาบัน

ใหมีผลการดําเนินการที่เหนือกวาความคาดหมาย

ตอบสนองตอความทาทายเชิงกลยุทธและแผนปฏิบัติการ ใหเกิดความคลองตัวที่จะ

ตอบสนองตอความตองการที่เปล่ียนแปลงไป

(4) สถาบันมีวิธกีารอยางไรในการเตรียมผูปฏิบัติงานใหพรอมรับตอความตองการดานขีด

ความสามารถและอัตรากําลังที่กําลังเปล่ียนไป สถาบันมีวิธีการอยางไรในการบริหารบุคคล

บริหารความตองการทั้งของผูปฏิบัติงานและของสถาบัน เพื่อใหม่ันใจวาสามารถดําเนินการ

ไดอยางตอเนื่อง ปองกันการลดจํานวนของผูปฏิบัติงาน และเพื่อลดผลกระทบหากเกิดกรณี

ดังกลาว

ข. บรรยากาศการทํางาน (1) สถาบันดําเนินการอยางไรเก่ียวกับปจจัยตางๆ ดานสภาพแวดลอมในการทํางาน เพื่อการ

ปรับปรุงและทําใหม่ันใจวาสถานที่ทํางานมีสุขอนามัย ความปลอดภัย และมีการปองกันภัย

ตัววัดและเปาประสงคในการปรับปรุงของแตละปจจัยดังกลาวมีอะไรบาง

ในสภาพแวดลอมการทํางานที่แตกตางกันนั้น ปจจัยดังกลาวรวมทั้ง ตัววัดและเปาประสงคมี

ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญหรือไม อยางไร

(2) สถาบันสนับสนุนผูปฏิบัติงาน โดยกําหนดนโยบาย การบริการ และสิทธิประโยชนอยางไร

ส่ิงดังกลาวไดมีการออกแบบใหเหมาะสมตามความตองการของผูปฏิบัติงานที่หลากหลาย

และเหมาะสมกับความแตกตางของกลุมและประเภทของผูปฏิบัติงานอยางไร

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.2 , 2.3 , 2.4

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 4 , 15.1

มคอ.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.2 , 2.3 , 2.4

มคอ.2

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.4 เกณฑ 3

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.5 เกณฑ 4 , 5

Page 251: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

246

EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และ มคอ. หมายเหตุ : อักษรตัวหนา หมายความวา ตองการ

คําแนะนําจากผูบริหารและคณะกรรมการกลยุทธ

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ * ยังไมสามารถหาขอมูลมาสนับสนุนไดตรงประเด็น มคอ.2 กระบวนการสรางคุณคา กระบวนการหลัก กระบวนการสนับสนุน

การออกแบบระบบงาน : องคกรมีวิธีการออกแบบระบบงานอยางไร

ใหอธิบายวิธีการในการกําหนดสมรรถนะหลักขององคกร การออกแบบระบบงาน และ

กระบวนการที่สําคัญเพื่อสรางคุณคาใหผูเรียน และผูมีสวนไดสวนเสีย ทําใหเกิดผลสูงสุดตอ

การเรียนรูและความสําเร็จของผูเรียน ทําใหสถาบันประสบความสําเร็จและย่ังยืน รวมท้ัง

เตรียมความพรอมสําหรับภาวะฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น

ก. การออกแบบระบบงาน (1) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการออกแบบ และสรางนวัตกรรมในระบบงานโดยรวม รวมทั้ง

กําหนดวากระบวนการใดในระบบงานโดยรวม เปนกระบวนการภายในสถาบัน (กระบวนการ

ทํางานหลักของสถาบัน) และกระบวนการใดจะใชทรัพยากรจากแหลงภายนอก

(2) ระบบงานและกระบวนการทํางานหลักของสถาบันมีความสัมพันธและใชประโยชนจาก

สมรรถนะหลักของสถาบันอยางไร

ข. กระบวนการทํางานหลัก (1) กระบวนการทํางานหลักของสถาบันมีอะไรบาง กระบวนการดังกลาวมีผลอยางไรตอ

การสรางคุณคาใหผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย

การเรียนรูและความสําเร็จของผูเรียน

ผลตอบแทนดานการเงิน

ความสําเร็จและความย่ังยืนของสถาบัน

(2) สถาบันมีวิธีการอยางไร ในการจัดทําขอกําหนดของกระบวนการทํางานหลัก โดยใชขอมูล

จากผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ผูสงมอบ คูความรวมมือที่เปนทางการและไมเปนทางการ

ขอกําหนดที่สําคัญของกระบวนการดังกลาวคืออะไร สถาบันมีการคาดการณและเตรียมการ

อยางไร สําหรับผูเรียนแตละคน ซึ่งมีความแตกตางในดานขีดความสามารถ อัตราและวิธีการ

เรียนรู ในการออกแบบกระบวนการทํางานหลักดังกลาวไดนําสารสนเทศของประเภทผูเรียน

และของผูเรียนแตละคน มาใชอยางไรเพื่อใหผูเรียนทุกคนมุงม่ันตอการเรียนแบบใฝรู

Page 252: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

247

ค. ความพรอมตอภาวะฉุกเฉนิ สถาบันมีวิธีการอยางไร เพื่อใหม่ันใจวาระบบงานและสถานที่ทํางานมีการเตรียมพรอมตอภัย

พิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน ระบบการเตรียมพรอมดังกลาวไดคํานึงถึงการปองกัน การจัดการ

ความตอเนื่องของการดําเนินการ และการฟนฟูสภาพอยางไร

6.2 กระบวนการทํางาน : องคกรมีวิธีการอยางไรในการออกแบบ จัดการ และปรับปรุงกระบวนการทํางานหลักขององคกร

อธิบายวาสถาบันมีวิธีการอยางไรในการออกแบบ นําไปปฏิบัติ จัดการและปรับปรุง

กระบวนการทํางานหลัก เพื่อสรางคุณคาแกผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย รวมทั้งทําใหสถาบัน

ประสบความสําเร็จและย่ังยืน

ก. การออกแบบกระบวนการทํางาน (1) สถาบันออกแบบและสรางนวัตกรรมในกระบวนการทํางานเพ่ือใหตอบสนองขอกําหนด

หลักอยางไร สถาบันมีวิธีการอยางไรในการนําเทคโนโลยีใหมๆ ความรูขององคกร และความ

จําเปนที่ตองคลองตัว มาพิจารณาในการออกแบบกระบวนการตางๆ สถาบันนําเร่ืองรอบเวลา

การเพิ่มผลผลิต การควบคุมตนทุน ประสิทธิผลอื่นๆ และปจจัยที่เก่ียวกับประสิทธภิาพมา

พิจารณาในการออกแบบกระบวนการตางๆ อยางไร

ข. การจัดการกระบวนการทํางาน (1) สถาบันนํากระบวนการทํางานไปปฏิบัติและจัดการอยางไร เพื่อใหม่ันใจวาเปนไปตาม

ขอกําหนดที่ใชในการออกแบบ และม่ันใจไดอยางไรวาการปฏิบัติงานประจําวันของ

กระบวนการเหลานี้ เปนไปตามขอกําหนดที่สําคัญของกระบวนการสถาบันมีวิธีการอยางไรใน

การนําขอมูลจากผูปฏิบัติงาน ผูเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ผูสงมอบ คูความรวมมือที่เปน

ทางการและไมเปนทางการ มาใชในการจัดการกระบวนการดังกลาว ตัววัดหรือตัวบงชี้ผลการ

ดําเนินการที่สําคัญและตัววัดภายในกระบวนการ ที่นํามาใชในการควบคุมและปรับปรุง

กระบวนการทํางานของสถาบันคืออะไร

(2) สถาบันมีวิธีการอยางไรในการปองกันความแตกตางในการนํากระบวนการทํางานไปปฏิบัติ ที่

อาจนําไปสูความแปรปรวนของการเรียนรูหรือความสําเร็จของผูเรียน สถาบันมีวิธีการอยางไรในการ

ลดตนทุนโดยรวมในการตรวจ การทดสอบ และการตรวจสอบกระบวนการหรือผลการดําเนินการ

สถาบันมีวิธีอยางไร ในการปองกันไมใหเกิดความบกพรองหรือการทํางานซํ้า

ค. การปรับปรุงกระบวนการทํางาน สถาบันมีวิธีการอยางไร ในการปรับปรุงกระบวนการทํางานเพื่อ

ใหผูเรียนประสบความสําเร็จสูงสุด

ปรับปรุงหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรูและบริการทางการศึกษาอื่นๆ

ทําใหกระบวนการเหลานี้ทันตอความจําเปนและทิศทางการจัดการศึกษาอยูเสมอ สถาบัน

สรางแผนการประเมินผลอยางไรโดยนําการประเมินความกาวหนา และการประเมินผลรวมมา

Page 253: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

248

ใชอยางมีประสิทธิผล สถาบันมีวิธีการอยางไร ที่จะนําผลการทบทวนการดําเนินการของ

สถาบันตามที่ระบุไวในขอ 4.1 ไปใชประเมินและปรับปรุงระบบงานอยางเปนระบบ สถาบันมี

การแลกเปล่ียนการปรับปรุงกระบวนการทํางานและบทเรียนที่ไดกับหนวยงานและ

กระบวนการอื่นภายในสถาบันอยางไร เพื่อผลักดันใหเกิดการเรียนรูและสรางนวัตกรรมระดับ

สถาบัน

Page 254: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

249

EdPEx สกอ. สมศ. กพร. และ มคอ. หมายเหตุ : อักษรตัวหนา หมายความวา ตองการ

คําแนะนําจากผูบริหารและคณะกรรมการกลยุทธ

หมวด 7 ผลลัพธ (Results) สมศ. 7.1 ผลลัพธดานการเรียนรูของผูเรียน : ผลลัพธดานการเรียนรูของผูเรียนขององคกรเปนอยางไร

สมศ.ตัวบงชี้ที่ 1 , 2 , 3 , 4

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

เปนการสรุปผลลัพธที่สําคัญดานการเรียนรูของผูเรียน โดยแสดงผลลัพธจําแนกตามกลุม

ผูเรียนและสวนตลาด รวมทั้งนําเสนอขอมูลเชิงเปรียบเทียบกับผลลัพธของคูแขง

สถาบันการศึกษาอื่น และกลุมผูเรียนที่เทียบเคียงกันได

จากขอมูลที่ไดจากตัววัดหรือสกอ.ตัวบงชี้ที่สําคัญที่เก่ียวของ ใหแสดงขอมูลและสารสนเทศ

ก. ผลลัพธดานการเรียนรูของผูเรียน ระดับปจจุบันและแนวโนมของตัววัดหรือสกอ.ตัวบงชี้ที่สําคัญของการเรียนรูและการปรับปรุง

การเรียนรูของผูเรียนเปนอยางไร ผลลัพธดังกลาวเปนอยางไรเม่ือเปรียบเทียบกับผลการ

ดําเนินการของคูแขง สถาบันการศึกษาท่ีเทียบเคียงกันได กลุมผูเรียน และสวนตลาดอื่นๆ

สมศ.ตัวบงชี้ที่ 1 , 2 , 3 , 4

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6

7.2 ผลลัพธดานการมุงเนนลูกคา : ผลลัพธดานการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียอยางไร

สมศ.ตัวบงชี้ที่ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 ,

8 , 9 สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 , 2.7 , 5.2

ใหสรุปผลลัพธที่สําคัญของการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียของสถาบัน รวมทั้งความ

พึงพอใจ ความไมพึงพอใจ ความผูกพัน โดยจําแนกผลลัพธตามหลักสูตร บริการที่สงเสริมการ

เรียนรู และบริการทางการศึกษาอื่นๆ และตามประเภทผูเรียน กลุมผูมีสวนไดสวนเสีย และ

สวนตลาด รวมทั้งแสดงขอมูลเชิงเปรียบเทียบที่เหมาะสม

จากขอมูลที่ไดจากตัววัดหรือสกอ.ตัวบงชี้ที่สําคัญที่เก่ียวของ ใหแสดงขอมูลและสารสนเทศ

ก. ผลลัพธดานการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย (1) ผลลัพธปจจุบันและแนวโนมดานความพึงพอใจและความไมพึงพอใจของผูเรียนและผูมี

สวนไดสวนเสียเปนอยางไร ใหเปรียบเทียบผลลัพธของสถาบันกับระดับความพึงพอใจของ

ผูเรียน และผูมีสวนไดสวนเสียของคูแขงและองคกรที่จัดหลักสูตร บริการที่สงเสริมการเรียนรู

และบริการทางการศึกษาอื่นๆ ที่คลายคลึงกัน

(2) ผลลัพธปจจุบันและแนวโนมดานการสรางความสัมพันธและความผูกพันของผูเรียนและผูมี

สวนไดสวนเสีย เปนอยางไร ใหเปรียบเทียบผลลัพธในแตละชวงเวลาที่ผูเรียนและผูมีสวนได

สวนเสียมาเขาเรียนในหลักสูตรและใชบริการ

สมศ.ตัวบงชี้ที่ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 ,

8 , 9

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.6 , 2.7 , 5.2

7.3 ผลลัพธดานงบประมาณ การเงิน และตลาด : ผลลัพธการดําเนนิการดานงบประมาณ การเงิน และตลาดของ องคกรเปนอยางไร

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.7 , 7.4 , 8.1 , 8.2

มคอ.2

ใหสรุปผลลัพธการดําเนินการดานงบประมาณ การเงิน และตลาดที่สําคัญของสถาบัน โดย

จําแนกตามประเภทของผูเรียน กลุมผูมีสวนไดสวนเสีย หรือสวนตลาด รวมทั้งแสดงขอมูล

เปรียบเทียบที่เหมาะสม

จากขอมูลที่ไดจากตัววัดหรือสกอ.ตัวบงชี้ที่สําคัญที่เก่ียวของ ใหแสดงระดับปจจุบันและ

แนวโนมของขอมูลและสารสนเทศ

Page 255: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

250

ก. ผลลัพธดานงบประมาณ การเงิน และตลาด (1) ผลการดําเนินการดานงบประมาณและการเงินของสถาบันเปนอยางไร ทั้งนี้ใหรวมถึงตัววัด

ดานการควบคุมตนทุน หรือความเขมแข็งดานการเงิน

(2) ผลการดําเนินการดานการตลาดของสถาบันเปนอยางไร ทั้งนี้ใหรวมถึงตําแหนง หรือ สวน

แบง ทางการตลาด การขยายตลาดและสวนแบงตลาด และการเจาะตลาดใหม

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.4 , 8.1 , 8.2

มคอ.2

7.4 ผลลัพธดานการมุงเนนผูปฏิบัติงาน : ผลลัพธดานการมุงเนนผูปฏิบัติงานขององคกรมีอะไรบาง

สมศ.ตัวบงชี้ที่ 14

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.4

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 7.4

ใหสรุปผลลัพธดานการมุงเนนผูปฏิบัติงานที่สําคัญ ในเร่ืองความผูกพันของผูปฏิบัติงานกับ

สถาบันและสภาพแวดลอมในการทํางาน โดยแสดงผลลัพธแยกตามความหลากหลายของ

ผูปฏิบัติงาน และแยกตามกลุมและประเภทของผูปฏิบัติงาน รวมถึงขอมูลเชิงเปรียบเทียบ

จากขอมูลที่ไดจากตัววัดหรือสกอ.ตัวบงชี้ที่สําคัญที่เก่ียวของ ใหแสดงขอมูลและสารสนเทศ

ก. ผลลัพธดานผูปฏิบัติงาน (1) ผลลัพธดานความผูกพันของผูปฏิบัติงานกับสถาบัน และความพึงพอใจของผูปฏิบัติงาน

(2) ผลลัพธดานการพัฒนาผูปฏิบัติงาน และกลุมผูนํา

(3) ผลลัพธดานอัตรากําลังและขีดความสามารถ รวมถึงจํานวนของบุคลากร และทักษะท่ี

เหมาะสม

(4) ผลลัพธดานบรรยากาศการทํางาน รวมถึง สุขอนามัย ความปลอดภัย การรักษาความ

ปลอดภัยของสถานที่ทํางาน รวมทั้งการใหบริการและสิทธิประโยชนของผูปฏิบัติงาน

สมศ.ตัวบงชี้ที่ 14

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 2.4

ก.พ.ร.ตัวช้ีวัดที่ 7.4

7.5 ผลลัพธดานประสิทธิผลของกระบวนการ : ผลลัพธดานประสิทธิผลของกระบวนการเปนอยางไร

สมศ.ตัวบงชี้ที่ 5, 6 , 7 , 8 , 9 , 10 ,

11

ใหสรุปผลลัพธการดําเนินการดานปฏิบัติการที่สําคัญของสถาบัน ที่เพิ่มโอกาสการเรียนรูของ

ผูเรียน และเพิ่มประสิทธิผลของสถาบัน รวมทั้งความพรอมของสถาบันตอภาวะฉุกเฉิน โดย

จําแนกผลลัพธตามประเภทของหลักสูตรและบริการสงเสริมการเรียนรู ประเภทผูเรียน และ

สวนตลาด และตามประเภทของกระบวนการและสถานท่ี รวมท้ังนําเสนอขอมูลเชิง

เปรียบเทียบที่เหมาะสม

จากขอมูลที่ไดจากตัววัดหรือสกอ.ตัวบงชี้ที่สําคัญที่เก่ียวของ ใหแสดงระดับปจจุบันและ

แนวโนมของขอมูลและสารสนเทศ

ก. ผลลัพธดานประสิทธิผลของกระบวนการ (1) ผลการดําเนินการดานการปฏิบัติการของระบบงาน รวมทั้งการเตรียมระบบงานและ

สถานที่ทํางานใหพรอมเม่ือเกิดภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน

(2) ผลการดําเนินการดานกระบวนการทํางานที่สําคัญ รวมถึงผลิตภาพ รอบเวลา และผลของ

ตัววัดอื่นที่เหมาะสมดานประสิทธิผลของกระบวนการ ประสิทธิภาพ และนวัตกรรม

**

Page 256: ร างคู มือ - Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat ...education.dusit.ac.th/QA/2553/QA_Manual_53.pdfบทท 8 การด าเน นงานประก

251

7.6 ผลลัพธดานภาวะผูนํา : ผลลัพธดานภาวะผูนํามีอะไรบาง สมศ.ตัวบงชี้ที่ 12 , 13

สกอ.ตัวบงชี้ที่ 7.1 , 7.4

ใหสรุปผลลัพธที่สําคัญดานธรรมาภิบาล และภาวะผูนําของผูนําระดับสูง รวมทั้งหลักฐาน

การบรรลุตามแผนกลยุทธ ความรับผิดชอบดานการเงิน การปฏิบัติตามกฎหมาย การประพฤติ

ปฏิบัติอยางมีจริยธรรม ความรับผิดชอบตอสังคม และการสนับสนุนชุมชนที่สําคัญ ใหแสดง

ผลลัพธโดยจําแนกตามหนวยงาน ทั้งนี้ใหแสดงขอมูลเชิงเปรียบเทียบที่เหมาะสมดวย

จากขอมูลที่ไดจากตัววัดหรือสกอ.ตัวบงชี้ที่สําคัญที่เก่ียวของ ใหแสดงขอมูลและสารสนเทศ

ก. ผลลัพธดานภาวะผูนําและความรับผิดชอบตอสังคม (1) ผลลัพธของความสําเร็จตามกลยุทธและแผนปฏิบัติการของสถาบัน

(2) ผลลัพธปจจุบันและแนวโนมของผลลัพธดานธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบดาน

การเงินทั้งภายในและภายนอก

(3) ผลลัพธดานการปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับ ความปลอดภัย การรับรองมาตรฐาน และ

กฎหมาย

(4) ผลลัพธดานการประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรม ความเชื่อม่ันของผูมีสวนไดสวนเสียที่มี

ตอผูนําระดับสูงและธรรมาภิบาลของสถาบัน และผลลัพธดานพฤติกรรมที่ขัดตอจริยธรรม

(5) การบรรลุผลลัพธดานความรับผิดชอบตอสังคมและการสนับสนุนชุมชนที่สําคัญของ

สถาบัน

สมศ.ตัวบงชี้ที่ 15 , 16 , 17 , 18