Top Banner
โครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบการ จัดการพื้นที่คุมครอง (Catalyzing Sustainability of Thailand’s Protected Areas System : CATSPA)
51

นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

Feb 17, 2017

Download

UNDP_
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

โครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุมครอง 

(Catalyzing Sustainability of Thailand’s Protected Areas System : CATSPA)  

   

Page 2: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

CATSPA เปน ความรวมมือระหวาง 

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช 

(DNP) 

กับ 

กองทุนสิ่งแวดลอมโลก (GEF) 

โครงการพัฒนาแหงสหประชาชาต ิ(UNDP) 

และ 

Page 3: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ความสอดคลองกับยุทธศาสตร/นโยบาย 

นโยบายของประเทศ ตามแผนการอนุรักษและใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน ฉบับที่ 3  

กลยุทธที่ 1 : คุมครององคประกอบความหลากหลายทางชีวภาพ กลยุทธที่ 2 : สนับสนุนการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน กลยุทธที่ 3 : ลดการคุกคามตอความหลากหลายทางชีวภาพ 

กลยุทธที่ 4 : สงเสริมการวิจัย การฝกอบรม การใหการศึกษา สงเสริมการเชื่อมโยงเครือขายเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ 

กลยุทธที่ 5 : เสริมสรางสมรรถนะใหแกประเทศไทยในการดำเนินงานตามความตกลงระหวางประเทศ ที่เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ 

Page 4: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ความสอดคลองกับยุทธศาสตร/นโยบาย 

นโยบาย UNDP : (UNDP Country Programme Action Plan: CPAP 2007-2011) 

!“เพิ่มสมรรถนะหนวยงานของประเทศในการแกปญหาอุปสรรคตางๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน และการสงเสริมการจัดการสิ่งแวดลอมในระดับพื้นที่”  

Page 5: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ความสอดคลองกับยุทธศาสตร/นโยบาย 

นโยบาย GEF :  

เปาประสงคที่ 1 : “สรางระบบการเงินที่ยั่งยืนของระบบพื้นที่คุมครองในระดับชาติ สงเสริมนโยบายแหงรัฐ และกิจกรรมสรางความเขมแข็งขององคกรเพื่อรับประกันวา ระบบพื้นที่คุมครองจะมีแผนงานและกิจกรรมเพื่อความยั่งยืนดานการเงินอยางยั่งยืนในระยะยาว รวมทั้งการหาแหลงทุนตางๆ การจัดการและใชงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ” 

Page 6: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

คำสั่งกรมฯ ที่เกี่ยวของกับการดำเนินโครงการ 

1)  คำกรมอุทยานฯ ที่ 1479/2554 เรื่อง จัดตั้งสำนักงานโครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุมครอง และใหขาราชการปฏิบัติงานโครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุมครอง ลว.

29 พย.54  2)  คำกรมอุทยานฯ ที่ 1077/2555 เรื่อง ใหขาราชการและเจาหนาที่ปฏิบัติ

งานโครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุมครอง ลว. 20 มิย.2555  

(เดิม) 

Page 7: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

คำสั่งกรมฯ ที่เกี่ยวของกับการดำเนินโครงการ 

3)  คำสั่งกรมอุทยานฯ ที่ 573/2556 เรื่อง ใหขาราชการและเจาหนาที่ปฏิบัติงานโครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุมครอง ลว.11 มีค.55 (อนุสนธิคำสั่ง ที่ 1077/2555) 

4) คำสั่งกรมอุทยานฯ ที่ 980/2558 เรื่อง ใหขาราชการและเจาหนาที่ปฏิบัติงานโครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่

คุมครอง (CATSPA) ลงวันที่ 6 พค.58 

(เดิม) 

Page 8: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

คำสั่งกรมฯ ที่เกี่ยวของกับการดำเนินโครงการ 

5)  คำสั่งกรมอุทยานฯ ที่ 3334/2559 เรื่อง จัดตั้งสำนักงานโครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุมครอง ลว.11 ธค.58 ใหจัดตั้งสำนักงานโครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่

คุมครอง (Catalyzing Sustainability of Thailand’s Protected Areas System) โดยใหใชชื่อยอวาโครงการ CATSPA เปนสวนราชการ

ภายในกรมฯ ขึ้นตรงตออธิบดีฯ 6)  คำสั่งกรมอุทยานฯ ที่ 3335/2559 เรื่อง ใหขาราชการและเจาหนาที่ปฏิบัติงานโครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่

คุมครอง ลว. 11 ธค.58 ใหหัวหนาพื้นที่คุมครองซึ่งเปนกลุมเปาหมายในพื้นที่นำรองจำนวน 13 แหง และขาราชการจำนวน 27 คน ปฏิบัติงานตามกรอบโครงสราง 

(ปจจุบัน) 

Page 9: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

โครงสรางการบริหารงาน 

Page 10: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

คณะกรรมการบริหารโครงการ : ออส. (ประธาน)  รอง ออส. ผูแทน สปทส. ผูแทน ปม. ผูแทน สผ. ผูแทน ทช. ผูแทน สพร. ผูแทน สศช. ผูแทน สถ. ผูแทน ททท. ผูแทนคณะวนศาสตร

ผูแทน IUCN ผูแทน WWF UNDP กปภ. กปน. กฟผ. ฯลฯ 

โครงสรางบุคลากรโครงการ CATSPA ผูอำนวยการโครงการ : ดร.ทรงธรรม สุขสวาง รองผูอำนวยการโครงการ : นายธัญนรินทร ณ นคร ผูจัดการโครงการ : นายคมกริช เศรษบุบผา 

ฝายบริหารทั่วไป หัวหนาฝาย: นายคมกริช เศรษบุบผา 

ฝายติดตามประเมินผล หัวหนาฝาย: นางสุนีย ศักดิ์เสือ 

ฝายวิชาการ หัวหนาฝาย: นางสาวหทัยรัตน นกุูล  

สำนักงานภาคสนาม อช.ดอยอินทนนท หัวหนาสำนักงานภาคสนาม: หัวหนาอช.ดอยอินทนนท 

สำนักงานภาคสนาม อช.แมวงก หัวหนาสำนักงานภาคสนาม: หัวหนา อช.แมวงก 

สำนักงานภาคสนาม อช.ตะรุเตา หัวหนาสำนักงานภาคสนาม: หัวหนา อช.ตะรุเตา 

สำนักงานภาคสนาม อช.คลองลาน หัวหนาสำนักงานภาคสนาม: หัวหนา อช.คลองลาน 

สำนักงานภาคสนาม ขสป. หวยขาแขง หัวหนาสำนักงานภาคสนาม: หัวหนา ขสป.หวยขาแขง สำนักงานภาคสนาม ผืนปาตะวันออก 

หัวหนาสำนักงานภาคสนาม: ผอ.สบอ.2 และ หัวหนาพื้นที่คุมครอง 8 พื้นที่ (5 อช. 2 ขสป.) 

คณะกรรมการที่ปรึกษาดานวิชาการ  ประธานกก.:ศ.ดร.นิพนธ ตั้งธรรม รตยา จันทรเทียร IUCN สำนักอนุรักษสัตวปา สำนักอุทยาแหน สบอ.2/5 อนรรฆ พัฒนาวิบูลย มหิดล ฯลฯ 

Project Executive Group :PEG ประธาน PEG: ผอ.สำนักอุทยาน บุษบง กาญจนสาขา ทิพยวรรณ เศรษฐ

พรรค อนรรฆ พัฒนวิบูลย ปยะทิพย เอี๋ยวพานิช 

Page 11: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ผูประสานงาน นางสาวกัญจนสุรีย ยิ้มสาล ี

การเงินธุรการ  บริหารทั่วไป 

ผูประสานงานพื้นที่นำรอง จีรวุฒิ แสงศรี  นลินี บุญมาก  เจนรบ ชนะราว ีจิตวด ี ขุนวงษา 

ที่ปรึกษาดานการจัดการพื้นที่คุมครอง : ทวี หนูทอง 

โครงสรางเจาหนาที่โครงการ CATSPA 

International/National Consultants (UNDP)

•  Prof.Jeffrey McNeeley (Technical Consultant for Development of Thailand’s PA)

•  Dr. Daniel Navid (Technical Consultant for Capacity Building Specialist on PA Sustainable Financing and Innovative Management)

•  Ms.Porntip Changyam (Dissemination and Advocating New Models of PA management support effective management of PA System)

•  M&E Specialist (on-going process) •  Knowledge management &Communication

(on-going process)

อธิบดีกรมอุทยานฯ 

ผูอำนวยการ โครงการ CATSPA 

กลุมปาตะวันออก 

ผูชวยนักวิจัย  SMART PATROL 

ปริวรรต นิลวิเชียร 

ผูชวยนักวิจัย ธันวดี เหมรา 

กลุมปาตะวันตก 

โครงการจัดการปาชน  3 พื้นที่ 68 ชุมชน  

ผูชวยนักวิจัย  กองทุนอนุรักษปาตะวันออก ฑิติญา ทุมวงศ 

ผูชวยนักวิจัย Marine SMART PATROL กฤษณ ธรรมสอน 

ที่ปรึกษา Reef Guardian ศักดิ์อนันต ปลาทอง  

ที่ปรึกษาประเมินมูลคาทรัพยากรน้ำ พิเชษฐ ภูวภิรมยขวัญ 

อช.ดอยอินทนนท 

ผูประสานงานกองทุนอนุรักษดอยอินทนนท 

อช.ตะรุเตา กลุมปาตะวันออก 

ที่ปรึกษา โปรแกรม Marine SMART Patrol สิทธิชัย จิตนะมอย 

Project Assistant: Hataitip Suparatnodom  

UNDP Project Assurance Dr.Sutharin Koonphol 

UNDP Representative 

Martin Hart-Hansen 

Page 12: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

วัตถุประสงค : การกำจัดปญหาอุปสรรคตอการจัดการและระบบการเงินในการบริหารพื้นที่คุมครองของประเทศไทย  

Page 13: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ผลสัมฤทธิ์ 

ผลสัมฤทธิ์ที่ 1 : การสงเสริมการบริหารจัดการที่ดีอันจะเอื้อประโยชนตอความยั่งยืนของระบบพื้นที่คุมครอง 

ความสำเร็จของโครงการฯ : ความยั่งยืน  ï แนวคิดดานการบริหารจัดการพื้นที่คุมครอง (แผนการจัดการอุทยานแหง

ชาติแบบบูรณาการ)  ï การพัฒนากลไกดานการเงิน (การจัดตั้งกองทุนผานกระบวนการมีสวนรวม) ï คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุมครอง (PAC) 

ï แผนการงบประมาณดานการเงิน (Financial Scorecard) 

Page 14: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ผลสัมฤทธิ์ 

ผลสัมฤทธิ์ที่ 2 : การเพิ่มศักยภาพขององคกรและบุคลากร ความสำเร็จของโครงการฯ : ï แนวคิดการปรับโครงการองคกร (สถาบันนวัตกรรมพื้นที่คุมครอง) ï เพิ่มศักยภาพเจาหนาที่ (Smart Patrol) 

ï เครื่องมือจัดการพื้นที่คุมครอง (METT, Scorecard, Business plan) ï เอกสารฝกอบรมตางๆ ที่เปนประโยชนในการจัดการพื้นที่คุมครอง  

Page 15: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์ที่ 3 : กลไกการสรางรายไดและระบบการจัดการไดรับการประเมิน และทดสอบ ณ พื้นที่นำรอง 4 แหง อันจะนำไปสูระดับงบประมาณที่เพิ่มขึ้นของระบบพื้นที่คุมครอง ความสำเร็จของโครงการฯ : ï คณะกรรมการที่ปรึกษากลุมปา/การมีสวนรวมของชุมชนในการบริหารจัดการพื้นที่แนวกันชน 

ï แผนการจัดการพื้นที่คุมครอง/ยุทธศาสตรดานการเงิน ï การพัฒนาระบบลาดตระเวนทางบก/ทะเล ï เครือขายอาสาสมัคร/การมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรทองถิ่น

(กุหลาบพันป/กลวยไมรองเทานารี) ï การพื้นฟูทรัพยากรพันธุพืช/สัตวปา 

Page 16: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ผลสัมฤทธิ์ 

ผลสัมฤทธิ์ที่ 4 : การประชาสัมพันธขยายผลตนแบบการจัดการพื้นที่คุมครอง ความสำเร็จของโครงการฯ : ï การพัฒนาระบบชองทางการประชาสัมพันธผานสื่อตาง ๆ  ï การนำสื่อมวลชนลงพื้นที่เพื่อประชาสัมพันธกิจกรรมการดำเนินงาน 

 

Page 17: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

การดำเนินงานโครงการ CATSPA 

Page 18: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ดอยอินทนนท   

Page 19: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ดอยอินทนนท:์ เข้มแข็งและมีกองทุนเสริมงานอนุรักษ์

จัดทําแผนยุทธศาสตร์อุทยานฯ §  2556 ใช้ METT ประเมินประสิทธิผลการจัดการ

§  2557 ร่างแผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์จากผลประเมิน METT*

§ Doi  Inthanon  Financial  Score  Card  

§  พัฒนาแผนธุรกิจอุทยานฯ* o  อบรมเขียนแผนธุรกิจ

รามาการ์เด้นท์ 4-5 กย 57

o  ประชุมกรรมการจัดตั้งกองทุน พิจารณาแผน รอยัลเพนนิซูล่า 23 กค. 57

o  ประชุมกรรมการจัดตั้งกองทุน พิจารณาแผน โดยมีกรรมการ 3 กลุ่ม 2 ครั้ง

o  ประชุมใหญ่กรรมการฯ พิจารณางบที่ต้องการ ณ อินทนนท์ พย. 58

หมายเหต ุ*มีกิจกรรมต่อในปี 59

ค้นหาพันธมิตร •  เปิดตัวโครงการ ณ The Impress สค. 57

•  อบรมพัฒนาทักษะมัคคุเทศก์อาสา ณ มณีนราคร 57

•  ร่วมประชุม PAC DI 30 ตค. 57

• ค้นหากิจกรรมทดแทนการฟื้นฟูกวางผา

•  อบรมพัฒนาทักษะมัคคุเทศก์อาสา ณ มณีนราคร 59

•  ซื้ออุปกรณ์และจัดอบรม Smart patrol ร่วมชุมชน

•  ผลิตสื่อเพื่อ ปชส.

•  เฝ้าติดตามกล้วยมํ

ขับเคลื่อนเพื่อการจัดตั้งกองทุน จากแผนยุทธศาสตร์ ลือกกล้วยไม้ กวางผา เป็นตัวแทนชนิดพันธุ์ในการสร้างทุน •  ประชุมเพื่อจัดทําหลักเกณฑ์กองทุนฯ The Empress 28 เมย 57

•  สรรหาผู้แทนจาก 26 สาขาอาชีพ The Empress มิย. 57

•  ประชุมจัดตั้งคณะกรรมการ เลือกประธานและกรรมการ 3 ฝ่าย 20 มิย.57

•  เตรียมงานเปิดตัวโครงการปล่อยคืนพันธ์ุพืชหายาก และเลือกโลโก้ ณ มณีนาราคร 24 กย 57

•  ขายทัวร์ระดมทุน •  สร้างโรงเพาะกล้วยไม้รองเท้านารี

•  ประชุมคณะกรรมการ ร่างระเบียบมูลนิธิ ณ มณีนาราคร 27 กพ. 58

•  ประชุมคณะกรรมการ เตรียมงานปล่อยกล้วยไม้และเลือกผู้จัดงาน

•  การเปิดตัวกองทุนอินทนนท์ 27 ก.ย 58

•  ยื่นขอจดทะเบียนมูลนิธิ ให้เป็นผู้บริหารกองทุน

Page 20: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

อุทยานแหงชาติ 

ดอยอินทนนท 

กิจกรรม ดำเนินการแลว 

§  2556 ใช METT ประเมินประสิทธิผลการจัดการพื้นที่คุมครอง 

ยกเลิก  

ดำเนินการตอเนื่อง 

Page 21: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

อุทยานแหงชาติ 

ดอยอินทนนท 

§  2557 รางแผนยุทธศาสตร วิเคราะหและอางอิง จากผลประเมิน METT  

Page 22: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

อุทยานแหงชาติ 

ดอยอินทนนท 

§  Doi Inthanon Financial Score Card  

§  อบรมเขียนแผนธุรกิจ รามาการเดนท 4-5 กย 57 

Page 23: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

Ø  ประชุมกรรมการจัดตั้งกองทุน พิจารณาแผน รอยัลเพนนิซลูา 23 กค. 57  

Doi Inthanon Conservation Trust Fund Foudation (I.T.F) Ø ประชุมกรรมการจัดตั้งกองทุน

พิจารณาแผน โดยมีกรรมการ 3 กลุม 2 ครั้ง  Ø ประชุมใหญกรรมการฯ พิจารณางบที่ตองการ ณ อินทนนท พย.58  

Page 24: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

Doi Inthanon Conservation Trust Fund Foudation (I.T.F) 

กิจกรรมประชาสัมพันธ/คนหาพันธมิตร  • เปดตัวโครงการ ณ The Impress สค. 57 

• อบรมพัฒนาทักษะมัคคุเทศกอาสา ณ มณีนราคร 57 

• รวมประชุม PAC DI 30 ตค. 57 • คนหากิจกรรมทดแทนการฟนฟูกวางผา • อบรมพัฒนาทักษะมัคคุเทศกอาสา ณ มณีนราคร

59 • ซื้ออุปกรณและจัดอบรม Smart patrol รวมชุมชน 

• ผลิตสื่อเพื่อ ปชส. • เฝาติดตามกลวยไม 

Page 25: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

Doi Inthanon Conservation Trust Fund Foudation (I.T.F) 

ขับเคลื่อนเพื่อการจัดตั้งกองทุน จากแผนยุทธศาสตร เลือกกลวยไม กวางผา เปนตัวแทนชนิดพันธุในการสรางทุน  • ประชุมเพื่อจัดทำหลักเกณฑกองทุนฯ The Empress 28 เมย 57  

• สรรหาผูแทนจาก 26 สาขาอาชีพ The Empress มิย. 57  • ประชุมจัดตั้งคณะกรรมการ เลือกประธานและกรรมการ 3 ฝาย 20 มิย.57 

•  เตรียมงานเปดตัวโครงการปลอยคืนพันธุพืชหายาก และเลือกโลโก ณ มณีนาราคร 24 กย 57 

• ขายทัวรระดมทุน  • สรางโรงเพาะกลวยไมรองเทานารี • ประชุมคณะกรรมการ รางระเบียบมูลนิธิ ณ มณีนาราคร 27 กพ. 58 • ประชุมคณะกรรมการ เตรียมงานปลอยกลวยไมและเลือกผูจัดงาน • การเปดตัวกองทุนอินทนนท 27 ก.ย 58 • ยื่นขอจดทะเบียนมูลนิธิ ใหเปนผูบริหารกองทุน 

Page 26: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

Doi Inthanon Conservation Trust Fund Foudation (I.T.F) 

Page 27: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

Doi Inthanon Conservation Trust Fund Foudation (I.T.F) 

ความกาวหนาจัดตั้งกองทุน • การระดมทุน (500,644.78 บาท) 

• ยื่นขอจดทะเบียนมูลนิธิ ใหเปนผูบริหารกองทุน 

Page 28: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ดอยอินทนนท   

Page 29: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

การจัดการกลุมปาตะวันออกมีประสิทธิภาพและมีแนวเชื่อมตอทางนิเวศ 

ลาดตระเวณเชิงคุณภาพ 

การอนุรักษเขาคิชฌกูฏอยางยั่งยืน  

เพิ่มศักยภาพ สบอ. 2 

การจัดการเชิงระบบนิเวศ  

ฝกอบรม 

วางแผน & รายงานขอมูล  

ซื้ออุปกรณ  

หองปฏิบัติการ ณ สบอ. 2 (ศรีราชา) 

แนวเชื่อมตอชะเมา-ไน 

การเจรจาและหาขอตกลง PES 

กองทุนแทนคุณ PES 

ปองกันการเผชิญหนาคนกับชาง 

คณะกรรมการที่ปรึกษากลุมปา (EFCOM PAC) 

แผนยุทธศาสตร PAC  

การพัฒนาบุคคลากร  

การคัดเลือกและจัดตั้ง  

คนหาชาวบานผูยินดี ใหพื้นที่เปนแนวเชื่อมตอฯ 

การศึกษาชีว-กายภาพ (bio-physical settings) 

สรางความยินดีจายจากสาธารณชน 

Page 30: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

กลุมปา

ตะวันออก  การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ 

ฝกอบรม 

ระดับหัวหนา ผช. ครูฝก หน.ชุด รวม 50 คน ณ หวยขาแขง 31 มค - 3 กพ 58  

เจาหนาที่ลาดตระเวน รวม 120 คน ณ ชสป.อางไน 

• รุนที่ 1 21 -27 เมย 58 • รุนที่ 2 3-9 พค 58 

• รุนที่ 3 23-29 พค 58  

การใชและการลงขอมูล ณ เขาชะเมา 13- 17 กค 58  

วางแผนการลาดตระเวนกอนการปฏิบัติจริง รวม 40 คน ณ เขาชะเมา 26 มิย 58  

การรายงานผลประจำเดือน  • ครั้งที ่1-5 28-30 กค 14-15 กย, 22 ตค,

23 พย, 22 ธค • ครั้งที่ 6-8 21 มค, 23 กพ, 23 มีค, 7 มิย  

วางแผน/รายงานขอมูล  

รายงานผลประจำเดือน รวม 3 ครั้ง  •  ครั้งที่ 10 24 มิย 59  

•  ครั้งที่ 11 22 กค 59 •  ครั้งที่ 12 23 สค 59  

ซื้ออุปกรณ  

ชวงป 58-59 ประมาณ  เครื่องแบบ 200 ชุด Ø ชุดลายพราง เครื่องหมาย  Ø เสื้อยืด กางเกง Ø ถุงเทา รองเทา  Ø กระเปา อุปกรณภาคสนาม Ø  GPS 16 ตัว Ø  คอมพิวเตอรพกพา 8 ตัว Ø  วิทยุสื่อสาร 40 ตัว หองปฏิบัติการ ณ สบอ. 2 (ศรีราชา) 

Page 31: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

อบรมลาดตระเวนเชิงคุณภาพ (SMART Patrol) แกผูบริหาร เจา

หนาที่ลาดตระเวนในกลุมปาตะวันออก 3 รุน กวา 120 คน 

Page 32: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

การอนุรักษเขาคิชฌกูฏอยางยั่งยืน  

หารือกลุมยอย 3 ครั้ง (คณะสงฆฯ ชุมชนวัดกระทิง) กค. - สค. 58 

แนวทางการจัดการใหมๆ เพื่อนำไปสูประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุมครองที่เพิ่มขึ้นทั้งในระดับพื้นที่และทั้งระบบพื้นที่คุมครอง 

กลุมปา

ตะวันออก 

Page 33: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ประชุมแกปญหาเขาคิชฌกูฏอยางยั่งยืน (114 คน) ณ มณีจันทร 17 พย 58 

Page 34: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

การอนุรักษเขาคิชฌกูฏ อยางยั่งยืน  

การจัดการเชิงระบบนิเวศ  

ประชุมหัวหนาหนวยงาน สบอ. 2 ประจำเดือน 

อบรมการใช Application เพื่อติดตามการบุกรุกปา 

ครั้งที่ 2-6 (กค.-กย.)  ครั้งที ่1 เมื่อ 28 มีค. 59 

อบรมเจาหนาที่ GIS ติดตามการบุกรุกปา 

ประมาณ เดือน กค. 59 

ประมาณ เดือน สค. 59 

Page 35: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

แนวเชื่อมตอเขาชะเมา - อางไน 

คนหาชาวบานผูยินดี ใหพื้นที่เปนแนวเชื่อมตอฯ 

•  เกษตรกร  •  ผูถือครองที่ดิน 

พันธมิตรในพื้นที่  

ทำแปลงปลูกพืชอาหารสัตวปา 

อุทยานแหงชาติเขาสิบหาชั้น 100 ไร 

อุทยานแหงชาติเขาชะเมา - เขาวง 100 ไร  

เขตรักษาพันธุสัตวปาคลองเครือหวายฯ 50 ไร  

ทำแนวกันชาง 1 กิโลเมตร 

การศึกษาทางชีว-กายภาพ (bio-physical settings) 

ประเมินมูลคาระบบนิเวศน้ำภาคเกษตรและอุตสาหกรรม 

กองทุนแทนคุณ PES สมาคมอนุรักษปาออก 

• การตูนเคลื่อนไหว เรื่อง คนกับชางปา 

• โปสเตอร & แผน

พับ  

ประเมินการเปลี่ยนแปลงน้ำทา INVEST 

ปองกันการเผชิญหนาคนกับชาง 

สรางความยินดีจายจากสาธารณชน 

วางระบบประเมินผลการลดภาวะเผชิญหนาคนกับขางปา 

การเจรจาและหาขอตกลง (PES) 

กลุมปา

ตะวันออก  กิจกรรม ดำเนินการแลว 

ยกเลิก  

ดำเนินการตอเนื่อง 

Page 36: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

คณะกรรมการที่ปรึกษากลุมปา (EFCOM PAC) 

Ø ครั้งที่ 1 เลือกประธาน ณ คามิโอ ระยอง 25 มิย 58  

Ø ครั้งที่ 2 แจงคำสั่งกรมอยางเปน

ทางการ ณ มณีจันทร จันทบุรี 6 ตค 58  

Ø ครั้งที่ 3 วิสัยทัศนและยุทธศาสตร ณ มิราเคิล กทม 19 กพ 58 

Ø ครั้งที่ 4 จัดตั้งสมาคมอนุรักษฯ

ขอบังคับ ณ คามิโอ ระยอง 24 มีค 58 

Ø ครั้งที่ 5 สรรหากรรมการสมาคมฯ

ณ มณีจันทร 10 มิย 58 

แผนยุทธศาสตร PAC  

Ø ครั้งที่ 6 ครั้งที่ 7 ครั้งที่ 8 

การมีสวนรวม/พัฒนาบุคคลากร  

การคัดเลือกและจัดตั้ง  

Ø ครั้งที่ 1 11 มีค. 57 Ø ครั้งที่ 2 24 พค 57 Ø ครั้งที่ 3 13 ตค 57 

Ø ครั้งที่ 4 17 ธค 57 

สมาคมอนุรักษ ผืนปาตะวันออก  

Page 37: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

17.12.2557  ตั้งคณะกรรมการที่

ปรึกษาพื้นที่คุมครองกลุมปา

ตะวันออก 

ณ รร.คลาสสิก  คามิโอ 

จ.ระยอง 

Page 38: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ปาตะวันตก  (หวยขาแขง คลองลาน แมวงก) 

 

Page 39: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

1. จัดการพื้นที ่แนวกันชนหวยขา

แขง-แมวงก-คลองลาน 

2. จัดทำ แผนการจัดการ 

อช.แมวงก  

หวยขาแขง  แมวงก  คลองลาน 

ผลสำเร็จ : 1) เกิดกติกาปาชุมชนและการลาดตะเวนและกิจกรรมฟนฟูพื้นที่ปากันชน เพาะชำไมปาเพื่อลดการพึ่งพาผลผลิตในปา 2) ขอมูลพื้นฐานแลวเสร็จ 3) อยูระหวางรวบรวมสรุปรายงาน 

3. จัดทำ แผนการจัดการ 

อช.คลองลาน  

64 ชุมชนแนวกันชนรอบปาเขมแข็ง 

เกิดกองทุนเครือขายชุมชนแนวกันชน 

Expe

cted

Out

puts 

ม ีแผนจัดการแมวงก-คลองลาน เสนอผนวกเปนมรดกโลก 

Page 40: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

โครงการจัดการพื้นที่ปากันชน กลุมปาตะวันตก (ขาแขง คลองลาน แมวงศ) 

Page 41: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

กลุมปา

ตะวันตก  การจัดการพื้นที่แนวกันชน 

Mae Wong NP 

Klong Lan NP 

HKK WS (World

Heritage) 

43 Village 7 sub districts 3 districts 

15 Villages 3 sub districts  3 districts 

10 Village 

Page 42: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

กิจกรรม/การประสานชุมชน 

v  ทำแนวกันไฟ 

v  ทำฝาย 

v  ถางหญา-ในปาชุมชน 

v  ปลูกตนไมเสริมปาชุมน 

v  ลาดตระเวนปาชุมชน 

68 ชุมชน 

Page 43: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ประชุมและเลือกตั้งประธานเครือขายปาชุมชน 

ผูใหญณรงค จูมโสดา 

นายกร มีโพธิ์ 

นายอำเภอบานไร 

หน.เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง 

ผูอำนวยการสวนสงเสริมการปลูกปา สำนักจัดการทรัพยากรปาที่ 4 

กำนันตำบลบานไร  

มูลนิธิสืบนาคะเสถียร 

นายธงชัย ชัยเดนพงษ 

นางปราณี ไพรประพันธ 

นายธานี พรมมา 

เลขานุการ  เหรัญญิก  ประชาสัมพันธ 

ประธานที่ปรึกษา 

(คณะกรรมการ) 

Page 44: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

กลุมปา

ตะวันตก 

ประเมินมูลคาการพึ่งพิงทรัพยากร และการใชประโยชนผลผลิตจากปาที่ไมใชเนื้อไม (NTFP) ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ปาแนวกันชน  

Page 45: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ตะรุเตา  

Page 46: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

พัฒนากลไกกองทุน 

เพื่ออนุรักษตะรุเตา 

•  จัดตั้งสมาคมรีฟการเดียน/ตั้งคณะกรรมการสมาคมฯ 

•  จัดตั้งเครือขายเฝาระวัง (เครือขายตาสัปรด) 

•  จัดอบรมดำน้ำลึกเพื่อการอนุรักษ 

•  จัดอบรมอาสาสมัครพิทักษปะการัง 

Marine Smart Patrol

•  จัดอบรมหลักสูตรการลาดตระเวณเชิงคุณภาพ (7 วัน) 

•  จัดอบรมหลักสูตรการใชโปรแกรมรายงานลาดตระเวน โปรแกรม Smart (3 วัน) 

•  พัฒนาระบบโปรแกรมฐานขอมูล Marine Smart Patrol 

ติดตั้งทุนจอดเรือ  

บริเวณอุทยาน 

•  จัดซื้อจัดจางฐานทุนคอนกรีตตามระเบียบ 

•  ติดตั้งทุนราวเพื่อการ จอดเรือ 

•  บันทึกภาพและจับพิกกัดตำแหนงทุนจอดเรือโดยใชเครื่อง GPS จัดทำทะเบียน 

อุทยานแหงชาติตะรุเตา 

Page 47: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ลาดตระเวนเชิงคุณภาพทางทะเล (Marine SMART Patrol) 

3-10 /17-24.05.2558 จัดอบรมลาดตระเวนทางทะเลเชิงคุณภาพ จำนวน 2 รุน รวมกับฐานทัพเรือพังงา ทัพเรือภาคที่ 3 และ WCS  1. อุทยานแหงชาติตะรุเตา ! 2. อุทยานแหงชาติเขาหลัก-ลำรู 3. อุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตรา 4. อุทยานแหงชาติหมูเกาะสุรินทร 5. เขตหามลาสัตวปาหมูเกาะลิบง ! 6. อุทยานแหงชาติเขาลำป-หาดทายเหมือง 7. อุทยานแหงชาติหมูเกาะสิมิลัน 

Page 48: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

การประชุมเชิงปฏิบัติการวางแผนการลาดตระเวน ทางทะเลแบบบูรณาการ ครั้งที่ 2  ระหวางวันที่ 28-31 มีนาคม 2559 

Page 49: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ผลการดำเนินงานในผลสัมฤทธิ์ที่ 4 การประชาสัมพันธขยายผลตนแบบการจัดการพื้นที่คุมครอง 

 

Page 50: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

ปญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน 

การบริหารงาน (รวม) Ø  ขาราชการที่รับผิดชอบใน PMU มี

จำนวนจำกัดและมีภารกิจหลายหนาที่ ทำใหไมมีเวลาเอื้ออำนวยการ

ดำเนินโครงการไดอยางคลองตัว  

Ø  ขั้นตอนการขออนุมัติดำเนินกิจกรรมโครงการยอยในพื้นที่นำรองมีขั้น

ตอนมาก และใชเวลานาน Ø  เจาหนาที่ดานเอกสารราชการและงานสารบรรณของโครงการ PMU มี

จำนวนจำกัดและไมเพียงพอตอปริมาณงานในพื้นที่นำรองที่ตอง

ดำเนินงาน 

แนวทางแกไข Ø  เห็นควรมอบหมายใหขาราชการที่มี

ศักยภาพรวมทำงานใน PMU เนื่องเพราะการดำเนินงานอิงตามระเบียบราชการ จำเปนอยางยิ่งที่ตองชี้แนะและเอื้ออำนวยการดำเนินงานใหเกิดความคลองตัวมากยิ่งขึ้น 

Ø  เห็นควรใหมีการมอบอำนาจในบางเรื่องเพื่อใหเกิดความคลองตัวในการดำเนินงาน 

Ø  ดวยภารกิจงานประสานงานและงานสารบรรณเพื่อเอื้ออำนวยการดำเนินงานในพื้นที่นำรองมีมาก แตเจาหนาที่ไมเพียงพอ จึงเห็นควรใหมีการจัดจางเจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ที่มีประสบการณ เพิ่มเติม 1 ตำแหนง 

Page 51: นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)

การเบิกจาย (ผาน DNP) Ø  ประสบการณดานการเงินในระบบราชการของเจาหนาที่โครงการ PMU มีจำกัด 

Ø  ขาราชการที่รับผิดชอบดานการเงิน-การคลัง-พัสดุ มีภารกิจมาก ทำใหไมมีเวลาเอื้ออำนวยการดำเนิน

โครงการไดอยางคลองตัว  Ø  การจัดซื้อจัดจางของพื้นที่นำรองผานพัสดุสวนกลางจะเพิ่มงานและ

ขั้นตอนการดำเนินงานเปนอยางมาก  

แนวทางแกไข Ø  เพื่อชวยเสริมการทำงาน ตรวจสอบ เรงรัดงานดานการเงินแกขาราชการดานการเงิน-การคลัง-พัสดุที่จัก

ชี้แนะการปฏิบัติงานที่ถูกตอง จึงจัด

จางและอบรมเจาหนาที่การเงินเพิ่มเติม 1ตำแหนง 

Ø  ใหพื้นที่นำรองดำเนินการดานขั้นตอนเอกสารการจัดซื้อจัดจาง ตาม

ขอบเขตอำนาจของหัวหนาพื้นที่

และสงใหการเงิน-พัสดุของสำนักอุทยานตรวจสอบ กอนยื่นสงสวน

การคลังเพื่อพิจารณา 

ปญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน