Top Banner
สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี 1 สาระสําคัญ สารกึ่งตัวนํคือ สารที่มีสภาพระหวางตัวนํากับฉนวน นํไปใชในการสรางอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสตางๆ เชน ไดโอด ทรานซิสเตอร ฯลฯ การคนพบสารกึ่งตัวนํานับเปนการคนพบที่ยิ่ง ใหญ จนอาจกลาวไดวาเปนการปฏิวัติอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส เลยทีเดียว
17
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

1

สาระสํ าคัญ

สารกึ่งตัวนํ า คือ สารที่มีสภาพระหวางตัวนํ ากับฉนวน นํ าไปใชในการสรางอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสตางๆ เชน ไดโอด ทรานซิสเตอร ฯลฯ การคนพบสารกึ่งตัวนํ านับเปนการคนพบที่ย่ิงใหญ จนอาจกลาวไดวาเปนการปฏิวัติอตุสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสเลยทีเดียว

Page 2: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

2

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

บอกคํ าจํ ากัดความของสารกึ่งตัวนํ าได อธิบายความแตกตางระหวางสารกึ่งตัวนํ าชนิด P และ ชนิด N ได

บอกโครงสรางและเขียนสัญลักษณของไดโอดทรานซิสเตอรได อธบิายหลักการทํ างานของไดโอดและทรานซิสเตอรได ยกตัวอยางการนํ าไดโอดและทรานซิสเตอรไปใชงานได สามารถตรวจสอบไดโอดและทรานซิสเตอรดวยมัลติมิเตอรได บอกชื่อและหนาที่ของไดโอดชนิดตางๆได บอกชื่อและหนาที่ของทรานซิสเตอรชนิดตางๆได

Page 3: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

3

ตัวนํ า สารกึ่งตัวนํ า ฉนวน

รูปที่ 7.1 แสดงโครงสรางของสสารแตละประเภท

สารกึ่งตัวนํ า บริสุทธิ์ (Intrinsic Semiconductor) จะมีสภาพการนํ าไฟฟาที่ไมดี เพราะอิเล็กตรอนวงนอกจะจับตัวรวมกนั โดยใชอิเล็กตรอนรวมกัน เพื่อใหเกิดภาวะเสถียร เสมือนมีอเิลก็ตรอนวงนอก 8 ตัวจึงไมเหมาะตอการใชงาน ดังนั้นในทางปฏิบตัิจึงมีการเติมสารอื่นเขาไป เพื่อใหเกิดสภาพนํ าไฟฟาที่ดีกวาเดิมเหมาะกับการใชงาน โดยการเติมสารหรือที่เรียกกันทับศัพทวา การโดป(Doping) สารนั้น จะมีได 2 ลักษณะคือ

สารกึ่งตัวนํ าคืออะไร

นิวเคลียสอิเล็กตรอน

สารกึ่งตัวนํ า ชนิด P และ ชนิด N

Page 4: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

4

เติมสารที่มีอิเล็กตรอนวงนอก 3 ตัว เชน อลูมิเนียม หรือแกลเลียม ลงไป ทํ าใหเกิดสภาวะขาดอิเล็กตรอนคือจะมีที่วางของอิเล็กตรอนซึ่งเรียกวา โฮล (Hole) มากกวาจํ านวนอิเล็กตรอนอิสระ ดวยเหตุที่โฮลมีสภาพเปนประจุไฟฟาบวกและเปนพาหะสวนใหญของสาร สวนอิเล็กตรอนจะเปนพาหะสวนนอย เราจึงเรียกสารก่ึงตัวนํ าประเภทนี้วา สารกึ่งตัวนํ าชนิด P (P-type Semiconductor)

เติมสารที่มีอิเล็กตรอนวงนอก 5 ตัว เชน สารหนู หรือ ฟอสฟอรัส ลงไป ทํ าใหเกิดสภาวะมีอิเล็กตรอนอิสระมากกวาจํ านวนของโฮล ดวยเหตุที่อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟาลบและเปนพาหะสวนใหญ สวนโฮลเปนพาหะสวนนอยของสารเราจึงเรียกวาเปน สารกึ่งตัวนํ าชนิด N (N-type Semiconductor)

รูปที่ 7.2 แสดงสารกึ่งตัวนํ าชนิด P และ ชนิด N

Nโฮล

อิเล็กตรอน

P

อิเล็กตรอนโฮล

Page 5: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

5

รปูที่ 7.3 แสดงโครงสรางของรอยตอ P-N

รูปที่ 7.4 แสดงการไบอัสตรง

รอยตอ PN

บริเวณปลอดพาหะ(Depletion Region)

การไบอัสรอยตอ PN

กระแสอิเล็กตรอน กระแสอิเล็กตรอนแบตเตอรี่

โฮล อิเล็กตรอน

Page 6: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

6

ในทางตรงกันขามหากเราทํ าการจายแรงดันสลับดาน โดยใหขั้วบวกของแบตเตอรี่ตอเขากับสารกึ่งตัวนํ าชนิด N และตอขั้วลบเขากับสารกึ่งตัวนํ าชนิด P จะท ําใหมีการฉุดรั้งอิเล็กตรอนไมใหขามมายังฝงตรงขาม ทํ าใหไมเกิดกระแสไหล เราเรียกลักษณะการตอแรงดันในลักษณะนี้วา การไบอัสกลับ (Reveres Bias)

รูปที่ 7.5 แสดงการไบอัสกลับ

โฮล อิเล็กตรอน

เขตปลอดประจุ

อิออนบวกอิออนลบ

Page 7: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

7

จากคุณลักษณะของรอยตอ PN ของสารกึ่งตัวนํ า เราจึงนํ ามาสรางอุปกรณที่เรียกวา ไดโอดขึ้น โดยเรียกขั้วที่ตอกับสาร P วา อาโนด(Anode) และเรียกขั้วที่ตอกับสาร N วา คาโถด(Cathode) โดยจะมีรูปลักษณะและสัญลักษณดังรูปที่ 7.6

รปูที่ 7.6 แสดงรูปลักษณะ และ สัญลักษณ ของไดโอด

ไดโอด

Page 8: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ าน

8

ไดส

1.

การตรวจสอบไดโอด

ักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

วิธกีารตรวจสอบไดโอดวาดีหรือเสียและตรวจสอบขั้วของโอดท ําไดโดยอาศัยคุณสมบัติของการไบอัสไดโอด โดยามารถทํ าไดดังนี้ คือ

1. ใชมัลติมิเตอรตั้งยานวัดโอหม R X 12. ใชปลายสายวัดตอเขากับขั้วตอแตละดานของไดโอด3. สังเกตเข็มมิเตอรวาขึ้นหรือไม4. จากนั้นทํ าการสลับขั้วสายวัดแลวสังเกตเข็มมิเตอรอีกครั้ง

รปูที ่7.7 แสดงการตรวจสอบไดโอดดวยมิเตอร

การปองกันการตอแบตเตอรี่ผิดขั้ว

Page 9: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

9

วงจรอิเล็กทรอนิกส

+

-

วงจรอิเล็กทรอนิกส

+

การปองกันการตอแบตเตอรี่ผิดขั้ว

ตอถูกขั้ว กระแสไหลวงจรทํ างาน

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ

รูปที่ 7.9 แสดงการ

การแปลงไฟสลับเปนไฟตรง

รปูที่ 7.10 แสดงการ

ตอผิดขั้ว กระแสไมไหลวงจรไมทํ างาน

โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

ตอแบตเตอรี่เขากับวงจร

แปลงไฟสลับเปนไฟตรง

Page 10: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ าน

10

ไดไดไดซไดได

ไดโอดชนิดตางๆ

ักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

โอดดเีท็คเตอร ( Detector Diode)โอดเรก็ตฟิาย (Rectifier Diode)โอดกํ าลัง ( Power Diode)ีเนอรไดโอด ( Zener Diode)โอดเปลงแสง (Light Emitting Diode)โอดรับแสง (Photo Diode)

รปูที่ 7.11 แสดงไดโอดประเภทตางๆ

Page 11: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

11

1. ในการใชงานไบอสัตรงจะตองมีตัวตานทานจํ ากัดกระแสตอไวเสมอ 2. การใชงานในสภาวะไบอัสกลับจะตองระวังไมใหไดโอดไดรับแรงดันไบอสักลับเกินกวาคาแรงดันไบอัสกลับสูงสุดที่ทนได 3. การใชงานไดโอดเปลงแสงหรือแอลอีดี จะตองระวังไมใหกระแสเกินกวา 20 mA 4. ไมควรใหแอลอดีีไดรับแรงดันไบอัสกลับ

5. คาแรงดนัที่ตกครอมแอลอีดีในสภาวะทํ างานจะแตกตางกันไปตามสารที่ใชทํ า

ขอควรระวังในการใชงานไดโอด

Page 12: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านัก

12

ชน

ทรานซิสเตอร

พิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

ทรานซิสเตอร (Transistor) เปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสิดหนึ่ง ที่สรางมาจากสารกึ่งตัวนํ า 3 ช้ิน มาเชื่อมตอกัน คือ

ช้ินแรก เรียกวา อิมิตเตอร (Emitter)ช้ินที่สอง เรียกวา เบส (Base) จะเปนชิ้นสารบางๆช้ินที่สาม เรียกวา คอลเล็กเตอร (Collector)

รปูที่ 7.12 แสดงโครงสรางของทรานซิสเตอร

รอยตอ PN ระหวางเบส กับ อิมิตเตอร

รอยตอ PN ระหวาง เบสกับ คอลเล็กเตอร

Page 13: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

13

โครงสรางของทรานซิสเตอรชนิด PNP และ NPN

สญัลักษณ ของทรานซิสเตอรชนิด PNP และ NPN

PNP NPN

Page 14: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านัก

14

การทํ างานของทรานซิสเตอร

รูปที่ 7.14 แสดงการทํ างานของทรานซิสเตอร

VCE+-

รอยตอ PN เบส-อิมิตเตอร

รอยตอ PN เบส-คอลเล็ก

-+

VBE

การไบอัส

พิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

ไบอัสคงที่(Fixed Bias)

ไบอัสแบบแบงแรงดัน(Voltage Divider Bias)

ไบอัสตัวเอง(Self Bias)

Page 15: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

15

การตรวจวาทรานซิสเตอรดีหรือเสีย1. กอนอื่นตองทราบกอนวา ทรานซิสเตอรเปนประเภทอะไร และขาใดเปนขา

อะไร ถาทรานซิสเตอร เปนชนิด NPN ใหตอขั้วลบของมิเตอรไวที่ขาคอลเล็กเตอร ใหตอขั้วบวกไวที่ขาอิมิตเตอร แตถาเปนชนิดPNP ใหสลับกันคือ ตอขั้วบวกของมิเตอรไวที่ขาคอลเล็กเตอรและตอขั้วลบไวที่ขาอิมิตเตอร

2. ต้ังมัลติมิเตอรในยานวัดโอหม R X 103. ดูเข็มของมิเตอรวาขึ้นหรือไม ถาขึ้นแสดงวาอาจชอตหรือมีกระแสรั่วไหลสูง4. จากนั้นใชนิ้วมือแตะระหวางขาคอลเล็กเตอรและขาเบส(แทนตัวตานทาน Rb)5. สงัเกตวาเข็มขึ้นจากเดิมหรือไม ถาขึ้นแสดงวาใชได โดยถาขึ้นสูงแสดงวาอัตรา

ขยายกระแสสูง (ในการวัดเพื่อเปรียบเทียบอัตราการขยายกระแสของทรานซิสเตอรแตละตัว ควรใชอุปกรณการวัดทรานซิสเตอรที่ใหมากับมัลติมิเตอร จะชวยใหมีความเที่ยงตรงมากยิ่งขึ้น)

การตรวจสอบทรานซิสเตอร

Page 16: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ านักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

16

การตรวจหาขาและชนิดของทรานซิสเตอร1. ต้ังมัลติมิเตอรยานวัดโอหม R X 102. ตรวจสอบหาขาเบสของทรานซิสเตอร โดยพิจารณาทรานซิสเตอรในลักษณะ

ของไดโอดดังรูป

รูปที่ 7.16 แสดงการตรวจหาขาเบสของทรานซิสเตอร

3. ใชขาใดขาหนึ่งเปนหลัก โดยสมมุติใหเปนขาเบส แลวตอสายวัดไว จากนั้นใชสายวัดอีกเสน แตะที่ขาทั้งสองที่เหลือ ถามิเตอรขึ้น ทั้ง 2 ครั้ง แสดงวามีแนวโนมที่จะเปนขาเบส จากนั้นใหสลับสายวัดแลวลองทํ าซํ้ าตามเดิมอีกครั้ง ถาไมขึน้ทั้งสองขา แสดงวาเปนขาเบสแนนอน

4. เมื่อหาขาเบสไดก็จะรูชนิดของทรานซิสเตอรคือ ถาในสภาวะขึ้นทั้ง 2 ขา ขั้วบวกของมิเตอรตออยูกับขาเบส แสดงวา เปนทรานซิสเตอร PNP แตถาเปนขั้วลบตออยูที่ขาเบสตอนเข็มมิเตอรขึ้น 2 ครั้ง แสดงวาเปนชนิด NPN

5. หลงัจากหาขาเบสไดแลวใหลองหาขาคอลเล็กเตอรและอิมิตเตอร ตามหลักการไบอัสทรานซิสเตอร เชนเดียวกับวิธีหาวาทรานซิสเตอรดีหรือเสีย ถาตอถูกตอง เข็มจะขึ้นสูงเมื่อใชนิ้วมือแตะระหวางขา เบสและคอลเล็กเตอร

PNP NPN

Page 17: ไดโอดและทรานซิสเตอร์

สํ าน

17

ทททโฟ

การนํ าไปใชงาน

ัก

แสดงการนํ าทรานซิสเตอรไปตอเปนวงจรสวิตช

รรร

LED

2N2002

R1220

LDR R3

R2100k

9 V

BATTERY

ทรานซิสเตอรชนิดตางๆ

พิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

านซิสเตอรสัญญาณตํ่ า (Small Signal Transistor)านซิสเตอรกํ าลัง (Power Transistor)านซิสเตอรชนิดทํ างานความถี่สูงโตทรานซิสเตอร (Photo Transister)