Top Banner
การบริหารจัดการเรื องเมืองสีเขียวของจีน : เมืองเซี ยงไฮ และเมืองหางโจว มณฑลเจอเจียง ดารณี เสือเยะ ผูชวยนักวิจัย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนยศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต http://www.visitourchina.com/guide/peoples_square.htm
17

การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

Jun 26, 2015

Download

Data & Analytics

FURD_RSU

การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรือ่งเมืองสีเขียวของจีน:

เมืองเซีย่งไฮ และเมืองหางโจว มณฑลเจอเจียง

ดารณี เสือเยะ ผูชวยนักวิจัย

แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง

ศูนยศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต

http://kotpolski.files.wordpress.com/2013/05/img_5717.png http://www.visitourchina.com/guide/peoples_square.htm

Page 2: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

1

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน:

เมืองเซ่ียงไฮ และเมืองหางโจว มณฑลเจอเจียง

เรียบเรียงโดย

ดารณี เสือเยะ

ผูชวยนักวิจัย

แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง

โลกเราทุกวันนี้ กําลังกลายเปนเมืองมากข้ึนเรื่อย ๆ ในทศวรรษ 1800 ประชากรของโลกที่

อาศัยอยูในเมืองมีเพียง 3% เทานั้น แตในชวงทศวรรษ 1950 ตัวเลขของคนเมืองพุงข้ึนไปถึง 30% ใน

ปจจุบัน ประชากรที่อาศัยอยูในเมืองมีจํานวนมากกวา 50% มีการคาดคะเนวา ในป ค.ศ. 2030

ประชากรโลกจํานวนมากถึง2 ใน 3 ของประชากรทั้งหมด จะอาศัยอยูในเมือง

จากการศึกษาของ องคกรมาตรวิทยา ในกลุมยุโรปตะวันตก ( EURAMET) เมื่อป ค.ศ. 2013

พบวา เมืองตาง ๆ ทั่วโลกครอบคลุมพ้ืนที่เพียง2% ของพ้ืนผิวโลก แตกลับมีปริมาณการบริโภคพลังงาน

สูงถึง 75% ดังนั้น พลังงานและสิ่งแวดลอม (เชน การใชพลังงานอยางย่ังยืน การเปลี่ยนแปลงสภาพ

ภูมิอากาศ) จึงเปนประเด็นที่ตองใหความสําคัญและปรับตัวรับมือเปนอันดับแรก ๆ โดยเฉพาะกับมหา

นคร (Mega Cities)

ภาพท่ี 1 40 มหานครท่ัวโลก

ที่มา: EURAMET. (2013). Mega Cities [online], 6 June 2014. Retrieved: http://www.emrponline.eu/call2013/docs/MegaCities.pdf

Page 3: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

2

มหานคร(เมืองที่มีการกระจุกตัวของประชากรอยางหนาแนน มีประชากรที่อาศัย ( inhabit) อยู

ในเมืองนั้น ๆ มากกวา 10 ลานคน0

1) กําลังเกิดข้ึนและกระจายตัวไปตามพ้ืนที่ตาง ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะ

ทวีปเอเชีย (ดูภาพที่ 1) ที่มีการกระจุกตัวของมหานครอยางหนาแนน โดยที่ 40 มหานครนั้นเปน

ตัวแทนของประชากรราว 300 ลานคน ที่ทําใหเกิด GDP ของโลก 18% และเปนสาเหตุของการปลอย

กาซคารบอนไดออกไซด 10% โดยมีประเทศจีนเปนตัวแปรสําคัญของการปลดปลอยกาซพิษดังกลาวข้ึน

สูชั้นบรรยากาศโลก

จากการเปดเผยรายงานประจําป ค.ศ. 2013ของหนวยงานการประเมินสิ่งแวดลอมของประเทศ

เนเธอรแลนด ( Netherlands Environmental Assessment Agency) 1

2 พบวา ปริมาณการปลอยกาซ

คารบอนไดออกไซดทั่วโลก ซึ่งเกิดจากกระบวนการเผาไหมของเชื้อเพลิงฟอสซิล ไมวาจะเปนถานหิน

น้ํามัน หรือกาซธรรมชาติ ของป ค.ศ. 2011 สูงข้ึนถึง 3% แตะระดับ 34,000 ลานตันเปนอยางนอย ทั้งนี้

จีนกลายเปนประเทศที่ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูงเปนอันดับ 1 ของโลก ดวยกับปริมาณเฉลี่ย 6-

19 ตัน/คน ในชวงของการกาวขามมาเปนประเทศอุตสาหกรรมรายใหญของโลก โดยปริมาณการปลอย

กาซคารบอนไดออกไซดกวารอยละ 70 ของป ค.ศ. 2012 เกิดจากประเทศจีน

แมจีนจะเปนประเทศที่ติดอันดับตน ๆ ของโลก เรื่องการบริโภคพลังงานจํานวนมหาศาล ซึ่ง

กอใหเกิดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกก็ตาม แตเมืองเซี่ยงไฮและเมืองหาง

โจว มณฑลเจอเจียง ก็สามารถเปนหนึ่งในตนแบบเก่ียวกับการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมภายใตการ

เผชิญกับความเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศของมหานครตาง ๆ เพ่ือนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยาง

ย่ังยืนของคนเมือง

1EURAMET. (2013). Mega Cities [online], 6 June 2014. Retrieved: http://www.emrponline.eu/call2013/docs

/MegaCities.pdf 2Jos Olivier. (2013). Trends in global CO2 emissions; 2013 Report, 25 June 2014. p. 5-6.

Page 4: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

3

เซ่ียงไฮ มหานครตนแบบดานการรับมือการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของเมือง

“เซ่ียงไฮ ” แปลวา “อยูสูงจากทะเล” ชื่อเมืองถูกตั้งตามทําเลที่ตั้งเมื่อพันกวาปที่ผานมา ผู

บุกเบิกเมืองคงจินตนาการไมออก ถึงสถานการณในปจจุบันที่เมืองเซี่ยงไฮกําลังเผชิญอยู เมืองที่อยูต่ํา

กวาระดับน้ําทะเล

มหานครเซี่ยงไฮตั้งอยูบริเวณชายฝงดานทิศตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟก ตอนกลางของ

ประเทศจีน ใกลกับปากแมน้ําแยงซีเกียง บริหารงานแบบเทศบาลนครที่มีสถานะเทียบเทามณฑลหนึ่ง

ข้ึนตรงตอรัฐบาลกลาง มีขนาดใหญเปนอันดับสองของประเทศจีน (รองจากเมืองกวางโจว) จํานวน

ประชากรที่มีมากถึง 25,300,000 คน 2

3 (มากเปนอันดับ 5 ของโลก) ความหนาแนนของประชากรตอ

พ้ืนที่อยูที่ 4,887 คนตอตารางกิโลเมตรมีสัดสวนความเปนพ้ืนที่เมืองที่ใหญที่สุดในโลก

จากภาพที่ 2 พบวา นับตั้งแตป ค.ศ. 1990 เปนตนมา พ้ืนที่ความเปนเมือง ( Urban land) ของ

เซี่ยงไฮเพ่ิมมากข้ึนอยางเห็นไดชัด สวนทางกับการลดลงของพ้ืนที่เพาะปลูก ( Cropland) และสัดสวนที่

เปนพ้ืนน้ํา (Water body) กับพ้ืนที่สีเขียว (Green land) ที่ขยายออกอยางชา ๆ 3 EURAMET. (2013). Mega Cities [online], 6 June 2014. Retrieved: http://www.emrponline.eu/call2013/docs

/MegaCities.pdf

ภาพท่ี 1สัดสวนการใชประโยชนจากท่ีดินของเมืองเซ่ียงไฮ

ที่มา:Shanghai Meteorological Bureau . Climate Change in Mega-City Shanghai and its impacts [online],

6 June 2014. Retrieved: http://www.atse.org.au/Documents/International%20Colloboration/Workshops/Aust%

20China%20Science%20and%20Tech/Climate%20Change/Zhan.pdf

Page 5: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

4

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอเมืองเซ่ียงไฮ

สถานะของมหานครเซี่ยงไฮที่มีตอประเทศจีนก็เชนเดียวกับที่มหานครนิวยอรกมีตอประเทศ

สหรัฐอเมริกา กลาวคือ สัญลักษณแหงความสําเร็จ หรือเปนสัญญาณเตือนแหงความเจ็บปวดที่กําลังคืบ

คลานเขามา ในอดีตนิวยอรกเปนเมืองศูนยกลางของอุตสาหกรรม เต็มไปดวยโรงงานอุตสาหกรรมขนาด

ใหญ ซึ่งเกือบจะเปนสาเหตุที่นําไปสูการลมสลายของเมือง ภาวะโลกรอนทําใหระดับน้ําทะเลทั่วโลกเพ่ิม

สูงข้ึน เชนเดียวกันมหานครเซี่ยงไฮ ประเทศจีน ตั้งแต ป ค.ศ. 1920-1930 เปนตนมา จมตัวลงกวา 2.8

เมตรการเผชิญกับปญหาเรื่องสิ่งแวดลอม พายุไตฝุนและทอรนาโดคือความผิดปกติที่ปรากฏข้ึนบอยครั้ง

และสถานการณที่เมืองกําลังจมลง หากไมมีการวางแผนการเติบโตของเมืองในอนาคต เซี่ยงไฮจะจมลง

1.5 เซนติเมตร ทุก ๆ ปเปนสัญญาณเตือนที่เซี่ยงไฮตองเลือกระหวางปรับตัวหรือหายนะ ( Adapt or

Die) เชนที่นิวยอรกเคยเลือกมาแลว

สาเหตุสําคัญที่ทําใหเซี่ยงไฮจมน้ําทะเลก็คือ การสูบน้ําจากใตดินมาใชเปนจํานวนมาก ดังนั้น

หนึ่งในวิธีการแกปญหาการทรุดตัวของรัฐบาลเซี่ยงไฮ คือ การติดตั้งทอสูบน้ําจากทะเลสาบไทหูมาใช

บริโภคในมหานครเซี่ยงไฮแทนที่การสูบน้ําใตดินหรือน้ําบาดาลข้ึนมา นอกจากนี้ ยังมีการสรางเข่ือน

บริเวณชายฝงเพ่ือปองกันการกัดเซาะพ้ืนดิน และการเพ่ิมพ้ืนที่สีเขียวในมหานครเซี่ยงไฮใหมากที่สุด

เทาที่จะทําได

แนวทางในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

การกอสรางประตูระบายนํ้า

เมืองเซี่ยงไฮพิจารณาแลวเห็นวา ควรกอสรางประตูระบายน้ําบริเวณปากแมน้ําแยงซีเกียง

เนื่องจากสามารถเปดหรือปดประตูระบายน้ําไดตามปริมาณของน้ําในแมน้ําที่เปลี่ยนแปลงไปตามแต

ฤดูกาล สามารถควบคุมปริมาณน้ําที่ตองการใหไหลผานควบคุมความเร็วของน้ํา หรือใชในการกักเก็บ

น้ําได ในขณะเดียวกันประตูระบายน้ํายังชวยปองกันในกรณีที่เกิดพายุอีกดวย

นอกจากเหตุผลเรื่องประสิทธิภาพของการควบคุมปริมาณน้ํา ประตูระบายน้ํายังมีตนทุนในการ

กอสรางนอยกวาการปรับพ้ืนที่ของเข่ือนใหสูงข้ึน ซึ่งทางรัฐบาลเซี่ยงไฮใชงบประมาณในการบริหาร

จัดการน้ําทวมในรอบ 10 ปที่ผานมา มากกวา 6 พันลานดอลลารสหรัฐ

Page 6: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

5

การเพิ่มพื้นที่ชุมนํ้า

มหานครเซี่ยงไฮยังคงใชวิธีเสริมแนวกันน้ําทวมบริเวณริมแมน้ํา ซึ่งบางครั้งกลายเปนตัวการที่

สรางความเสียหายตอพ้ืนที่ริมแมน้ํามากกวา อันเนื่องมาจากการเพ่ิมข้ึนของจํานวนประชากรและความ

พยายามในการสงเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหเพ่ิมข้ึนในปริมาณเทาตัวทุก ๆ ป ทําใหพ้ืนที่ชุม

น้ําบริเวณชายฝงคอย ๆ ลดลง และถูกแทนที่ดวยกับโรงงานอุตสาหกรรมและอะพารตเมนตจํานวนมาก

ซึ่งตองการพ้ืนที่เพ่ิมเติมเพ่ือการปลูกสรางโรงงานและอะพารตเมนตแหงใหมที่ไมมีสิ้นสุดเนื่องจากพ้ืนที่

ชุมน้ําเหลานี้ ไมไดเปนเพียงที่อยูอาศัยของสรรพสัตวเทานั้น แตยังทําหนาที่เปนเกราะคุมกันอีกกวา 22

ลานคนในเมืองเซี่ยงไฮจากภัยธรรมชาติอีกดวย

พ้ืนที่กิจกรรมเหลานี้เปนเสมือนเชื้อเพลิงที่ใหพลังงานแกเศรษฐกิจของมหานคร แตในสมรภูมิ

ของการตอสูกับภาวะโลกรอนหรือการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ สิ่งเหลานี้คือตัวแปรสําคัญที่ทํา

ใหสุขภาวะของเมืองออนแอลง

ผูเชี่ยวชาญเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจากคณะกรรมการปกปองทรัพยากรธรรมชาติ

(The Natural Resources Defense Council) กลาววา ในขณะที่รถแทรกเตอรกําลังจัดการขุดพืชชนิด

ตาง ๆ ในพ้ืนที่ชุมน้ําออกไป เพ่ือแทนที่ดวยกับอาคารหลังใหมนั่นเทากับวามหานครเซี่ยงไฮกําลัง

สูญเสียแนวปองกันตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถลดการกัดเซาะหนาดินและชวยลดการปะทะของคลื่นลม

พายุ

ดังนั้น การแกปญหานี้จึงอยูที่การหันกลับมาใหความสําคัญกับพ้ืนที่ชุมน้ําเพ่ือทดแทนในสวนที่

แผวถางไป หนึ่งในวิธีการที่เซี่ยงไฮกําลังดําเนินการอยูก็คือเปลี่ยนตัวเองไปสูการใชเครื่องมือทาง

เศรษฐกิจใหม โดยการคัดทายออกจากภาคอุตสาหกรรมที่หิวกระหายพ้ืนที่ในการกอสรางโรงงานและมุง

หัวเรือการพัฒนาเศรษฐกิจของเมืองไปสูภาคการเงินการธนาคารที่ตองการเพียงแคโตะกับคอมพิวเตอร

ในการทํางานเทานั้น3

4

นอกจากนี้ เมืองเซี่ยงไฮยังแสดงใหเห็นถึงความพยายามในการจัดการกับการปลอยกาซเรือน

กระจกออกสูชั้นบรรยากาศ ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

4 Coco Liu of ClimateWire. (2011). Shanghai Struggles to Save Itself From the Sea [online], 6 June 2014.

Retrieved: http://www.nytimes.com/cwire/2011/09/27/27climatewire-shanghai-struggles-to-save-itself-from-the-

s-43368.html?pagewanted=all

Page 7: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

6

การลดปริมาณกาซเรือนกระจก

ตั้งแตป ค.ศ. 1994 เปนตนมา เซี่ยงไฮไดปรับปรุงระบบรางรถไฟใหมีความเชื่อมโยงกันทั่วทั้ง

เมือง จนในปจจุบันถือวาเปนระบบที่มีความยาวมากที่สุดในโลก จูงใจใหประชาชนจอดรถไวที่บาน และ

หันมาใชระบบรถโดยสารสาธารณะเพ่ิมมากข้ึน

ในขณะที่เซี่ยงไฮกําลังดําเนินการเรื่องพลังงานสะอาด ประเทศจีนไดแถลงโครงการจําหนาย

กระแสไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยของจีนใหแกกริด ( Grid) หรือเครือขายพลังงานไฟฟาที่เชื่อมโยง

กันและกระจายทรัพยากรใหแกกัน ซึ่งตอมากลายเปนฟารมกังหันลม ( Wind Farm) นอกพ้ืนที่ยุโรปที่

ใหญที่สุดแหงแรกของโลก และดวยการชวยเหลือดานเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย กระแสไฟฟาจาก

พลังงานน้ําถูกสงไปยังมหานครเซี่ยงไฮดวยกับระยะทางไกลกวาพันไมล สงผลใหเซี่ยงไฮพัฒนามาเปน

เมืองพลังงานสะอาดที่ใหญที่สุดแหงใหมของโลก

อยางไรก็ตาม กระแสไฟฟาครึ่งหนึ่งของเมืองก็ยังคงผลิตมาจากถานหิน ซึ่งเปนตัวการสําคัญที่

กอใหเกิดกาซคารบอนไดออกไซด เพ่ือที่จะลดปริมาณกาซเรือนกระจก เซี่ยงไฮจําเปนตองลดการ

บริโภคพลังงานใหนอยลง ผานการออกกฎบังคับใหอาคารตาง ๆ ตองมีเครื่องทําน้ํารอนพลังงาน

แสงอาทิตย (Solar Water Heaters) มาตรการข้ึนราคาคาไฟฟากับอุตสาหกรรมที่ไมมีประสิทธิภาพใน

การผลิต กลาวคือ เปนการผลิตที่มีปริมาณการใชพลังงานไฟฟาสูง รวมทั้งอุตสาหกรรมการผลิตเหล็ก

ซีเมนต และโรงงานผลิตหนัง

รัฐบาลใชวิธีการใหแรงจูงใจ ( carrots) รวมกับการออกคําสั่งและการขอความรวมมือตลอด

ระยะเวลาของการดําเนินงาน ทั้งในระดับภาคอุตสาหกรรมที่สามารถเขาถึงการชวยเหลือทางดาน

การเงินเพ่ือพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากข้ึน และในระดับครัวเรือนตางไดรับ

เงินสวนลดจากรัฐบาลหากเปลี่ยนมาใชหลอดไฟและเครื่องปรับอากาศแบบประหยัดพลังงาน

ผลการดําเนินงานปรากฏวา สามารถลดการใชพลังงานในมหานครเซี่ยงไฮไดมากถึง 20% โดย

วัดจากหนวยไฟฟาตอผลผลิตทางเศรษฐกิจ ระหวางป ค.ศ. 2007-2011 รัฐบาลเซี่ยงไฮไมเพียงแตให

คํามั่นสัญญาวา จะรักษาระดับการลดใชพลังงานใหอยูที่ 20% ตอไปในอนาคตเทานั้น แตยังเปนครั้งแรก

ที่มหานครสามารถควบคุมปริมาณการใชพลังงานของเมืองได

อยางไรก็ตาม แมจะมีมาตรการกระตุนการลดใชพลังงานผานเครื่องมือทางการเงินหรือการออก

กฎหมาย หากรัฐบาลเซี่ยงไฮยังคงอนุญาตใหมีการกอสรางอาคารเพ่ิมอีกตอไปเรื่อย ๆ พรอมกับพ้ืนที่สี

เขียว จํานวนตนไม และผืนดินที่ลดลง ความสามารถของเมืองในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดก็

ยังคงลดลงอยูดี

Page 8: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

7

ลาสุด รัฐบาลเซี่ยงไฮไดผลักดันเรื่องการทําสวนในอาคาร ซึ่งจะเปนผลใหในป ค.ศ. 2015

อาคาร หลังคา และผนังของอาคารที่จะปลูกสรางใหมและอาคารที่มีอยูเดิมจะตองปลูกตนไม พุมไม หรือ

ดอกไมในบริเวณโดยรอบของอาคาร คาดวา จะสามารถสรางพ้ืนที่ดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดขนาด

ใหญแหงใหม ซึ่งมีปริมาณการดูดซับกาซพิษประมาณครึ่งหนึ่งของขนาดสวนสาธารณะเซ็นทรัลพารก

(New York’s Central Park) ที่มีขนาดประมาณสนามฟุตบอล 460 สนามเรียงตอกัน

ภาพท่ี 3 เมืองเซ่ียงไฮ

ที่มา: http://www.visitourchina.com/guide/peoples_square.htm

Page 9: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

8

เมืองหางโจวมณฑลเจอเจียง เมืองโดดเดนดานการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมของเมือง

เราอาจจะสังเกตจากกรณีศึกษา ในหลาย ๆ เมืองที่หันมาปฏิรูปแนวทางการพัฒนาในอนาคต

ของแตละเมืองไดวา เมืองที่มีระบบการบริหารจัดกาเรื่องสิ่งแวดลอมไดดีนั้น สวนใหญลวนมีการพัฒนา

ดานเศรษฐกิจที่มั่นคงเต็มที่จนสามารถหันมาใหความสําคัญกับประเด็นเรื่องความสุขของคนที่อาศัยอยู

ในเมือง เมืองหางโจว มณฑลเจอเจียงก็เชนเดียวกัน

หางโจวเปนเมืองหลวงของมณฑลเจอเจียงซึ่งอยูทางทิศตะวันออกของประเทศจีน บนที่ราบน้ํา

ทวมถึงริมฝงแมน้ําแยงซี เจริญรุงเรืองหลังจากที่มีการขุดคลองคลองตายว่ินเหอ (The Grand Canal) ใน

สมัยราชวงศสุย (581-618) ถือเปน 1 ใน 6 ของเมืองโบราณที่มีชื่อเสียงของจีน (อีก 5 เมืองที่เหลือ คือ

ปกก่ิง หนานจิง ซีอาน ลั่วหยาง และไคเฟง)พ้ืนที่สวนใหญถูกลอมรอบดวยภูเขา มีเนื้อที่ประมาณ 1 ใน

5 ของประเทศไทย แตมีจํานวนประชากรเทากับประเทศไทย สงผลใหมีปญหาเรื่องความหนาแนนของ

ประชากรและพ้ืนที่เกษตรกรรมมีนอย ทําใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักของเมืองนี้คือ การทองเที่ยว

เมืองหางโจวไดรับการกลาวขานวาเปน “สวรรคบนดิน” (Paradise on Earth) ดวยกับความ

สวยงามของทะเลสาบซีหู (ทะเลสาบตะวันตก) และสถานที่สําคัญอ่ืน ๆ ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ข้ึนชื่อวามี

ธรรมชาติอันวิจิตรงดงามราวกับจิตรกรฝมือดีบรรจงรังสรรคเอาไวก็มิปาน ตัวอาคารบานเรือน ของเมือง

หางโจวจะกอสรางไมสูงมากนัก ตึกใหญจะสูงเพียงแค 7-8 ชั้นเทานั้น เนื่องจากเกรงวาจะบดบังทิวทัศน

ที่สวยงามโดยรอบของเมือง นอกจากนี้หางโจวยังข้ึนชื่อเรื่องอุตสาหกรรมผาไหมที่เกิดข้ึนตั้งแตศตวรรษ

ที่ 75และยังคงความงดงามและไดรับการกลาวถึงมาจนปจจุบัน

5Hangzhou -- 'Paradise on Earth'. [online], 8 July 2014. Retrieved:http://www.china.org.cn/english/TR-

c/41940.htm

Page 10: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

9

ภาพท่ี 4 ทะเลสาบซีหู (West Lake)

ที่มา: http://en.gotohz.com/whyhangzhou/wlh/wlhabout/201307/t20130716_86499.shtml#sthash.fl29eftD.dpbs

ทะเลสาบซีหู: มรดกโลกทางวัฒนธรรม

หนึ่งในตัวแบบการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมที่สําคัญหนึ่งของเมืองหางโจว คือ การฟนฟู

ทะเลสาบซีหู ที่อยูตรงใจกลางของเมืองหางโจว มีความยาวจากทิศ เหนือถึงทิศใต3.3 กิโลเมตร และ

ความกวางจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก 2.8 กิโลเมตร พ้ืนที่สวนหนึ่งเปนทะเลสาบตามธรรมชาติ

ขณะที่พ้ืนที่บางสวนก็ถูกขุดข้ึนมาทีหลัง

ซีหูเปนทะเลสาบที่ทอดยาวทางดานตะวันตกของเมืองหางโจว เกิดจากการที่ อาวเล็ก ๆ บริเวณ

ปากแมน้ําเฉียนถัง(Qiantang)แยกตัวออกจากทะเลเนื่องมาจากตะกอนของแมน้ําจนกลายเปนทะเลสาบ

มีเกาะขนาดประมาณ 6 ตารางกิโลเมตร ภูเขาลอมรอบทั้งสามดาน น้ําในทะเลสาบใสสะอาดงดงาม

เข่ือนไป (Bai) เข่ือนดินที่พาดยาวจากทิศตะวันออกไปจรดทิศตะวันตก และเข่ือนซู (Su)ที่ทอดตัวจาก

ทิศเหนือจรดทิศใต เสมือนเข็มขัดเขียวสองเสนที่ลอยอยูในทะเลสาบนักทองเที่ยว สามารถ เดินบนเข่ือน

ดิน ชมดอกไมหลากสีสันและตนไมสีเขียวหลากชนิดโดยรอบบริเวณ สามารถมองแสงสะทอนของน้ําใน

ทะเลสาบและภูเขาที่หางไกลออกไป

Page 11: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

10

ทะเลสาบซีหูมีพ้ืนที่หลายสวนดวยกัน แบงเปนทะเลสาบใน ( The Inner Lake) ทะเลสาบนอก

(The Outer Lake) ซึ่งมีหมูเกาะ 3 เกาะอยูในบริเวณนี้ ทะเลสาบยู ( Yue Lake) ทะเลสาบในตะวันตก

(West Inner Lake) และทะเลสาบใตเล็ก (Small South Lake)

นอกจากความสวยงามที่เกิดจากธรรมชาติรอบ ๆ ทะเลสาบแลว บริเวณเนื้อที่ประมาณ 50

ตารางกิโลเมตรรอบ ๆ ทะเลสาบยังเต็มไปดวยสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร ศาลา เสา เจดีย และถ้ํา

รวมไปถึง น้ําพุ ไอน้ํา และสระน้ํา ตางเรียงรายอยูบนเนินเขาสีเขียวรอบทะเลสาบนับเปนทะเลสาบที่

งดงามมากในสุดจากบรรดาทะเลสาบที่มีชื่อเดียวกัน (West Lake) 5

6 ในประเทศจีน

หลายทานอาจนึกภาพทะเลสาบซีหูตอนสกปรกไมได ครั้งหนึ่งทะเลสาบถูกปลอยปละละเลยจน

น้ําในทะเลสาบไมใสสะอาดและสวยงามเชนในปจจุบันรัฐบาลทองถิ่นเริ่มดําเนินการฟนฟูตั้งแต ป ค.ศ.

2002 แกปญหาโดยการยายคนที่อาศัยอยูบริเวณรอบทะเลสาบซีหูออกไปอยูที่อ่ืน แลวเริ่มสราง

สวนสาธารณะ 4 แหง บริเวณตอนใตของทะเลสาบ สรางพ้ืนที่สีเขียวข้ึนมาเพ่ือดึงดูดใหนักทองเที่ยวจาก

ภายนอกเขามาเย่ียมชม โดยไมคิดคาบริการตลอด 24 ชั่วโมง 7 วันตอสัปดาห, ออกกฎหามกอสราง

อาคารขนาดใหญบริเวณทะเลสาบซีหู นอกจากนี้ รัฐบาลเมืองหางโจวยังยอมจายเงินจํานวนมากใหแก

มณฑลอานฮุย ตนน้ําของทะเลสาบเชียนเตาหูที่มณฑลเจอเจียงใชในการอุปโภคบริโภค เพ่ือใหมณฑล

อานฮุยรักษาตนน้ําใหดี

อันเนื่องมาจากคุณคาทางวัฒนธรรมและความสวยงาม ทําใหทะเลสาบซีหูไดรับการข้ึนทะเบียน

เปนมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยองคการยูเนสโกใน ป ค.ศ. 2011 โดยใหเหตุผลวา ทะเลสาบซีหู แสดง

ใหเห็นถึงความสวยงามแบบจีน การออกแบบที่ผสมผสานแนวคิดระหวางมนุษยและธรรมชาติเขา

ดวยกันตามประเพณีของชาวจีน มีการใชสิ่งกอสรางจากฝมือของมนุษย เชน วัด เจดีย สวน และเกาะ

เทียม รวมกับภูมิประเทศที่เปนทะเลสาบขนาดใหญ จนไดงานศิลปะที่งดงามและกลมกลืน นับเปนสมบัติ

ทางวัฒนธรรมที่สรางแรงบันดาลใจใหแกกวีและศิลปนรังสรรคผลงานมาเปนระยะเวลายาวนานหลาย

ศตวรรษ และยังมีอิทธิพลตอการออกแบบสวนในที่อ่ืน ๆ อีกดวย

6ซีหู หมายถึง ทะเลสาบตะวันตก ทั่วประเทศจีนมีทะเลสาบซีหูมากถึง 36 แหง แตที่มีช่ือเสียงมากที่สุดคือทะเลสาบซีหู

แหงเมืองหางโจว

Page 12: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

11

ภาพท่ี 5 สถานีใหบริการเชารถจักรยาน

ที่มา: http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/6/6a/Hangzhou_bike_sharing_station.jpg

เมืองจักรยาน

เมืองหางโจวในฐานะเมืองหลวงของมณฑลเจอเจียง ถือไดวาเปนเมืองที่มีความมั่งค่ังทาง

เศรษฐกิจเปนอยางมาก และการที่เปนเมืองใหญทําใหหางโจวตองเผชิญกับปญหารถติดเชนที่เมืองใหญ

อ่ืน ๆ มักจะเผชิญ หนึ่งในวิธีการแกปญหาของเมืองหางโจว คือ การจัดทําระบบรถจักรยานใหเชา (Bike

Sharing Programe) โดยมีรัฐบาลเปนผูสนับสนุนหลัก เริ่มดําเนินการมากวา 5 ปแลว ปจจุบันมีจักรยาน

ในโครงการใหเชากวา 50,000 คัน และเปนตนแบบโครงการจักรยานใหเชาในเมืองใหญอ่ืน ๆ ของ

ประเทศจีน

เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008 รัฐบาลหางโจวไดเปดตัวโครงการระบบรถจักรยานใหเชา

(Bike Sharing System) แหงแรกของประเทศจีน และเปนระบบรถจักรยานใหเชาที่ใหญที่สุดในโลกอีก

ดวย6

7 เพ่ือสงเสริมระบบการขนสงที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมใหขยายตัวออกไป ทั้งคนในเมืองหางโจวและ

นักทองเที่ยวสามารถเชารถจักรยานและใชข่ีบนเสนทางจักรยานโดยเฉพาะ ( Bike Lane) ที่มีระยะทาง

กวารอยกิโลเมตร

7ICLEI. (2011). Hangzhou, China The world’s largest bike sharing program [online], 8 July 2014.

Retrieved: http://www.ecomobility.org/fileadmin/template/project_templates/ecomobility/files/Publications/Case_

stories_EcoMobility_Hangzhau_PDF_print.pdf

Page 13: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

12

ระบบรถจักรยานใหเชาในเมืองหางโจวนั้นถูกออกแบบ ดําเนินการ และใชงบประมาณจาก

รัฐบาลทองถิ่นทั้งหมด เพ่ือใหครอบคลุมกิโลเมตรสุดทายจากสถานีรถโดยสารสาธารณะไปยังจุดหมาย

ปลายทางหรือการเดินทางไปยังสถานีรถโดยสารสาธารณะ งบประมาณหลายรอยลานหยวนถูกนํามาใช

ในการลงทุน

ระบบรถจักรยานใหเชา

รัฐบาลหางโจวนําระบบบัตรอิเล็กทรอนิกสมาใชในการจัดการแทนแรงงานมนุษย กวา 80% ของ

สถานีรถจักรยานใหเชาในเมืองหางโจวไมมีเจาหนาที่ประจําดูแล (ดูภาพที่ 5) ผูใชตองบริการตนเอง

เพียงแตะบัตรที่เครื่องล็อกรถ (ดูภาพที่ 6) เพ่ือใหเครื่องปลดล็อกทํางาน เราจะเห็นสัญญาณไฟสีเขียว

กระพริบ ระบบจะหักเงินจากบัตร 200 หยวน และเริ่มนับชั่วโมงการใหบริการ เมื่อใชรถจักรยานเสร็จ

เรียบรอยแลว วิธีการคืนรถจักรยานก็ไมยุงยาก ผูใชเพียงแคนํารถไปจอดบริเวณชองจอดรถจักรยาน

ที่วางอยู แตะบัตรที่เครื่อง ก็จะไดรับเงินคืน

ภาพท่ี 6 วิธีการใชบริการ

ที่มา:http://untappedcities.com/wp-content/uploads/2013/07/Bike-Sharing-Program-global-China-Untapped-

Cities-Celeste-Zhou5.jpg

เนื่องจากการคํานวณคาบริการรถจักรยานใหเชาจะเริ่มคิดเงินเมื่อผูใชข่ีจักรยานเกิน 1 ชั่วโมง

ปรากฏวา ประชาชนสวนใหญใชระบบรถจักรยานใหเชาเฉพาะในชวงแรกหรือชวงสุดทายของการ

เดินทางเทานั้น ทําให 96% ของการใชบริการมีระยะเวลาไมถึงหนึ่งชั่วโมง โดยมีอัตราการข่ีจักรยาน

Page 14: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

13

เฉลี่ยอยูที่ 23 นาที รัฐบาลเมืองหางโจวจึงไดกําไรจากคาบริการไมมากนัก การเปดใหเชาพ้ืนที่โฆษณา

บนรถจักรยานจึงกลายมาเปนแหลงรายไดหลัก ซึ่งมากพอที่จะกําหนดราคาคาเชาบริการในอัตราที่ต่ํา

มาก ๆ ได กลาวคือ คาบริการ 1 หยวน สําหรับ 1-2 ชั่วโมง 2 หยวน สําหรับ 2-3 ชั่วโมง และคาบริการ

3 หยวน สําหรับการข่ีที่มากกวา 3 ชั่วโมงข้ึนไป

ภาพท่ี 7 ปริมาณการใชบริการระบบรถจักรยานใหเชา

ที่มา:ICLEI. (2011). Hangzhou, China The world’s largest bike sharing program [online], 8 July 2014.

Retrieved: http://www.ecomobility.org/fileadmin/template/project_templates/ecomobility/files/Publications/Case_

stories_EcoMobility_Hangzhau_PDF_print.pdf

เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008เมืองหางโจวมีสถานีบริการใหเชารถจักรยาน 61 แหง

รถจักรยานทั้งหมด 2,800 คัน กอนที่ในปลายป ค.ศ. 2009 จะมีการขยายสถานีบริการใหเชา

รถจักรยานเพ่ิมข้ึนเปน 2,200 สถานี และรถจักรยานอีก 60,600 คัน คุณสามารถพบสถานีบริการทุก

100 เมตร ตั้งแตเปดใหบริการ ตัวเลขผูใชบริการเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่อง เฉลี่ย 240,000 เที่ยว/วัน ตัวเลข

การใชบริหารที่มากที่สุด คือ 320,000 เที่ยว/วัน

สัดสวนการใชรถจักรยานในการเดินทางของเมืองหางโจวอยูที่ 43% ซึ่งระบบรถจักรยานใหเชา

ก็รวมอยูในนั้นดวย การเดินทางโดยรถจักรยานของเมืองหางโจวตอวันคิดเปนระยะทาง 1,123,200

กิโลเมตร ในระยะทางที่เทากัน หากเปนการเดินทางโดยใชรถจักรยานยนตจะปลอยกาซคารบอนไดออก

ไซคในปริมาณที่มากกวา 200,000 กิโลกรัม อางอิงจากตัวเลขนี้ เปาหมายของรัฐบาลหางโจวที่จะเพ่ิม

จํานวนรถจักรยานใหเชาเปน 175,000 คัน ในป ค.ศ. 2020 เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของเมืองหางโจวในการ

Page 15: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

14

ลดปริมาณกาซเรือนกระจก จะสามารถกําจัดกาซพิษเหลานี้ไดมากกวาในปจจุบันถึง 3 เทาทีเดียว

ถอดบทเรียน

จากกรณีศึกษาทั้งสองเมืองลวนเปนแนวทางในการนํามาประยุกตใชกับกรุงเทพมหานครใน

ฐานะมหานครและเมืองใหญอ่ืน ๆ ทั่วประเทศไทย มหานครฮองกงที่เผชิญหนากับปญหาแผนดินทรุด

และระดับน้ําทะเลหนุนสูงทําใหเสี่ยงตอการที่เมืองจะจมลงทะเล ก็เชนเดียวกับปญหาที่มหานครกรุงเทพ

กําลังเผชิญ โดยมีสาเหตุหลักที่เหมือนกัน คือ ในอดีตมีการขุดเจาะน้ําใตดินหรือน้ําบาดาลมาใชเปน

จํานวนมาก ปญหาหลายอยางไดเกิดข้ึนไปแลว เชน การพังทลายของอาคารสูง ภาพถายทางดาวเทียว

ที่แสดงใหเห็นพ้ืนที่ที่ถูกกัดเซาะเขามาเรื่อย ๆ หลายปญหาสามารถจัดการได ในขณะที่อีกหลายปญหา

ยังเปนเหมือนขยะที่ซุกอยูใตพรม ยังไมแสดงออกมาใหเราเห็น

กรณีของเมืองหางโจว ที่มีตนทุนทางธรรมชาติที่สวยงามอยางทะเลสาบซีหู ตัวอยางการบริหาร

จัดการของรัฐบาลทองถิ่นที่ดี การรวมมือกันระหวางทองถิ่นแตละแหงดูแลทรัพยากรธรรมชาติที่ตางฝาย

ตางใชประโยชนรวมกัน หรือกรณีการจัดทําระบบจักรยานใหเชา อาจหมายรวมไปถึงการจัดการระบบ

ขนสงสาธารณะที่มีประสิทธิภาพเขามาดวย หากรัฐบาลทองถิ่นวางแผนอยางเปนระบบ วิเคราะหความ

เปนไปไดและความเหมาะสมของแตละพ้ืนที่ คอย ๆ ดําเนินการไปทีละจุด ๆ กวาจะครอบคลุมและ

เชื่อมตอกันอาจตองใชระยะเวลาในการเห็นผลลัพธและความเสียสละของประชาชนในเมืองมาก

พอสมควร แตเชื่อเหลือเกินวา หากรัฐบาลมีความโปรงใสและชี้แจงขอมูลแกประชาชนอยางสม่ําเสมอ

การจะไดรับความรวมมือคงเปนสิ่งที่ไมยากจนเกินไป

Page 16: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

15

ภาคผนวก

10 มุมมองที่งดงามของทะเลสาบซีหู7

8

1. รุงอรุณในฤดูใบไมผลิที่เข่ือนซู 2. ชมดอกบัวและสายลม

3. ดวงจันทรในคืนที่เงียบสงบของฤดูใบไมรวง 4. ภาพหิมะละลายบนสะพาน

8Visit West Lake – Ten Scenic Sites of West Lake. [online], 8 July 2014. Retrieved:http://en.chinatefl.com/

Platform/Pub_CityGuides_details.aspx?id=2&type=5&cityid=1

Page 17: การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน

16

5. ฟงนกขมิ้นรองเพลงบนตนหลิว 6. ดูปลาและดอกบัวที่บอน้ํา

7. พระอาทิตยตกดินสองแสงจากวาเจดียเหลยเฟง 8. ยอดเขาแฝดสูงทะลุกอนเมฆ

9. ตีระฆังตอนเย็นที่ภูเขาหนานผิง 10. สระน้ําทั้งสามสะทอนเงาดวงจันทร