Top Banner
การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา วุทธิศักดิโภชนุกูล ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร : 22 สิงหาคม 2552 [email protected], http://www.pochanukul.com การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) คือ กระบวนการวิจัยเพื่อการปรับปรุง พัฒนา และเพิ่ม พลังความสามารถของบุคคลในการปฏิบัติงาน โดยมีลักษณะเปนการเรียนรูโดยการทํางาน กําหนดปญหา ที่ตองการแกไข ทดลองปรับปรุงการทํางานเพื่อศึกษาผลการพัฒนา วิเคราะหแนวทางการปฏิบัติงานทีประสบความสําเร็จ สะทอนความคิดและแบงปนประสบการณ และ นําประสบการณที่ไดไปสูการ ปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงานในครั้งตอๆไป (Brien, 1998) การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research) เปนกระบวนการในการแกปญหาหรือพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรูในชั้นเรียนที่ครูรับผิดชอบอยางเปนระบบ เพื่อสืบคนใหไดสาเหตุของปญหา แลวหาวิธีแกไขหรือพัฒนาที่เชื่อถือได เชน การสังเกต จดบันทึก และวิเคราะหหรือสังเคราะห เพื่อนําไปสูการแกปญหาหรือพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู และพัฒนาการเรียนรูของ ผูเรียนใหมีคุณภาพตามเปาหมายที่กําหนดไว เพื่อสงเสริมผูเรียนใหไดรับการพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ( ไพจิตร สะดวกการ และ ศิริกาญจน โกสุมภ , 2545) ดังนั้น ดวยบทบาทของครูใน ภาระหนาที่ของการออกแบบการเรียนการสอน การจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และการ อํานวยความสะดวกใหผูเรียนเกิดการเรียนรู จึงทําใหครูตองเปลี่ยนบทบาทจากผูสอนมาเปนผูวิจัยเพื่อ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนรูของผูเรียนเพื่อพัฒนาและแกปญหาตางทีเกิดขึ้นจากการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในชั้นเรียน จึงเปนปจจัยที่มีความจําเปนอยางยิ่งตอการ พัฒนาการจัดการศึกษาและวิชาชีพครู หลักการการวิจัยในชั้นเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.) - การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการแกปญหา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีเปาหมาย ที่สําคัญคือ การพัฒนาผูเรียนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีจิตใจที่ดีงาม และดํารงชีวิตอยูในสังคมได อยางมีความสุข - การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการแกปญหาแบบการมีสวนรวมระหวางผูสอนกับผูเรียน อยางแทจริงที่ตอบสนองการเรียนรูที่เปนธรรมชาติ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางเปนระบบ
22

นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

Nov 02, 2014

Download

Documents

 
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

[email protected], http://www.pochanukul.com

การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) คือ กระบวนการวิจัยเพื่อการปรับปรุง พัฒนา และเพิ่มพลังความสามารถของบุคคลในการปฏิบัติงาน โดยมีลักษณะเปนการเรียนรูโดยการทํางาน กําหนดปญหาที่ตองการแกไข ทดลองปรับปรุงการทํางานเพื่อศึกษาผลการพัฒนา วิเคราะหแนวทางการปฏิบัติงานที่ประสบความสําเร็จ สะทอนความคิดและแบงปนประสบการณ และ นําประสบการณที่ไดไปสูการปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงานในครั้งตอๆไป (Brien, 1998)

การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research) เปนกระบวนการในการแกปญหาหรือพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูในชั้นเรียนที่ครูรับผิดชอบอยางเปนระบบ เพื่อสืบคนใหไดสาเหตุของปญหา แลวหาวิธีแกไขหรือพัฒนาที่ เชื่อถือได เชน การสังเกต จดบันทึก และวิเคราะหหรือสังเคราะห เพื่อนําไปสูการแกปญหาหรือพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู และพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนใหมีคุณภาพตามเปาหมายที่กําหนดไว เพื่อสงเสริมผูเรียนใหไดรับการพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ(ไพจิตร สะดวกการ และ ศิริกาญจน โกสุมภ, 2545) ดังนั้น ดวยบทบาทของครูในภาระหนาที่ของการออกแบบการเรียนการสอน การจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรียน และการอํานวยความสะดวกใหผูเรียนเกิดการเรียนรู จึงทําใหครูตองเปลี่ยนบทบาทจากผูสอนมาเปนผูวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนรูของผูเรียนเพื่อพัฒนาและแกปญหาตางที่เกิดขึ้นจากการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในชั้นเรียน จึงเปนปจจัยที่มีความจําเปนอยางยิ่งตอการพัฒนาการจัดการศึกษาและวิชาชีพครู

หลักการการวิจัยในชั้นเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

- การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการแกปญหา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีเปาหมายที่สําคัญคือ การพัฒนาผูเรียนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีจิตใจที่ดีงาม และดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

- การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการแกปญหาแบบการมีสวนรวมระหวางผูสอนกับผูเรียนอยางแทจริงที่ตอบสนองการเรียนรูที่เปนธรรมชาติ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางเปนระบบ

Page 2: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

2

- การวิจัยในชั้นเรียน มุงแกปญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูในชั้นเรียนเปนครั้ง ๆ ไป เปนการวิจัยปญหาของผูเรียนในชั้นเรียนของตนเอง เพื่อแกปญหาการเรียนการสอนเฉพาะชั้นเรียนนั้นๆ

- เปาหมายที่สําคัญของการวิจัยในชั้นเรียน คือ การวิจัยเพื่อสรางและพัฒนางาน พัฒนาคน และพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา และองคความรูในศาสตรสาขาตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอการพัฒนากระบวนการเรียนรูที่สอดคลองและเหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกทั้งในปจจุบันและอนาคตตอไป

ขอบเขตการทําวิจัยในชั้นเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.) - การวิจัยในชั้นเรียน กลุมตัวอยางและเปาหมายของการวิจัยจะใชกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ใช

ศึกษาในหองเรียนใดหองเรียนหนึ่งและมีเปาหมายคือการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน เพราะเชื่อวา ถาครูใชกิจกรรมการสอนที่ดีและเหมาะสมกับผูเรียนยอมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและบรรลุเปาหมายทางการพัฒนานักเรียน

- การวิจัยในชั้นเรียน เปนการวิจัยโดยครูผูสอนในหองเรียนกับนักเรียนเพื่อแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอนในวิชาที่ครูรับผิดชอบ

- ขอบเขตการวิจัยในชั้นเรียนนั้นจะใหความสําคัญกับการคิดคนพัฒนานวัตกรรมเพื่อแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอนอยางเหมาะสม

ความแตกตางระหวางการวิจัยในชั้นเรียน กับ การวิจัยทางการศึกษา (อุทุมพร จามรมาน, 2545) รายการ การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยทางการศึกษา

1. ใครทํา

ครูประจําการ ครูที่วาง นิสิต นักศึกษา ที่ทําวิทยานิพนธ นักการศึกษา

2. ทําอะไร แกปญหานักเรียน บางคน บางเรื่อง แกปญหาทางการศึกษา 3. เริ่มที่ไหน

สังเกตวานักเรียนบางคนเรียน ไมทันเพื่อน มีพฤติกรรมแตกตางจากกลุม

การทบทวนรายงานวิจัยที่เกี่ยวของ

4. ทําที่ไหน ในหอง/โรงเรียน ในหอง/โรงเรียน ที่อื่นๆ 5. การออกแบบการวิจัย ไมตอง (อยางเปนทางการ) ตอง 6. สรางเครื่องมือวัด ไมตอง ครูคือเครื่องมือเก็บขอมูลโดย

การสังเกต ซักถาม ตอง เชน แบบสอบถาม แบบสํารวจ แบบสัมภาษณ แบบวัดตาง ๆ แบบทดสอบ

7. ระบุประชากร กลุมตัวอยางหรือไม

ไมตองใชเลือกเฉพาะนักเรียนที่เปนปญหา

ตอง

8. เก็บขอมูลนานหรือไม ไมนาน นาน 9. ใชเวลาทํานานเทาไร 2 วัน – 2 สัปดาห 1 ปการศึกษาเปนอยางนอย 10. ใน 1 ภาค การศึกษาทํา

ไดก่ีเรื่อง หลายเรื่อง อาจได 1 เรื่อง

Page 3: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

3

รายการ การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยทางการศึกษา 11. ใชสถิติหรือไม ไม ตอง 12. ทําเมื่อไร ทําไปสอนไป หนีสอนไปทํา 13. ทําเพื่ออะไร เพื่อแกปญหานักเรียน เพื่อขอเปนผลงาน/องคความรู 14. ความยาว/เรื่อง 2 – 3 หนา 5 บท 15. เสียคาใชจายหรือไม ไมตองเสีย ตอง 16. อนาคตของผูทํา ครูมืออาชีพ นักวิจัยทางการศึกษา 17. ทําเพื่อใคร นักเรียน ตัวเอง 18. ช่ือเรื่อง “การแกปญหานักเรียน-ก่ีคน ช้ันใด

เรื่องอะไร” ก. การหาความสัมพันธระหวาง

................... ข. การสํารวจ...................... ค. การทดลอง...................... ง. การเปรียบเทียบ................. จ. การพัฒนา......................... ฉ. การวิเคราะห...................... ช. การศึกษา........................... ซ. การทํานาย......................... ฌ. การสรุปอางอิง...................

19. ผลงานเอาไปทําอะไร ความเปนครู เพื่อนําไปขอผลงานในที่สุด 20. ขอบเขตที่ทํา ทําในหองเรียน/โรงเรียนของตน นอกโรงเรียนของตน กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู

Active Learning to Action Research (ALAR Model)

(adapted from Simple Action Research Model; Maclsaac, 1995 and Active Learning Design: Oliver, 1999) (วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล, 2552)

Page 4: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

4

ALAR Model เปนเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นเพื่อเปนเปนแนวทางในการดําเนินการวิจัยในในชั้นเรียน อันจะชวยครูผูสอนในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่แกปญหาการเรียนรูของผูเรียน ซ่ึงพัฒนาจากการบูรณาการแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการ Action Research ของ Maclsaac (1995) เขากับรูปแบบการออกแบบการเรียนรู (Learning Design) ของ Oliver (1999) โดย ALAR Model ประกอบดวยโครงสรางหลัก 2 สวนคือ 1) กระบวนการวิจัยแบบ Action Research มี 4 ขั้นตอนคือ การวางแผน (plan) การดําเนินการ (action) การสังเกตและบันทึกผล (observe) และการสะทอนความคิด (reflection), และ 2) การออกแบบการเรียนรู โดยในแตละขั้นตอนของ Action Research ตองพิจารณาปจจัยการออกแบบการเรียนรู 3 ประการควบคูกับไปดวยคือ

- กิจกรรมการเรียนรู (Learning Tasks) ไดแก การออกแบบการสอน การกําหนดจุดประสงค การกําหนดวิธีจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรู การกําหนดบทบาทครูและบทบาทผูเรียน และ การวัดและประเมินผล

- ทรัพยากรการเรียนรู (Learning Resources)ไดแก ส่ือ วัสดุ อุปกรณ อาคาร-สถานที่ บุคลากร และสภาพแวดลอมการศึกษาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยตรง

- การสนับสนุนการเรียนรู (Learning Supports) ไดแก ปจจัยสนับสนุนอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากทรัพยากรการเรียนรู เชน การสนับสนุนของผูบริหาร ความรวมมือของครูและบุคลากรภายในและภายนอกโรงเรียน หองสมุด แหลงเรียนรู ระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน

ซ่ึงการนํา ALAR Model ไปใชในการปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียนมีรายละเอียดในแตละขั้นตอน

ดังนี้ ขั้นท่ี 1 การวางแผน (Plan)

1. วิเคราะหสภาพปญหาที่เกิดขึ้น และสงผลตอการเรียนรูของผูเรียน โดยวิเคราะหเกี่ยวกับปญหาที่เกิดจาก ครู ผูเรียน กิจกรรมการเรียนรู ทรัพยากรการเรียนรู และ การสนับสนุนการเรียนรู

2. วิเคราะหสาเหตุที่แทจริงของปญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการเรียนการสอน 3. การกําหนดปญหาเพื่อนําไปสูการวิจัยในชั้นเรียน โดยตองพิจารณาวา เปนปญหาที่แทจริง

ครูสามารถแกปญหานั้นไดดวยตนเอง 4. หาวิธีการในการแกไขปญหา ดวยการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย จากแหลงขอมูลตาง ๆ และ

หรือ ปรึกษากับผูที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณในการแกปญหานั้น ๆ โดยครูตองสรุปขอมูลที่เกี่ยวกับ

- ปญหาที่เกิดขึ้นจะแกไดอยางไร - แนวทางแกปญหามีอะไรบาง

Page 5: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

5

- จะใชวิธีการหรือนวัตกรรมใดในการแกปญหา - มีกระบวนการดําเนินการอยางไร - จะแกปญหาในชวงระยะเวลาใด

5. เขียนโครงรางการวิจัยในชั้นเรียน โดยการนําความรูที่ไดจากขอ 4 มาเขียนโครงรางการวิจัย โดยรายละเอียดประกอบดวย

- ช่ือเร่ือง (แกปญหาอะไร ของใคร ดวยวิธีใด) - ช่ือผูวิจัย - ปญหาและสาเหตุ (ปญหาแทที่ครูสามารถแกได และสาเหตุของปญหา) - วัตถุประสงคการวิจัย (เพื่อแกปญหาอะไร ของใคร ที่ไหน กี่คน) - วิธีดําเนินการวิจัย (วิธีการที่คาดวาจะแกไขปญหาได ขั้นตอนในการดําเนินงาน) - นวัตกรรมในการแกปญหา (ใชวิธีการ ส่ือ หรือทรัพยากรการเรียนรูอ่ืนๆ มีลักษณะ

อยางไร วิธีการสราง การหาประสิทธิภาพ การนํานวัตกรรมไปใช) - วิธีการและเครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล (จะรูไดอยางไรวาประสบความสําเร็จ) - สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล (ถามี) - ระยะเวลาในการดําเนินการวิจัย - ผลที่คาดวาจะไดรับ (พฤติกรรมของผูเรียนที่ไดรับการแกไขแลวคืออะไร)

ขั้นท่ี 2 การดําเนินการ (Action)

1. ออกแบบการเรียนรู ดวยการพิจารณาปจจัยหลัก 3 ประการ คือ - กิจกรรมการเรียนรู (Learning Tasks) ไดแก การกําหนดเนื้อหา กิจกรรมที่จะเกิดขึ้น

บทบาทของผูเรียน บทบาทของผูสอน ผลที่คาดหวังจากการเรียนรู และวิธีวัดและประเมินผลการเรียนรู

- ทรัพยากรการเรียนรู (Learning Resources) ไดแก การเลือก ปรับปรุง หรือ สราง นวัตกรรมหรือทรัพยากรที่เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรูที่กําหนดไว เชน เอกสาร แบบเรียน ส่ือ วัสดุ อุปกรณ แบบวัดและประเมินผล ทรัพยากรบุคคล และ สภาพแวดลอมทางการเรียนรูตาง ๆ รวมทั้งการเตรียมความพรอมในการใชและ การบํารุงรักษาทรัพยากรเหลานั้นดวย

- การสนับสนุนการเรียนรู (Learning Supports) ไดแก ปจจัยตางๆ ที่ชวยใหกิจกรรมการเรียนรูที่กําหนดไวดําเนินไปอยางราบรื่น ปราศจากอุปสรรคและขอจํากัด ซ่ึงนอกเหนือจากทรัพยากรการเรียนรู เชน แหลงขอมูลเพิ่มเติม หองสมุด เทคโนโลยี บุคคล และ สถานที่ เปนตน

Page 6: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

6

การออกแบบการเรียนรู (วทุธิศักดิ์ โภชนกุูล, 2552)

2. การพัฒนานวัตกรรมเพื่อแกปญหาการเรียนรูของผูเรียน นวัตกรรม หมายถึง การนําสิ่งใหม ๆ อาจเปนแนวความคิด หรือ ส่ิงประดิษฐใหม ๆ หรือเปน

การพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยูแลวใหทันสมัยและไดผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกวาเดิม

นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง การนําเอาสิ่งใหม ๆ ซ่ึงอาจจะอยูในรูปของความคิด หรือการกระทํา รวมทั้งสิ่งประดิษฐใหม ๆ หรือเปนการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยูแลว เขามาใชในระบบการศึกษาเพื่อมุงหวังที่จะเปลี่ยนแปลงใหระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ความสําคัญของนวัตกรรมตอการศึกษา

1. เพื่อใหทันสมัยตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป 2. เพื่อแกไขปญหาทางดานการศึกษาบางอยางที่เกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อแกไขปญหาทางดานการศึกษาในบางเรื่อง เชน ปญหาที่เกี่ยวเนื่องกับจํานวนผูเรียน

การพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย การผลิตและพัฒนาสื่อใหม ๆ ขึ้นมา 4. เพื่อตอบสนองการเรียนรูของมนุษยใหเพิ่มมากขึ้นดวยระยะเวลาที่ส้ันลง 5. การใชนวัตกรรมมาประยุกตในระบบการบริหารจัดการดานการศึกษา เพื่อชวยใหการใช

ทรัพยากรการเรียนรูเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

Page 7: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

7

ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา

นวัตกรรมทางการศึกษาที่ใชแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอนมีหลายประเภท ในที่นี้ขอ นํา เสนอตัวอยางนวัตกรรมทางการศึกษาที่นิยมใชกันมากเพราะสะดวก ประหยัด สามารถจัดทําได ดวยตนเอง และงายแกการนําไปใช มี 2 ประเภท คือ ส่ือการเรียนการสอนที่ประดิษฐ (Invention) และเทคนิคการสอนกิจกรรมการพัฒนา หรือเทคนิควิธีสอน (Instruction) (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา

ส่ือการสอน เทคนิควิธีการสอน

สื่อส่ิงพิมพ ส่ือโสตทัศน สื่ออิเลคทรอนิกส - แบบศูนยการเรียน- แบบการแสดงบทบาทสมมติ- การสอนซอมเสริม- แบบโครงงาน- แบบปญหาเปนฐาน- แบบสมองเปนฐาน- แบบรวมมือ- แบบโตวาที- แบบกรณีศึกษา- แบบเขียนแผนผังความคิด- ฯลฯ

- เอกสารประกอบการสอน- บทเรียนสําเร็จรูป- ชุดการสอน/ชุดการเรียน- รายงานการศึกษาคนควา- รายงานโครงงาน- - ฯลฯ

- ภาพยนตร วีดีทัศน- สไลด แผนใส- เทปเพลง แผนเสียง ซีดี- หุนจําลอง- บัตรคํา แผนปาย- - ฯลฯ

- e-Book- CAI- WBI- WebQuest- Learning Object- Blog- Wiki- Video on Demand- Virtual Classroom- ฯลฯ

กระบวนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

Rogers (1983) ไดเสนอขั้นตอนในการพัฒนานวัตกรรมไวใน The Innovation-development Process ประกอบดวย 6 ขั้นตอน ประกอบดวย

1. การวิเคราะหความตองการหรือปญหา (Needs/Problems) 2. ศึกษาขอมูลหรือวิจัยเอกสาร (Research in basic and applied) 3. การพัฒนานวัตกรรม (Development) ดวยกระบวนการ R&D 4. การเตรียมนวัตกรรมเพื่อการนําไปใชงาน (Commercialization) 5. การแพรกระจายนวัตกรรม (Diffusion and Adoption) 6. การศึกษาผลการใชนวัตกรรม (Consequences)

Page 8: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

8

ในขั้นตอนของการพัฒนานวัตกรรมนั้น นักการศึกษานิยมใชรูปแบบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D ของ Walter R. Borg and Meredith D. Gall) เปนระเบียบวิธีวิจัยในการพัฒนานวัตกรรม โดยมีรายละเอียดของแตละขั้นตอนดังนี้

Research and Development ของ Walter R. Borg and Meredith D. Gall, 1989

1. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ หมายถึง การศึกษาปญหาในการจัดการเรียน

การสอน การศึกษาเอกสารและงานวิจัยเพื่อคนหาแนวทางที่เหมาะสมในการแกปญหา รวมทั้งความรู ที่จะใชในการพัฒนาสื่อและนวัตกรรม

2. การวางแผนพัฒนานวัตกรรม หมายถึง การเตรียมการในดานตาง ๆ เชน หลักสูตร ระยะเวลา งบประมาณ วสัดุ-อุปกรณ บุคลากร ผูเชี่ยวชาญ กลุมตัวอยาง ฯลฯ

Page 9: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

9

3. การสรางนวัตกรรมตนแบบ หมายถึง การลงมือทําเพื่อสรางนวัตกรรมตนแบบ โดยมีการดําเนินงานดังนี้

- กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงคของนวัตกรรม การสรางแผนการสอนและกําหนดเนื้อหา และการสรางแบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน (โดยการวิเคราะหความสอดคลองกับวัตถุประสงคโดยผูเชี่ยวชาญ และการวิเคราะหหาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ)

- วิเคราะหโครงสรางนวัตกรรม ออกแบบขั้นแรก ประเมินและแกไขการออกแบบนวัตกรรม - เขียนแผนผังเพื่อใหเห็นโครงสรางทั้งหมดของนวัตกรรมที่จะสราง - รางลักษณะของนวัตกรรมแตสวนใหเห็นถึงรายละเอียดของนวัตกรรม - สรางนวัตกรรมตามที่ไดออกแบบไว - ผลิตเอกสารประกอบ ไดแก คูมือครู คูมือการใช คูมือนักเรียน เปนตน - ประเมินคุณภาพนวัตกรรมโดยผูเชี่ยวชาญในสาขาที่พัฒนานวัตกรรม จํานวน 3-5 คน และ

ปรับปรุงตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ 4. การทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่ง หมายถึง การทดลองใชนวัตกรรมกับผูเรียนทีละคน จํานวน

3 คน โดยสุมเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง และออน อยางละ 1 คน โดยผูพัฒนานวัตกรรมสังเกตการใชนวัตกรรมของแตละคนอยางใกลชิด

5. การประเมินคุณภาพนวัตกรรมและปรับปรุงครั้งที่ 1 หมายถึงการนําผลการทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่งมาประเมินคุณภาพและปรับปรุงนวัตกรรมใหเหมาะสมยิ่งขึ้น

6. การทดลองแบบกลุมเล็ก หมายถึงการทดลองใชนวัตกรรมกับผูเรียนกลุมเล็ก จํานวน 9 คน โดยสุมเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง และออน อยางละ 3 คน

7. การประเมินประสิทธิภาพและปรับปรุงครั้งที่ 2 หมายถึงการนําผลการทดลองมาวิเคราะหขอมูล หากผานเกณฑที่กําหนดก็สามารถนํานวัตกรรมไปทดลองขั้นตอไปได แตหากไมผานตองมีการปรับปรุงและนําไปทดลองกลุมเล็กกับนักเรียนชุดใหมอีกครั้ง

8. การทดลองแบบกลุมใหญ หมายถึงการทดลองใชนวัตกรรมกับผูเรียนกลุมใหญ จํานวน 30 คน โดยสุมเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียน เกง ปานกลาง และออน อยางละ 10 คน (สําหรับการวิจัย ในชั้นเรียน สามารถใชขั้นตอนนี้ในการนํานวัตกรรมไปใชเพื่อแกปญหาการเรียนการสอนในสภาพจริง เนื่องจากเปนการวิจัยที่ดําเนินการกับกลุมประชากรโดยตรง)

9. การประเมินประสิทธิภาพและปรับปรุงครั้งที่ 3 หมายถึงการนําผลการทดลองมาวิเคราะหขอมูล หากผานเกณฑที่กําหนดก็สามารถสรุปผลการพัฒนานวัตกรรมตอไป แตหากไมผานตองมีการปรับปรุงและนําไปทดลองกลุมใหญกับนักเรียนชุดใหมอีกครั้ง

10. การสรุปผล นําไปใช และเผยแพร หมายถึงการสรุปผลหรือเขียนรายงานผลการพัฒนานวัตกรรมโดยจัดทําเปนผลงานทางวิชาการ รวมถึงการนําไปใชในการจัดการเรียนการสอนและเผยแพร

Page 10: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

10

การหาประสิทธิภาพนวัตกรรม (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

หลังจากการทดลองใชนวัตกรรมกับกลุมเล็ก และกลุมใหญแลว ผูพัฒนานวัตกรรมควรตองดําเนินการเพื่อหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมโดยมีวิธีการดังนี้

1. วิธีบรรยายเปรียบเทียบสภาพกอนและหลังการใชนวัตกรรม โดยการบันทึกหรือเก็บขอมูลที่ไดจากการวัดผลผูเรียนดวยเครื่องมือตาง ๆ ทั้งกอนและหลังการใชนวัตกรรม แลวจึงนําขอมูลเหลานั้นมาประกอบการบรรยายเชิงคุณภาพเพื่อแสดงใหเห็นวาหลังการใชนวัตกรรมแลวผูเรียนมีการพัฒนาเพิ่มขึ้นเปนที่นาพอใจมากนอยเพียงใด

2. วิธีนิยามตัวบงชี้ที่แสดงผลลัพธที่ตองการ แลวเปรียบเทียบขอมูลกอนใชและหลังใชนวัตกรรม เชน กําหนดผลสัมฤทธิ์ไว รอยละ 65 แสดงวาหลังจากการใชนวัตกรรมแลวผูเรียนทุกคนที่เปนกลุมทดลองจะตองผานเกณฑที่กําหนดไวคือ รอยละ 65 จึงจะถือวานวัตกรรมนั้นมีประสิทธิภาพ

3. วิธีคํานวณหาอัตราสวน ระหวางรอยละของจํานวนผูเรียนที่สอบแบบทดสอบอิงเกณฑผานเกณฑที่กําหนดไว (P1) ตอรอยละของคะแนนเต็มที่กําหนดเกณฑการผานไว(P2) เชน P1 : P2 = 70 : 60 หมายความวา กําหนดเกณฑการผานไววาตองมีผูเรียนรอยละ 70 ของจํานวนผูเรียนทั้งหมด ผานเกณฑรอยละ 60 ของคะแนนเต็ม จึงจะแสดงวานวัตกรรมนั้นมีประสิทธิภาพ ขั้นท่ี 3 การสังเกตและบันทึกผล (Observe)

1. การนํานวัตกรรมไปใชในการจัดการเรียนรูเพื่อแกปญหาของผูเรียน 2. สังเกตและบันทึกการดําเนินการวิจัยทุกขั้นตอน โดยกระบวนการ, การปฏิบัติ, และผลลัพธ 3. ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูทั้งในสวนของกิจกรรมการเรียนรู ทรัพยากรการเรียนรู

และการสนับสนุนการเรียนรู 4. วัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน 5. เครื่องมือสําหรับการเก็บขอมูล มีไดทั้งในลักษณะของการวิจัยเชิงปริมาณ เชน แบบทดสอบ

และการวิจัยเชิงปริมาณ เชน แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ เปนตน ขั้นท่ี 4 การสะทอนความคิด (Reflection)

1. วิเคราะหขอมูลและสรุปผลการการดําเนินงาน 2. จัดทําบันทึกเพื่อสะทอนความคิดจากการดํา เนินการวิจัยทั้ งในสวนของ แนวคิด ,

กระบวนการ, ผลการเรียนรูของผูเรียน, ประโยชน, อุปสรรค, และแนวทางในการแกไข 3. จัดทําเอกสารรายงานผลการวิจัย และเผยแพรผลงานวิจัย 4. นําผลการวิจัยไปสูการพัฒนาการจัดการเรยีนการสอนและวิชาชีพครู 5. ปรับปรุงการวางแผนอีกครั้งเพื่อการดําเนินการวิจัยในครั้งตอๆ ไป

Page 11: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

11

การเขียนรายการการวิจัยในชั้นเรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

เมื่อครูทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแกปญหาใดๆ ประสบความสําเร็จแลวใหจัดทํารายงานการวิจัยในช้ันเรียนเรื่องนั้น ๆ เปนการเขียนรายงานงานวิจัยตั้งแตเร่ิมตนวิเคราะหและสํารวจปญหา การพัฒนานวัตกรรม การทดลองใชเพื่อแกปญหาจนกระทั่งถึงการวิเคราะหผล สรุปผล อภิปราย และขอเสนอแนะ การเขียนรายงานการวิจัยเปนการเสนอสิ่งที่ไดศึกษาคนควาอยางเปนระบบใหผูอ่ืนทราบโดยมีหัวขอการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน ดังนี้

1. ช่ือเร่ือง 2. ช่ือผูวิจัย 3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน 4. สาเหตุของปญหา 5. วัตถุประสงคของการวิจัย 6. วิธีดําเนินงาน 7. นวัตกรรมที่ใชในการแกปญหา 8. วิธีการและเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล 9. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 10. ระยะเวลาดําเนินการ 11. ผลการวิเคราะหขอมูล 12. สรุปและอภิปรายผลการวิจัย

การนําผลการวิจัยไปใช (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

ครูผูสอนสามารถนําผลการวิจัยในชั้นเรียนไปใชดังนี้ 1. นําไปใชในการพัฒนา ปรับปรุงการเรียนการสอนในหองเรียน - ใชแกปญหาการเรียนการสอนโดยตรง เชน การใชเทคนิคการสอนซอมเสริมแบบตางๆ ที่ครู

คิดคนขึ้นมาแลวนําไปสอนซอมเสริมผูเรียนที่เรียนชา - ใชเปนขอมูลในการปรับปรุงการเรียนการสอน - ใชในการพัฒนาหลักสูตร 2. นําไปใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาการเรียนการสอน - เผยแพรเพื่อใหบุคคลอื่น หรือหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปใชประโยชนในการอางอิง - เผยแพรแกบุคคลอื่น หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดแนวทางในการศึกษาคนหาความรู

ใหมที่ลึกซึ้งและมีประโยชนตอไป

Page 12: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

12

3. นําไปใชในการพัฒนาวิชาชีพ - การวิจัยในชั้นเรียน นอกจากจะเปนการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนแลว ยังเปนการ

พัฒนาวิชาชีพของครูอีกดวย คือ เมื่อครูทําการวิจัยในชั้นเรียน ทําใหเปนการเสริมสรางความรูทางวิชาการของตนเอง ทําใหครูมีนวัตกรรม ที่มีคุณภาพ ซ่ึงทําใหเกิดมาตรฐานในการเรียนการสอนตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตอไป

สรุปลักษณะการวิจัยในชัน้เรียน (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

1. ผูทําวิจัยยังคงทํางานตามปกติของตน 2. ไมตองสรางเครื่องมือวิจัย (แตสรางเครื่องวัดผล) 3. ไมมีขอมูลจํานวนมาก และไมตองใชสถิติที่ซับซอน 4. ขอมูลสวนใหญมาจากการสงัเกต การพดูคุย และใชการวเิคราะหเนื้อหา 5. ไมตองทบทวนรายงานวิจยัที่เกี่ยวของ 6. ใชเวลาทําวิจัยไมนาน 7. ความยาว 2 – 3 หนาตอเร่ือง 8. นักเรียนไดรับการพัฒนา 9. ไมมีระบุประชากร การสุมตัวอยาง 10. ไมตองใชสถิติสรุปอางอิง และไมมีระดับนัยสําคัญ 11. ไมมีการทดสอบกอน หลัง 12. ไมมีกลุมทดลอง และกลุมควบคุม 13. เนนการแกไขที่สาเหตุของปญหาของนักเรยีน บางคน บางเรื่อง

Page 13: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

13

แนวทางการเขียนเคาโครงการวิจัยในชั้นเรียน (1) (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

1. ชื่อเรื่อง การฝกทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับนักศึกษา ชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว จ.เชียงใหม จํานวน 20 คน 2. ชื่อผูดําเนินการวิจัย นายวิทยา ใจวิถี 3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน “นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์เร่ืองการตรวจซอม และติดตั้งระบบเบรครถยนตอยูในเกณฑต่ํา” 4. สาเหตุของปญหา นักศึกษามีโอกาสในการรับการฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดทักษะกระบวนการไมเพียงพอ เนื่องมาจากเวลาการฝกปฏิบัติมีจํานวนจํากัด รวมทั้งยังขาดสื่อการเรียนการสอนที่ เปนตัวชวยในการเสริมประสบการณการเรียนที่เหมาะสม 5. วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อใหนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว มีความสามารถดานการฝกทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนตไดอยางมีประสิทธิภาพ จํานวน 20 คน

2. เพื่อสรางและพัฒนาชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนตในชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต 6. วธิีดําเนินงาน

1. รวบรวมรายชื่อนักศึกษาที่ตองไดรับการพัฒนา 2. วิเคราะหเนื้อหา และจัดหา จัดสรางชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอม

และติดตั้งระบบเบรครถยนตในชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต 3. แบงกลุมนักศึกษา และแนะนําการใชชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอม

และติดตั้งระบบเบรครถยนตใหกับนักศึกษา จํานวน 20 คน 4. ใหนักศึกษาดําเนินการศึกษาชุดฝก และนําไปลงมือปฏิบัติการฝกในโรงงาน 5. ครูผูสอน ควบคุม สังเกตพฤติกรรม และใหขอเสนอแนะระหวางการฝกปฏิบัติอยางตอเนื่อง 6. นักศึกษาทดสอบ ทดลองปฏิบัติงานจนเกิดทักษะ 7. ใชกระบวนการกลุมในการสรุป และประเมินผลจากการฝกปฏิบัติ 8. ครูผูสอนรวมกับนักศึกษาสรุปผลของทุกกลุม ใหขอเสนอแนะจากการสังเกตการลงมือ

ปฏิบัติกิจกรรม ใหขอเสนอแนะ รวมทั้งการปรับปรุงชุดฝกปฏิบัติ และประเมินผลรวมกัน

Page 14: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

14

7. นวัตกรรมท่ีใชในการแกปญหา ชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 8. วธิีการวัดผลและเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมลู วิธีการวัดผล 1. ใชวิธีการสังเกตพฤติกรรมในระหวางการฝกปฏิบัติ

2. การตรวจสอบผลงาน 3. ทดสอบผลงานจากการปฏิบัติ และใชแบบทดสอบเพื่อวัดความรูความเขาใจ

เครื่องมือ แบบสังเกตพฤตกิรรม แบบประเมินตรวจสอบผลงาน และแบบทดสอบ เกณฑการผาน ผูเรียนแตละคนไดคะแนนรวมตั้งแตรอยละ 60 ข้ึนไป 9. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คารอยละ และคาเฉลี่ย 10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 10 สัปดาห 11. ความคาดหวัง

1. นักศึกษาชั้น ปวช.2 จํานวน 20 คน สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว มีความสามารถดานการฝกทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนตไดอยางมีประสิทธิภาพ อยางนาพอใจ

2. ไดชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการตรวจซอมและติดตั้งระบบเบรครถยนตในชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนตที่มีประสิทธิภาพ

Page 15: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

15

แนวทางการเขียนเคาโครง การวิจัยในชั้นเรียน (2) (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

1. ชื่อเร่ือง การออกเสียง ร และคําควบกล้ําในวิชาภาษาไทยไม ชัดเจน ของนักเรียนชั้น ......โรงเรียน /

วิทยาลัย ........................จํานวน ........ คน 2. ชื่อผูดําเนินการวิจัย ครูลําพา รักการสอน 3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน นักเรียนจํานวน ..........คน มีปญหาการออกเสียง ร และคําควบกล้ําไมชัดเจน 4. สาเหตุของปญหา นักเรียนไดรับการฝกการออกเสียง ร และคําควบกลํ้าไมเพียงพอ ซ่ึงสงผลกระทบตอการตีความหมายของประโยคหรือขอความและการติดตอส่ือสารกับผูอ่ืน 5. วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อใหนักเรียนจํานวน ........คน มีความสามารถในดานการออกเสียง ร และคําควบกล้ําไดอยางมีถูกตอง

2. เพื่อสรางนิทานภาพและจัดทําคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํานําไปใชกับนักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา

6. วธิีดําเนินงาน 1. รวบรวมรายชื่อจํานวนนักเรียนที่มีปญหาในเรื่องอานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา 2. สรางนิทานภาพและจัดทําคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํานําไปใชกับ

นักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ําไดไมเกิน 8 คํา 3. ใหนักเรียนอานทีละคน แลวบันทึกไว 4. นํานิทานภาพและคูมือการฝกมาฝกนักเรียน สัปดาหละ 2 คร้ัง ชวงเลิกเรียน จํานวน 16

คร้ัง และประเมินผลการฝกทุกครั้งใหไดตามเกณฑที่กําหนด เมื่อผานเกณฑแลวจึงจะสามารถฝกในครั้งตอไปได

5. เมื่อฝกครบ 16 คร้ังแลว นําแบบทดสอบมาสอบนักเรียนทีละคนอีกครั้ง 6. ประเมินผลรายบุคคลและภาพรวม

7. นวัตกรรมท่ีใชในการแกปญหา นิทานภาพและคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา สําหรับนักเรียนชั้น..... โรงเรียน / วิทยาลัย .............

Page 16: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

16

8. วธิีการวัดผลและเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมลู วิธีการ การสังเกตพฤตกิรรม และการทดสอบ เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบทดสอบ เกณฑการผาน นักเรียนสามารถออกเสียงคําที่มีเสยีง ร และคําควบกล้ํา เพิ่มมากขึ้นรอยละ 60 9. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล การบรรยายคุณภาพ และคารอยละ 10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 8 สัปดาห 11. ความคาดหวัง

1. นักเรียนจํานวน ........คน มีความสามารถในดานการออกเสียง ร และคําควบกล้ําไดอยางมีถูกตอง

2. ไดนิทานภาพและคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา นําไปใชกับนักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา ไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 17: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

17

แนวการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน (1) (วิทยา ใจวิถี, มปป.)

1. ชื่อเรื่อง การฝกทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว จ.เชียงใหม จํานวน 12 คน 2. ชื่อผูดําเนินการวิจัย นายวิทยา ใจวิถี 3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน “นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์เร่ืองการติดตั้งระบบเบรครถยนตอยูในเกณฑต่ํา” 4. สาเหตุของปญหา นักศึกษาไดรับการฝกปฏิบัติในเรื่องการติดตั้งระบบเบรครถยนตเพื่อใหเกิดทักษะกระบวนการไมเพียงพอ 5. วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อใหนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยเทคนิคหวยแกว มีความสามารถดานการฝกทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรครถยนตไดอยางมีประสิทธิภาพ จํานวน 12 คน

2. เพื่อสรางและพัฒนาชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรครถยนตในช้ัน ปวช.2 สาขางานยานยนต

6. วธิีดําเนินงาน 1. รวบรวมรายชื่อนักศึกษาที่ตองไดรับการพัฒนา 2. วิเคราะหเนื้อหา และจัดสรางชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรค

รถยนตในชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต 3. แบงกลุมนักศึกษา และแนะนําการใชชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้ง

ระบบเบรครถยนตใหกับนักศึกษา จํานวน 12 คน 4. ใหนักศึกษาดําเนินการศึกษาชุดฝก และนําไปลงมือปฏิบัติการฝกในโรงงาน 5. ครูผูสอน ควบคุม สังเกตพฤติกรรม และใหขอเสนอแนะระหวางการฝกปฏิบัติอยางตอเนื่อง 6. นักศึกษาทดสอบ ทดลองปฏิบัติงานจนเกิดทักษะ 7. ใชกระบวนการกลุมในการสรุปผล และประเมินผลจากการฝกปฏิบัติ 8. ครูผูสอนรวมกับนักศึกษาสรุปผลของทุกกลุม ใหขอเสนอแนะจากการสังเกตการลงมือ

ปฏิบัติกิจกรรม ใหขอเสนอแนะ รวมทั้งการปรับปรุงชุดฝกปฏิบัติ และประเมินผลรวมกัน

Page 18: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

18

7. นวัตกรรมท่ีใชในการแกปญหา ชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการในการติดตั้งระบบเบรครถยนต สําหรับนักศึกษาชั้น ปวช. 2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 8. วธิีการวัดผลและเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมลู วิธีการวัดผล

1. ใชวิธีการสังเกตพฤติกรรมในระหวางการฝกปฏิบัติ 2. การตรวจสอบผลงาน 3. ทดสอบผลงานจากการปฏบัิติ และใชแบบทดสอบเพื่อวัดความรูความเขาใจ

เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม แบบประเมินตรวจสอบผลงาน และแบบทดสอบ เกณฑการผาน ผูเรียนทัง้ 12 คนไดคะแนนตั้งแตรอยละ 60 ข้ึนไป 9. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คารอยละ และคาเฉลี่ย 10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 5 สัปดาห 11. ผลการวิเคราะหขอมูล

ลําดับที่ ช่ือผูเรียน ประเมิน

ผลงาน 50 คะแนน ทดสอบ

30 คะแนน การสังเกตรวมกิจกรรม

20 คะแนน รวม

100 คะแนน 1 นาย ขาว 34 22 14 70 2 นายแดง 32 24 14 70 3 นายดํา 31 26 15 72 4 นายเขียว 34 24 16 74 5 นาย...... 34 21 14 69 6 นาย...... 31 23 17 71 7 นาย...... 32 23 14 69 8 นาย...... 31 24 15 70 9 นาย...... 30 22 14 66

10 นาย...... 35 22 13 70 11 นาย...... 36 23 16 75 12 นาย...... 33 21 16 70

คะแนนสูงสุด 36 21 17 75 คะแนนต่ําสุด 30 21 13 66 คาเฉลี่ย 32.75 22.92 14.83 70.50 คารอยละ 65.50 76.39 74.17 70.50

Page 19: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

19

จากตาราง พบวา นักศึกษามีคาคะแนนรวมจากการประเมินทั้ง 3 เร่ือง อยูในระดับที่นาพอใจ ซ่ึงมีคาคะแนนรวมรอยละ 70.50 ในจํานวนดังกลาว มีนักศึกษามีคาคะแนนสูงสุด 75 คะแนน และคาคะแนนต่ําสุด 66 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน 12. การสรุปผลการวิจัย ผลจากการใชชุดฝกปฏิบัติเพื่อเสริมทักษะสําหรับนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต ปการศึกษา 2545 จํานวน 12 คน ปรากฏวา ผลสัมฤทธ์ิจากการเรียนรูและการรวมกิจกรรมการฝกทักษะโดยใชชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะโดยรวม มีผลสัมฤทธิ์เปนที่นาพอใจ บรรลุตามวัตถุประสงคของการวิจัย นั่นคือการนําเอาชุดฝกปฏิบัติเสริมทักษะกระบวนการมาใชในกระบวนการเรียนการสอนสามารถที่จะชวยครูผูสอนไดพัฒนาผูเรียนใหเกิดกระบวนการเรียนรู และสามารถเพิ่มทักษะสําหรับผูเรียนไดเปนอยางดี

Page 20: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

20

แนวทางการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน (2) 1. ชื่อเร่ือง การออกเสียง ร และคําควบกล้ําในวิชาภาษาไทยไมชัดเจน ของนักเรียนชั้น ...... วิทยาลยั

.................จํานวน ........ คน 2. ชื่อผูดําเนินการวิจัย ครูบังอร รักการสอน 3. ปญหาในการจัดการเรียนการสอน นักเรียนจํานวน .......คน มีปญหาการออกเสียง ร และคําควบกล้ําไมชัดเจน 4. สาเหตุของปญหา นักเรียนไดรับการฝกการออกเสียง ร และคําควบกลํ้าไมเพียงพอ ซ่ึงสงผลกระทบตอการตีความหมายของประโยคหรือขอความและการติดตอส่ือสารกับผูอ่ืน 5. วัตถุประสงคของการวิจัย

2. เพื่อใหนักเรียนจํานวน ........คน มีความสามารถในดานการออกเสียง ร และคําควบกล้ําไดอยางมีถูกตอง

3. เพื่อสรางนิทานภาพและจัดทําคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํานําไปใชกับนักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา

6. วธิีดําเนินงาน 1. รวบรวมรายชื่อจํานวนนักเรียนที่มีปญหาในเรื่องอานออกเสียง ร และคําควบกล้ํา 2. ศึกษาวิธีการสรางนิทานภาพและคูมือการฝกออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา จาก

เอกสารตาง ๆ 3. สรางนิทานภาพและจัดทําคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํานําไปใชกับ

นักเรียนที่อานออกเสียง ร และคําควบกล้ําไดไมเกิน 8 คํา 4. ใหนักเรียนที่มีปญหาอานทีละคนแลวบันทึกไว 5. นํานิทานภาพและคูมือการฝกมาฝกนักเรียน สัปดาหละ 2 คร้ัง ชวงเลิกเรียน จํานวน 16

คร้ัง และประเมินผลการฝกทุกครั้งโดยใหไดตามเกณฑรอยละ 70 ของคําที่กําหนดใหทั้งหมด เมื่อผานเกณฑแลวจึงจะสามารถฝกในครั้งตอไปได

6. เมื่อฝกครบ 16 คร้ังแลว นําแบบทดสอบมาสอบนักเรียนทีละคนทั้ง 12 คนอีกครั้ง 7. ประเมินผลรายบุคคลและภาพรวม

7. นวัตกรรมท่ีใชในการแกปญหา นิทานภาพและคูมือการฝกอานออกเสียงคําที่มีเสียง ร และคําควบกล้ํา สําหรับนักเรียนชั้น............ วิทยาลัย ..................

Page 21: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

21

8. วธิีการวัดผลและเครื่องมือการเก็บรวบรวมขอมลู วิธีการ การสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียง และการทดสอบ เครื่องมือ แบบสังเกตพฤตกิรรมการอานออกเสียง และแบบทดสอบ เกณฑการผาน นักเรียนสามารถออกเสียงคาํที่มเีสียง ร และคําควบกล้ํา ผานเกณฑการฝกใน

แตละครั้ง 9. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล การบรรยายคณุภาพ และคารอยละ 10. ระยะเวลาดําเนินการแกไขเสร็จ 8 สัปดาห 11. ผลการวิเคราะหขอมูล จากการสังเกตพฤติกรรมและการทดสอบหลังใชแบบฝก ปรากฏวา นกัเรียนสามารถออกเสียงคําที่มีเสยีง ร และคําควบกล้ํา ไดจํานวนคํามากกวากอนการฝกทกุคน และผลการทดสอบสุดทายของทุกคนผานเกณฑรอยละ 70 ซึ่งจากการทดลองใชนทิานภาพและคูมอืการฝกออกเสียง ชวยใหนกัเรียนสามารถออกเสียงคําที่มีเสยีง ร และคําควบกล้ําไดถูกตอง 12. การสรปุผล และขอเสนอแนะ จากการทดลองใชนทิานภาพและคูมือการฝกออกเสียง ซึ่งชวยใหนกัเรียนสามารถออกเสียงคาํที่มีเสียง ร และคําควบกล้าํไดถูกตอง และครูลําพาไดนาํไปเผยแพรแกครูผูสอนช้ัน ...........และชัน้อื่น ๆ ที่มีปญหาในลกัษณะเดียวกนันี ้แตจะตองปรับเนื้อเร่ืองและสรางนิทานภาพใหเหมาะสมกับนกัเรียนเพื่อนําไปใชแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป

Page 22: นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

การวิจัยในชั้นเรียนกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: 22 สิงหาคม 2552

22

แหลงขอมูล ไพจิตร สดวกการ และ ศิริกาญจน โกสุมภ. ชุดฝกอบรมครู: ประมวลสาระ บทท่ี 7 การวิจัยในชั้นเรียน.

โครงการพัฒนาผูบริหารการศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ครู ผูนําชุมชนและผูนําองคกรปกครอง สวนทองถ่ิน, 2545

วิทยา ใจวิถี. เอกสารประกอบการวิจัยในชัน้เรียน (ฉบบัยอ). สืบคนจาก www.act.ac.th/download/inc_downloading.asp?iFile=2504 เมื่อ 18 สิงหาคม 2552

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล. การพฒันานวตักรรมเพื่อสรางผลงานทางวิชาการ. ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศกึษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี, 2551

อุทุมพร จามรมาน. ชุดฝกอบรม เร่ือง การทําวิจัยในชั้นเรียน. 2545 สืบคนจาก http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~jutumpor เมื่อ 18 สิงหาคม 2552

Borg, R. and Gall, D. Educational Research: An Introduction (5th ed.). New York: Longman, 1989 Brien, R. Methodological Approach of Action Research. Faculty of Information Studies,

University of Toronto, 1998. Oliver, R. Exploring strategies for on-line teaching and learning. Distance Education, 1999.