Top Banner
1 แนวทางการบริหารจัดการคาใชจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ ปงบประมาณ 2561 สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ 1. แนวคิดการจัดสรร การเพิ่มประสิทธิผลและคุณภาพผลงานบริการสาธารณสุข เปนแนวคิดสําคัญหนึ่ง ในการบริหารจัดการ กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติปงบประมาณ 2561 เพื่อใหมีแรงจูงใจดานการเงินที่เหมาะสมแกผูใหบริการใน การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพและใหบริการที่มีคุณภาพ ทําใหประชาชนเขาถึงบริการสาธารณสุขที่จําเปน และมีคุณภาพไดอยางเทาเทียมกัน งบจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ เปนการจายเพื่อมุงหวังใหหนวยบริการตระหนักถึงการพัฒนาการ บริการใหบรรลุถึงคุณภาพและพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องจนมั่นใจไดวาภายใตระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา ประชาชนจะเขาถึงบริการสาธารณสุขที่จําเปนและไดรับบริการที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้นอยางสม่ําเสมอ โดยมี หลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขและอัตราการจายงบตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ ของหนวยบริการปฐมภูมิ และ หนวยบริการประจํา ซึ่งจะกลาวถึงรายละเอียดตอไป 2. วัตถุประสงค 2.1 เพื่อใหประชาชนไดรับบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานตามความจําเปนตอสุขภาพและการดํารงชีวิต 2.2 เพื่อใหหนวยบริการมีการพัฒนาคุณภาพผลงานบริการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง 2.3 เพื่อสงเสริมการพัฒนาคุณภาพของระบบขอมูลสุขภาพในพื้นที3. ลุมเปาหมาย หนวยบริการที่ขึ้นทะเบียนในระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา ไดแก หนวยบริการประจํา และหนวย บริการปฐมภูมิ 4. ผลผลิตหรือผลลัพธที่ตองการ หนวยบริการมีผลการดําเนินงานที่มีคุณภาพตามเกณฑที่กําหนด และประชาชนไดรับบริการที่มีคุณภาพ และไดมาตรฐาน 5. วงเงินงบที่ไดรับ และประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปงบประมาณ 2561 งบประมาณที่ไดรับในปงบประมาณ 2561 จํานวน 1,128,067,000 บาท จาก 3 สวนคือ 1) บริการผูปวยนอกทั่วไป ประเภทบริการที่จายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ จํานวน 9 บาทตอผูมี สิทธิ (48.7970 ลานคน) จํานวน 439,173,000 บาท
25

2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

Jun 30, 2018

Download

Documents

buithuan
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

1

แนวทางการบริหารจัดการคาใชจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ ปงบประมาณ 2561

สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ

1. แนวคิดการจัดสรร

การเพ่ิมประสิทธิผลและคุณภาพผลงานบริการสาธารณสุข เปนแนวคิดสําคัญหนึ่ง ในการบริหารจัดการ

กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติปงบประมาณ 2561 เพ่ือใหมีแรงจูงใจดานการเงินท่ีเหมาะสมแกผูใหบริการใน

การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพและใหบริการท่ีมีคุณภาพ ทําใหประชาชนเขาถึงบริการสาธารณสุขท่ีจําเปน

และมีคุณภาพไดอยางเทาเทียมกัน

งบจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ เปนการจายเพ่ือมุงหวังใหหนวยบริการตระหนักถึงการพัฒนาการ

บริการใหบรรลุถึงคุณภาพและพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องจนม่ันใจไดวาภายใตระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา

ประชาชนจะเขาถึงบริการสาธารณสุขท่ีจําเปนและไดรับบริการท่ีมีคุณภาพเพ่ิมข้ึนอยางสมํ่าเสมอ โดยมี

หลักเกณฑ วิธีการ เง่ือนไขและอัตราการจายงบตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ ของหนวยบริการปฐมภูมิ และ

หนวยบริการประจํา ซ่ึงจะกลาวถึงรายละเอียดตอไป

2. วัตถุประสงค

2.1 เพ่ือใหประชาชนไดรับบริการท่ีมีคุณภาพมาตรฐานตามความจําเปนตอสุขภาพและการดํารงชีวิต

2.2 เพ่ือใหหนวยบริการมีการพัฒนาคุณภาพผลงานบริการเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่อง

2.3 เพ่ือสงเสริมการพัฒนาคุณภาพของระบบขอมูลสุขภาพในพ้ืนท่ี

3. กลุมเปาหมาย

หนวยบริการท่ีข้ึนทะเบียนในระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา ไดแก หนวยบริการประจํา และหนวย

บริการปฐมภูมิ

4. ผลผลิตหรือผลลัพธท่ีตองการ

หนวยบริการมีผลการดําเนินงานท่ีมีคุณภาพตามเกณฑท่ีกําหนด และประชาชนไดรับบริการท่ีมีคุณภาพ

และไดมาตรฐาน

5. วงเงินงบท่ีไดรับ และประเด็นท่ีเปล่ียนแปลงจากปงบประมาณ 2561

งบประมาณท่ีไดรับในปงบประมาณ 2561 จํานวน 1,128,067,000 บาท จาก 3 สวนคือ

1) บริการผูปวยนอกท่ัวไป ประเภทบริการท่ีจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ จํานวน 9 บาทตอผูมี

สิทธิ (48.7970 ลานคน) จํานวน 439,173,000 บาท

Page 2: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

2

2) บริการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค ประเภทบริการท่ีจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ

จํานวน 9 บาทตอประชาชนไทยทุกคน (65.7000 ลานคน) จํานวน 591,300,000 บาท

3) บริการจายตามคุณภาพผลงานบริการ จํานวน 2 บาทตอผูมีสิทธิ (48.7970 ลานคน) จํานวน

97,594,000 บาท

6. แนวทาง เง่ือนไข และหลักเกณฑการจายคาใชจาย

การจัดสรรงบจายตามคุณภาพผลงานบริการนี้ เปนการจัดสรรใหแกหนวยบริการประจําท่ีมีผลการ

ดําเนินงานตามตัวชี้วัดคุณภาพผลงานบริการท่ีเกินเปาหมายตามแนวทางท่ีกําหนด โดยคณะทํางาน หรือ กลไก

การมีสวนรวมของทุกภาคสวนในระดับเขต

6.1 แนวทางพิจารณาและคัดเลือกตัวชี้วัดคุณภาพผลงานบริการท่ีนํามาใชประกอบดวย

6.1.1 เปนตัวชี้วัดท่ีบูรณาการรวมระหวาง สปสช. กระทรวงสาธารณสุข สํานักงานกองทุนสนับสนุน

การสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)

6.1.2 เปนปญหาดานสาธารณสุข ไดแก กลุมโรคท่ีมีภาระโรคสูง (High burden) โรคท่ีมีความเสี่ยง

สูง (High risk) และโรคท่ีมีภาระคาใชจายสูง (High cost) และสามารถคัดเลือกตัวชี้วัดท่ี

สอดคลองตามสภาพปญหาและบริบทของพ้ืนท่ี

6.1.3 ไมซํ้ากับตัวชี้วัดผลลัพธบริการท่ีใชในการจายคุณภาพบริการในบริการผูปวยไตวายเรื้อรัง

บริการควบคุม ปองกัน และรักษาโรคเรื้อรัง และบริการผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดส

6.1.4 ไมสรางระบบการบันทึกขอมูลใหม โดยใหใชขอมูลจากฐานขอมูลผูปวยนอก ขอมูล สราง

เสริมสุขภาพรายบุคคล (OP-PP individual records) ขอมูลผูปวยในรายบุคคล (IP E-

claim) ขอมูลข้ึนทะเบียนหนวยบริการเปนหลัก หรือ ขอมูลจาก Health Data center ของ

กระทรวงสาธารณสุข

6.1.5 ใหมีคณะทํางาน หรือกลไกท่ีมีสวนรวมของทุกภาคสวน เพ่ือบริหารจัดการในระดับเขต ใน

การกําหนดตัวชี้วัดระดับเขต เปาหมาย หลักเกณฑ เง่ือนไข การใหคะแนนและการจัดสรรงบ

6.2 ตัวชี้วัดคุณภาพผลงานบริการ แบง เปน 2 สวน คือ

6.2.1 ตัวช้ีวัดกลาง ไมเกิน 10 ตัว เปนตัวชี้วัดท่ีบูรณาการระหวาง สปสช. กระทรวงสาธารณสุข

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สปสช.เขต ทุกเขตตองนําไปใช

ในการจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ

ในปงบประมาณ 2561 กําหนดใชตัวชี้วัดกลาง จํานวน 6 ตัว ดังนี้

ตัวชี้วัดท่ี 1: รอยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ป ไดรับการคัดกรองเบาหวาน โดยการ

ตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือด

ตัวชี้วัดท่ี 2: รอยละของประชากรไทยอายุ 35-74ป ไดรับการคัดกรองความดันโลหิตสูง

ตัวชี้วัดท่ี 3: รอยละของหญิงมีครรภไดรับการฝากครรภครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห

Page 3: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

3

ตัวชี้วัดท่ี 4: รอยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-

60 ป ภายใน 5 ป

ตัวชี้วัดท่ี 5: รอยละการใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบในผูปวยนอก

5.1 รอยละการใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบในผูปวยนอกโรคอุจจาระรวง

เฉียบพลัน (Acute Diarrhea)

5.2 รอยละการใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบในผูปวยนอกโรคติดเชื้อระบบ

ทางเดินหายใจ (Respiratory Infection)

ตัวชี้วัดท่ี 6: การลดลงของอัตราการรับไวรักษาในโรงพยาบาลดวยกลุมโรคท่ีควรรักษาแบบ

ผูปวยนอก (ACSC: Ambulatory Care Sensitive Condition) ในโรคลมชัก

(Epilepsy) ปอดอุดก้ันเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (Diabetes

Mellitus) และ ความดันโลหิตสูง (Hypertension)

6.2.2 ตัวช้ีวัดระดับเขต ไมเกิน 5 ตัว ในปงบประมาณ 2561 นั้น สปสช.เขต สามารถเลือกจากรายการ

ตัวชี้วัดท่ีใชในปงบประมาณ 2560 หรือกําหนดเพ่ิมเติมข้ึนมาใหม โดยใชกลไกการมีสวนรวมกับผูเก่ียวของใน

พ้ืนท่ี โดยผานความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับเขตพ้ืนท่ี (อปสข.) และสปสช.

เขตประกาศใชในปงบประมาณ 2561

7. หลักเกณฑการจาย

7.1 จัดสรรงบจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ ใหสปสช .แตละเขต ตามจํานวนประชากร/ผูมีสิทธิ

7.2 สปสช .เขต จัดใหมีคณะทํางาน หรือ กลไกการมีสวนรวมเพ่ือบริหารจัดการ กําหนดแนวทางการ

จัดสรรงบจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ ซ่ึงประกอบดวย คาเปาหมาย น้ําหนักคะแนน เกณฑการให

คะแนน และสัดสวนงบประมาณท่ีจะจัดสรรใหหนวยบริการท่ีมีผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดคุณภาพผลงาน

บริการท่ีเกินเปาหมายตามแนวทางท่ีกําหนด

7.3 การกําหนดคาเปาหมายตัวชี้วัดคุณภาพผลงานบริการ ใหสปสชเขต กําหนดคาเปาหมายจากผลงาน

บริการในระดับพ้ืนท่ี โดยใหพิจารณาความเหมาะสมสอดคลองกับคาเปาหมายระดับประเทศรวมดวย และอาศัย

กลไกการมีสวนรวมกับผูเก่ียวของในพ้ืนท่ี โดยผานความเห็นชอบของ อปสข.

7.4 สปสช.เขตจัดสรรใหหนวยบริการประจําภายใตวงเงินระดับเขต (Global budget) สวนการจัดสรร

ใหแกหนวยบริการในเครือขายหนวยบริการประจํานั้น ใหกําหนดหลักเกณฑการจัดสรรโดยใชกลไกการมีสวนรวม

ในระดับพ้ืนท่ีหรือระดับ Contracting Unit of Primary care (CUP)

7.5 กรณีท่ีมีงบจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการเหลือจาก Global budgetระดับเขตของแตละสปสช.

เขต ใหจายคืนหนวยบริการประจําตามจํานวนผูมีสิทธิลงทะเบียน โดยผานความเห็นชอบจากอปสข.

7.6 กําหนดการจัดสรรงบจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการเพียงครั้งเดียว ใหเสร็จสิ้นภายในเดือน

สิงหาคม 2561 โดยใชขอมูลบริการไตรมาส 3,4 ปงบประมาณ 2560 และไตรมาส 1,2 ปงบประมาณ 2561

Page 4: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

4

8. การกํากับ ติดตามประเมินผล

1) ความครบถวน ถูกตอง ของขอมูลท่ีนํามาใชในการประเมินผลงานตามตัวชี้วัดงบจายตามเกณฑ

คุณภาพผลงานบริการ

2) การดําเนินการเปนไปตามแผน และเบิกจายงบจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ ถูกตอง ตรงตาม

เวลาท่ีกําหนด

3) การวิเคราะหขอมูลคุณภาพผลงานบริการ เพ่ือพิจารณากําหนดมาตรการสนับสนุน สงเสริม กํากับและ

ติดตามคุณภาพบริการในระดับพ้ืนท่ี ผานกลไกคณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข

ระดับเขตพ้ืนท่ี (อคม.) และคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข

9. การบริหารจัดการคาใชจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ ปงบประมาณ 2561 ในเขตพ้ืนท่ี สํานักงาน

หลักประกันสุขภาพแหงชาติ เขต 1 เชียงใหม

9.1 วงเงินจัดสรรคาใชจายในการบริการสาธารณสุขท่ีจายตามเกณฑคุณภาพผลงานบริการ ระดับพ้ืนท่ี เขต 1

เชียงใหม เปนเงิน 92,986,622.00 บาท รายละเอียด ดังนี้

9บาท* ประชากร UC

4,095,049 คน

9 บาท*ประชากรไทย

5,326,787 คน

2บาท * ปชก.UC

4,095,049 คน

รวมวงเงินคุณภาพ

เขต 1 (บาท)

36,855,441.00 47,941,083.00 8,190,098.00 92,986,622.00

9.2 ตัวชี้วัดระดับเขต กําหนดใชในปงบประมาณ 2561 จํานวน 2 ตัว ดังนี้

ตัวชี้วัดท่ี 7 : รอยละการประเมิน กระตุนและติดตามพัฒนาการในเด็กเด็กในกลุมอายุ 9,18,30

และ 42 เดือน

7.1 รอยละเด็กอาย ุ 9, 18, 30, 42 เดือน ไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ

7.2 รอยละเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ และพบเด็ก

สงสัยลาชา

7.3 รอยละเด็กพัฒนาการสงสัยลาชา ไดรับการกระตุน และติดตามภายใน 30 วัน

ตัวชี้วัดท่ี 8 : รอยละการสํารวจ ADL และติดตามเยี่ยมบานในผูสูงอายุ

8.1 รอยละผูสูงอายุไดรับการประเมิน ADL ตามเกณฑ

8.2 รอยละผูสูงอายุ ติดบาน ติดเตียง ไดรับการเยี่ยมบาน

9.3 กําหนดคาเปาหมาย น้ําหนักคะแนน และแหลงขอมูล ของตัวชี้วัดตามเกณฑคุณภาพและผลงานบริการ

ดังนี้

Page 5: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

5

Page 6: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

6

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก. Template ตัวช้ีวัดกลาง

ชื่อตัวชี้วัด 1. รอยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ป ไดรับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัด

ระดับน้ําตาลในเลือด

วัตถุประสงค เพ่ือประเมินความครอบคลุมของการคัดกรองโรคเบาหวานในกลุมเปาหมาย

คํานิยาม การคัดกรองโรคเบาหวาน หมายถึง การคัดกรองเบาหวานโดยวิธีตรวจน้ําตาลในเลือด ใน

กลุมท่ียังไมเคยไดรับการวินิจฉัยวาเปนเบาหวาน (ตามแนวทางการรักษาโรคเบาหวาน พ.ศ.

2557)

เกณฑเปาหมาย เกณฑเปาหมายระดับประเทศ ไมต่ํากวารอยละ 90

ประชากร

กลุมเปาหมาย

จํานวนประชากรไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) อายุ 35-74 ป ท่ี

ยังไมเคยไดรับการวินิจฉัยวาเปนเบาหวาน

แหลงขอมูล 1) ฐานขอมูลประชากร จากฐานทะเบียนราษฎร

2) ฐานขอมูลผูเสียชีวิต จากฐานทะเบียนราษฎร

3) ฐานขอมูลประชากรและสิทธิ จากฐาน สปสช.

(ขอท่ี 1-3 เพ่ือนํามาใชคํานวณประชากรกลุมเปาหมาย)

4) ฐานขอมูล OP/PP แฟม DIAGNOSIS ฟลด DIAGCODE รหัสข้ึนตนดวย E10-E14

รวมท้ัง PID ท่ีปรากฏในแฟม CHRONIC ฟลด CHRONIC รหัสข้ึนตนดวย E10-E14

5) ฐานขอมูล OP/PP จากแฟม DIAGNOSIS_OPD ฟลด DIAGCODE รหัสข้ึนตนดวย E10-

E14

6) ฐานขอมูล OP/PP จากแฟม NCDSCREEN ฟลด BSLEVEL และ ฟลด BSTEST

7) ฐานขอมูล OP/PP จากแฟม CHRONIC ฟลด CHRONIC รหัสข้ึนตนดวย E10-E14

รายการขอมูล 1 A= จํานวนประชากรไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) อายุ 35-74 ป

ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ (TYPE AREA เปน1,3) ท่ีไดรับการคัดกรองระดับน้ําตาลใน

เลือด ชวง 1 เมษายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561 (โดยตัดผูปวยท่ีเคยเปนเบาหวานกอนหนา

นั้นออก)

เง่ือนไขรายการขอมูล

1

A= จํานวนประชากรไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ในเขต

รับผิดชอบ (TYPE AREA เปน1,3) ท่ีเกิดในชวง 1 เมษายน 2485 ถึง 31 มีนาคม 2525 ท่ี

ไดรับการคัดกรองเบาหวาน โดย DATE_SERV อยู ในชวง 1 เมษายน 2560 ถึง 31 มีนาคม

2561 โดยนับจาก PID ท่ีปรากฏใน NCDSCREEN ฟลด BSTEST มีคาเปน 1,2,3,4 และ

BSLEVEL มีคามากกวา 0 ท้ังนี้ตองตัดผูท่ีเสียชีวิตกอนวันคัดกรอง (DATE_SERV) รวมถึงราย

ท่ีมี PID error หรือ PID ท่ีเคยเปนโรคเบาหวานจากฐานขอมูล IP/OP แฟม DIAGNOSIS

Page 7: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

7

ฟลด DIAGCODE หรือฐานขอมูล OP/PP แฟม DIAGNOSIS_OPD ฟลด DIAGCODE รหัส

ข้ึนตนดวย E10-E14 รวมท้ัง PID ท่ีปรากฏในแฟม CHRONIC ฟลด CHRONIC รหัสข้ึนตน

ดวย E10-E14 กอนวันมีผลคัดกรองดังกลาวออกจากการคํานวณ

รายการขอมูล 2 B= จํานวนประชาชนไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) อายุ 35-74ป

ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ (TYPE AREA เปน1,3) ท่ีไมเคยไดรับการวินิจฉัยวาเปน

เบาหวานมากอน

เง่ือนไขรายการขอมูล

2

B= จํานวนประชาชนไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ท่ีเกิดในชวง 1

เมษายน 2485 ถึง 31 มีนาคม 2525 ท่ีไมเคยไดรับการวินิจฉัยวาเปนเบาหวานกอนวันท่ี 1

เมษายน 2560 โดยตรวจสอบจาก IP/OP e-claim หรือฐานขอมูล OP/PP แฟม DIAGNOSIS

ฟลด DIAGCODE รหัสข้ึนตนดวย E10-E14 รวมท้ัง PID ท่ีปรากฏในแฟม CHRONIC ฟลด

CHRONIC รหัสข้ึนตนดวย E10-E14

สูตรการคํานวณ

ตัวชี้วัด

(A/B) X 100

ระยะเวลาประเมินผล ปละ 1 ครั้ง

Baseline ผลงาน QOF ป 2560= 59.34%

เกณฑการใหคะแนน

คะแนน คาคะแนน

5 มากกวารอยละ 95.00

4 ตั้งแตรอยละ 88.76 - 95.00

3 ตั้งแตรอยละ 82.51- 88.75

2 ตั้งแตรอยละ 76.26 - 82.50

1 ตั้งแตรอยละ 70.00 - 76.25

0 นอยกวารอยละ 70.00

Page 8: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

8

ชื่อตัวชี้วัด 2. รอยละของประชากรไทยอายุ 35-74ป ไดรับการคัดกรองความดันโลหิตสูง

วัตถุประสงค เพ่ือประเมินความครอบคลุมของการคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูงในกลุมเปาหมาย

คํานิยาม การคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูง หมายถึงการคัดกรองโดยการวัดความดันโลหิตในกลุมประชากร

เปาหมายท่ีไมเคยถูกวินิจฉัยวามีภาวะความดันโลหิตสูงมากอน (ตามแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิต

สูงในเวชปฏิบัติท่ัวไป พ.ศ. 2555 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2558)

เกณฑ

เปาหมาย

เกณฑเปาหมายระดับประเทศ ไมต่ํากวารอยละ 90

ประชากร

กลุมเปาหมาย

จํานวนประชากรไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) อายุ 35-74ป ท่ียังไมเคยไดรับ

การวินิจฉัยวาเปนโรคความดันโลหิตสูง

แหลงขอมูล 1) ฐานขอมูลประชากร จากฐานทะเบียนราษฎร

2) ฐานขอมูลผูเสียชีวิต จากฐานทะเบียนราษฎร

3) ฐานขอมูลประชากรและสิทธิ จากฐาน สปสช.

(ขอท่ี 1-3 เพ่ือนํามาใชคํานวณประชากรกลุมเปาหมาย)

4) ฐานขอมูล IP/OP แฟม DIAGNOSIS ฟลด DIAGCODE รหัสข้ึนตนดวย I10-I15 รวมท้ัง PID ท่ีปรากฏ

ในแฟม CHRONIC ฟลด CHRONIC รหัส I10-I15

5) ฐานขอมูล OP/PP จากแฟม DIAGNOSIS_OPD ฟลด DIAGCODE รหัสข้ึนตนดวย I10-I15

6) ฐานขอมูล OP/PP จากแฟม NCDSCREEN ฟลด SBP_1 และ ฟลด DBP_1ฐานขอมูล OP/PP จาก

แฟม CHRONIC ฟลด CHRONIC รหัสข้ึนตนดวย I10-I15

รายการขอมูล

1

A= จํานวนประชากรไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9)อายุ 35-74ป ท่ีอาศัยอยูใน

พ้ืนท่ีรับผิดชอบ (TYPE AREA เปน1,3) ท่ีไดรับการคัดกรองความดันโลหิตสูงใน ชวง 1 เมษายน 2560 ถึง

31 มีนาคม 2561 โดยตัดผูท่ีเคยเปนโรคความดันโลหิตสูงกอนหนาวันท่ีคัดกรองออก

เง่ือนไข

รายการขอมูล

1

A= จํานวนประชากรไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9)ในเขตรับผิดชอบ (TYPE

AREA เปน1,3) ท่ีเกิดในชวง 1 ตุลาคม 2485 ถึง 31 มีนาคม 2525 ท่ีไดรับการคัดกรองความดันโลหิต

โดยนับจาก CID ท่ีปรากฏในแฟม NCDSCREEN โดยมีคา SBP_1 >30 และ DBP_1 > 20 จาก และมี

DATE_SERV อยูในชวง 1 เมษายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561 โดยตัดผูท่ีเสียชีวิตกอนวันคัดกรอง รวมถึง

รายท่ีมี PID error หรือ PID ท่ีเคยเปนโรคความดันโลหิตสูงจากฐานขอมูล IP/OP แฟม DIAGNOSIS หรือ

ฐานขอมูล OP/PP แฟม DIAGNOSIS_OPD ฟลด DIAGCODE รหัสข้ึนตนดวย I10-I15 รวมท้ัง PID ท่ี

ปรากฏในแฟม CHRONIC ฟลด CHRONIC รหัส I10-I15กอนวันมีผลคัดกรองดังกลาวออกจากการคํานวณ

รายการขอมูล

2

B= จํานวนประชากรไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9)อายุ 35-74 ป ท่ีอาศัยอยูใน

พ้ืนท่ีรับผิดชอบ (TYPE AREA เปน1,3) ณ วันประมวลผล ท่ีไมเคยไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคความดัน

โลหิตสูงกอนวันท่ี 1 เมษายน 2560

Page 9: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

9

เง่ือนไข

รายการขอมูล

2

B= จํานวนประชากรไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9)ท่ีเกิดในชวง 1 ตุลาคม 2485

ถึง 31 มีนาคม 2525 ท่ีไมเคยไดรับการวินิจฉัยวาเปนความดันโลหิตสูงมากอนวันท่ี 1 เมษายน 2560 โดย

ตรวจสอบจากแฟม CHRONIC ฟลด CHRONIC รหัสข้ึนตนดวย I10-I15 รวมกับ ฐานขอมูล IP/OP แฟม

DIAGNOSIS ฟลด DIAGCODE และฐานขอมูล OP/PP แฟม DIAGNOSIS_OPD ฟลด DIAGCODE รหัส

ข้ึนตนดวย I10-I15

สูตรการ

คํานวณตัวชี้วัด

(A/B )X 100

ระยะเวลา

ประเมินผล

ปละ 1 ครั้ง

Baseline ผลงาน QOF ป 2560= 60.86%

เกณฑการให

คะแนน

คะแนน คาคะแนน

5 มากกวารอยละ 95.00

4 ตั้งแตรอยละ 88.76 - 95.00

3 ตั้งแตรอยละ 82.51- 88.75

2 ตั้งแตรอยละ 76.26 - 82.50

1 ตั้งแตรอยละ 70.00 - 76.25

0 นอยกวารอยละ 70.00

Page 10: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

10

ช่ือตัวช้ีวัด 3. รอยละของหญิงมีครรภไดรับการฝากครรภครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห

วัตถุประสงค เพ่ือประเมินการไดรับการดูแลกอนคลอดภายใน 12 สัปดาหของหญิงมีครรภคนไทย

คํานิยาม หญิงมีครรภคนไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

(TYPE AREA เปน1,3) ท่ีฝากครรภครั้งแรกโดยอายุครรภตองไมเกิน 12 สัปดาห ท้ังนี้ การฝากครรภครั้ง

แรกประกอบดวย

1. ประเมินการตั้งครรภท่ีมีความเสี่ยงสูง

2. ชั่งน้ําหนัก วัดสวนสูง ความดันโลหิต

3. ตรวจรางกายท่ัวไป (ตรวจเสียงปอดและหัวใจ)

4. ตรวจปสสาวะ (Multiple dipstick) เพ่ือหา protein, sugar, asymptomatic bacteria

5. ตรวจภายใน (อาจเลื่อนไปตรวจในครั้งท่ี 2 ของการฝากครรภ)

6. ตรวจ Hemoglobin/Hematocrit/Osmolarity Fragility/DCIP (ทุกอายุครรภ) และตรวจ VDRL,

Anti HIV, blood group, Rh typing, HbsAg

7. ใหวัคซีน Tetanus Toxoid ครั้งท่ี 1

8. ใหธาตุเหล็ก และ/หรือ โฟลิค และ Iodine

9. ใหคําแนะนํากรณีเกิดอาการผิดปกติฉุกเฉินและเบอรโทรศัพทท่ีสามารถติดตอฉุกเฉิน

เกณฑเปาหมาย ไมนอยกวารอยละ 60

ประชากร

กลุมเปาหมาย

หญิงมีครรภ สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ (TYPE

AREA เปน1,3) ท่ีรับบริการฝากครรภครั้งแรกภายในปท่ีหนวยบริการ

แหลงขอมูล ฐานขอมูลจากแฟม ANC (การฝากครรภครั้งท่ี 1 ใน ฟลด: ANCNO =1, อายุครรภท่ี ฟลด: GA)

รายการขอมูล 1 A=จํานวนหญิงมีครรภ สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ี

รับผิดชอบ (TYPE AREA เปน1,3) ทุกรายในหนวยบริการท่ีมาฝากครรภครั้งแรก โดยอายุครรภไมเกิน 12

สัปดาห ท่ีไดรับบริการ ภายในวันท่ี 1 เมษายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561

เง่ือนไขรายการ

ขอมูล 1

นับ PID จากแฟม ANC (นับเฉพาะการฝากครรภครั้งแรกของการตั้งครรภครั้งนั้น) โดยหญิง สัญชาติไทย

(ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ (TYPE AREA เปน1,3) ท่ีมาฝาก

ครรภเปนครั้งแรกของครรภนี้นับในชวงท่ีไดรับบริการภายในวันท่ี 1 เมษายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561

(โดยตรวจสอบการฝากครรภยอนหลังไป 9 เดือนทุกรายของผูรับบริการในชวงท่ีกําหนด เพ่ือตัดรายท่ีเคย

มาในชวง 9 เดือนยอนหลังออกกอน หากมี PID ซํ้า ใหเลือก GRAVIDA ท่ีไมซํ้า) ใหนับเฉพาะวันท่ีบริการ

ครั้งแรกใน min(DATE_SERV) และ min (GA) กรณีพบซํ้าใหเลือกหนวยบริการแรกหนวยบริการเดียว นับ

จํานวนคน จากเลขประจําตัว 13 หลัก ท่ีมี GA <=12 wks และตัด PID error

Page 11: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

11

รายการขอมูล 2 B = จํานวนหญิงมีครรภ สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ี

รับผิดชอบ (TYPE AREA เปน1,3) ทุกรายท่ีมารับบริการฝากครรภครั้งแรกท้ังหมดท่ีไดรับบริการ ภายใน

วันท่ี 1 เมษายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561 ในหนวยบริการท้ังหมด

เง่ือนไขรายการ

ขอมูล 2

หญิงสัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ (TYPE AREA

เปน1,3) ท่ีมาฝากครรภเปนครั้งแรกของครรภนี้ ในชวงเวลาท่ีไดรับบริการ ภายในวันท่ี 1 เมษายน 2560

ถึง 31 มีนาคม 2561 (โดยตรวจสอบการฝากครรภยอนหลัง 9 เดือนทุกรายของผูรับบริการในชวงท่ี

กําหนด เพ่ือตัดรายท่ีเคยมาในชวง 9 เดือนยอนหลังออกกอน) ใหนับเฉพาะวันท่ีบริการครั้งแรกใน

min(DATE_SERV) และ min(GA) กรณีพบซํ้าใหเลือกหนวยบริการแรกหนวยบริการเดียว นับจํานวนคน

จากเลขประจําตัว 13 หลัก ตัด CID error

สูตรการคํานวณ

ตัวช้ีวัด

(A/B) x 100

ระยะเวลา

ประเมินผล

ปละ 1 ครั้ง

Baseline OPPP individual จาก QOF ป 2560 = 53.80 %

เกณฑการให

คะแนน

คะแนน คาคะแนน

5 มากกวารอยละ 85.00

4 ตั้งแตรอยละ 78.76 - 85.00

3 ตั้งแตรอยละ 72.51 - 78.75

2 ตั้งแตรอยละ 66.26 - 72.50

1 ตั้งแตรอยละ 60.00 - 66.25

0 นอยกวารอยละ 60

Page 12: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

12

ช่ือตัวช้ีวัด 4. รอยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี 30-60 ป ภายใน 5 ป

วัตถุประสงค เพ่ือประเมินความครอบคลุม/การเขาถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของหญิงไทยสัญชาติไทย (ท่ี

บัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ท่ีมีอายุ 30-60 ป

1 กลุมเปาหมาย หมายถึง สตรีสัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ี

รับผิดชอบ (TYPE AREA เปน1,3) ท่ีมีอายุ 30-60 ป (เกิดในชวง 1 เมษายน 2500 ถึง 31 มีนาคม 2530 )

และไดรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในชวง 1 เมษายน 25567 - 31 มีนาคม 2561 ในเขตรับผิดชอบ

การตรวจปากมดลูก หมายถึง การตรวจท้ังโดยวิธี Pap Smear และ VIA

Pap Smear หมายถึง การตรวจโดยการเก็บหรือปายเอาเซลลจากปากมดลูกไปปายลงบนแผนสไลด ทํา

การยอมสีและอานผล โดยบุคลากรเซลลวิทยา

VIA (Visual Inspection with Acetic acid) หมายถึง วิธีคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยใชน้ําสมสายชู

ชนิดเจือจางปายท่ีบริเวณปากมดลูก ท้ิงไว 1 นาที น้ําสมสายชูจะไปทําปฏิกิริยากับเนื้อเยื่อท่ีผิดปกติของปาก

มดลูกใหเห็นเปนฝาขาวขอบเขตชัดเจน และตําแหนงแนนอน สามารถมองเห็นดวยตาเปลา ซ่ึงไมได

หมายความวาเปนมะเร็ง แตถาปลอยไวไมไดรับการรักษาอาจกลายเปนมะเร็งไดซ่ึงเหมาะสําหรับในการคัด

กรองสําหรับสตรีอายุ 30-45ป

เกณฑเปาหมาย ไมนอยกวารอยละ 80

ประชากร

กลุมเปาหมาย

สตรี สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ (TYPE AREA เปน

1,3) อายุ 30-60 ป

แหลงขอมูล 1) ขอมูล 21/43 แฟม (แฟม DIAGNOSIS_OPD รหัส Z014 หรือ Z124) หรือ SPECIAL PP รหัส 1B30

หรือ 1B40 หรือ 1B004

2) ฐานขอมูลประชากรไทยทุกสิทธิ

รายการขอมูล 1 A= จํานวนสตรี สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ (TYPE

AREA เปน1,3) อายุ 30-60 ป ท่ีไดรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกรายใหมสะสม ตั้งแต 1 เมษายน 25567 -

31 มีนาคม 2561 จัดกลุมตามหนวยลงทะเบียน

เง่ือนไขรายการ

ขอมูล 1

จํานวนหญิงไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ (TYPE

AREA เปน1,3) (ท่ีเกิดในชวง 1 เมษายน 2500 ถึง 31 มีนาคม 2530 ) ในแตละหนวยลงทะเบียนท่ีมี PID

อยูในแฟม SPECIAL PP รหัส 1B30 หรือ 1B40 หรือ 1B004 และ PID ท่ีอยูใน DIAGNOSIS_OPD ท่ีมี

รหัส DIAGCODE = Z014, Z124 ตั้งแตป 1 เมษายน 2557 - 31 มีนาคม 2561 แลวนํามาแจงนับ

รวมกันโดยตัด PID ท่ีซํ้าของ 3 ฐานออก แลวตัดผูท่ีเสียชีวิตกอนการคัดกรอง รวมท้ัง PID error ท้ังหมด

กอนจําแนกตามหนวยลงทะเบียน

รายการขอมูล 2 B = จํานวนหญิงไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

(TYPE AREA เปน1,3) ท่ีเกิดในชวง 1 เมษายน 2500 ถึง 31 มีนาคม 2530 จัดกลุมตามหนวยลงทะเบียน

Page 13: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

13

ช่ือตัวช้ีวัด 4. รอยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี 30-60 ป ภายใน 5 ป

เง่ือนไขรายการ

ขอมูล 2

จํานวนหญิงไทย สัญชาติไทย (ท่ีบัตรประชาชนไมข้ึนตนดวย 0,6,7,9) ท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ (TYPE

AREA เปน1,3) ท่ีเกิดในชวง 1 เมษายน 2500 ถึง 31 มีนาคม 2530 ในแตละหนวยลงทะเบียน

สูตรการคํานวณ (A/B) X 100

ระยะเวลา

ประเมินผล

ปละ 1 ครั้ง

Baseline

1) ผลการสํารวจ BRFSS 2558 =69%

2) OPPP Individual ป QOF 2560= 39.85%

เกณฑการให

คะแนน

คะแนน คาคะแนน

5 มากกวารอยละ 80.00

4 ตั้งแตรอยละ 70.01- 80.00

3 ตั้งแตรอยละ 60.01- 70.00

2 ตั้งแตรอยละ 50.01 - 60.00

1 ตั้งแตรอยละ 40.00 - 50.00

0 นอยกวารอยละ 40.00

Page 14: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

14

ช่ือตัวช้ีวัด 5 รอยละการใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบในผูปวยนอก

5.1 รอยละการใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบในผูปวยนอกโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน (Acute

Diarrhea)

5.2 รอยละการใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบในผูปวยนอกโรคติดเช้ือระบบทางเดินหายใจ

(Respiratory Infection)

ตัวช้ีวัดยอยท่ี 5.1 รอยละการใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบในผูปวยนอกโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea)

วัตถุประสงค เพ่ือลดการใชยาปฏิชีวนะท่ีไมจําเปนในผูปวยนอกโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน

คํานิยาม

1) โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน Acute Diarrhea (AD) หมายถึง ภาวะท่ีมีอุจจาระเหลวกวาปกติ >3 ครั้ง

ตอวัน โดยมีอาการไมนานกวา 2 สัปดาห โรคอุจจาระรวงเฉียบพลันอาจเกิดจากสารพิษของเชื้อโรค เชื้อโรค

และสาเหตุอ่ืนๆ ผูปวยอุจจาระรวงเฉียบพลันสวนมากไมจําเปนตองใชยาปฏิชีวนะในการรักษา ระบุโรคตาม

ICD-10 ท่ีกําหนด ดังนี้

"A000, A001, A009, A020, A030, A031, A032, A033, A038, A039, A040, A041, A042, A043,

A044, A045, A046, A047, A048, A049, A050, A053, A054, A059, A080, A081, A082, A083,

A084, A085, A09, A090, A099, K521, K528, K529 "

2) ยาปฏิชีวนะ หมายถึง ยากลุม ATC 01

3) ประเด็นการใชยาปฏิชีวนะอยางไมรับผิดชอบใน Acute Diarrhea :ผูปวยนอกโรคอุจจาระรวง

เฉียบพลันท่ีรับบริการท่ีรานยา คลินิก และโรงพยาบาลไดรับยาปฏิชีวนะตั้งแตรอยละ 10 ถึงมากกวารอยละ

90 (อัตราการใชยาปฏิชีวนะโดยเฉลี่ยในโรงพยาบาลรอยละ 50) ท้ังๆ ท่ีหลักฐานเชิงวิชาการระบุวาโรค

ดังกลาวในภาพรวมเกิดจากเชื้อแบคทีเรียท่ีตองการยาปฏิชีวนะนอยกวารอยละ 5 และการใชยาปฏิชีวนะ

กลุม fluoroquinolones รักษาโรคกลุมนี้โดยไมจําเปน ชักนําใหเกิดการดื้อยากลุม fluoroquinolones

และยากลุมอ่ืนดวย (เชน ยากลุม cephalosporins)

ประชากร

กลุมเปาหมาย

ผูปวยทุกสิทธิ ในความรับผิดชอบของเครือขายหนวยบริการสุขภาพ (CUP)

วิธีการจัดเก็บ

ขอมูล

หนวยบริการบันทึกขอมูลการใหบริการผูปวยนอกผานระบบ OP/PP Individual Data

แหลงขอมูล ฐานขอมูล OP/PP Individual Data ของ สปสช.

Page 15: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

15

รายการขอมูล 1 A: จํานวนใบสั่งยาผูปวยอุจจาระรวงเฉียบพลันท่ีไดรับยาปฏิชีวนะ

เง่ือนไขรายการ

ขอมูล 1

นับจํานวนครั้งของผูปวยท่ีมีการใหบริการกรณีผูปวยนอกดวยโรคหลัก (pdx) ตามรหัส ICD10 และ มีการให

ยาปฏิชีวนะ

"A000, A001, A009, A020, A030, A031, A032, A033, A038, A039, A040, A041, A042, A043,

A044, A045, A046, A047, A048, A049, A050, A053, A054, A059, A080, A081, A082, A083,

A084, A085, A09, A090, A099, K521, K528, K529 "

รายการขอมูล 2 B: จํานวนใบสั่งยาผูปวยอุจจาระรวงเฉียบพลันท้ังหมด

เง่ือนไขรายการ

ขอมูล 2

นับจํานวนครั้งของผูปวยท่ีมีการใหบริการกรณีผูปวยนอกดวยโรคหลัก (pdx) ตามรหัส ICD10

"A000, A001, A009, A020, A030, A031, A032, A033, A038, A039, A040, A041, A042, A043,

A044, A045, A046, A047, A048, A049, A050, A053, A054, A059, A080, A081, A082, A083,

A084, A085, A09, A090, A099, K521, K528, K529 "

สูตรการคํานวณ

ตัวช้ีวัดยอยท่ี 5.1

(A/B) x 100

ระยะเวลา

ประเมินผล

รอบ 12 เดือน (เชน 1 เมษายน 60 – 31 มีนาคม 61)

เกณฑเปาหมาย

สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ใชการประมวลผลขอมูลท่ีหนวยบริการนําสงในระบบขอมูลการ

ใหบริการผูปวยนอก ขอมูลการใหบริการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรครายบุคล (OP/PP Individual

Data) โดยมีเกณฑการประเมิน และเกณฑการใหคะแนน แบงเปน 6 ระดับ

คะแนน คาคะแนน

5 นอยกวารอยละ 20.00

4 ตั้งแตรอยละ 20.00 - 25.00

3 ตั้งแตรอยละ 25.01 - 30.00

2 ตั้งแตรอยละ 30.01 - 35.00

1 ตั้งแตรอยละ 35.01- 40.00

0 มากกวารอยละ 40.00

Page 16: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

16

ตัวช้ีวัดยอยท่ี 5.2 วัตถุประสงค เพ่ือลดการใชยาปฏิชีวนะท่ีไมจําเปนในผูปวยนอกโรคติดเช้ือระบบทางเดินหายใจ

Respiratory Infection (RI)

คํานิยาม

1) Respiratory Infection (RI) หมายถึง โรคติดเชื้อท่ีระบบการหายใจชวงบน(upper respiratory

tract infections, URI) และหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน(acute bronchitis) ในผูปวยนอก ซ่ึงโรคเหลานี้

สวนมากไมไดเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โรคเหลานี้ไดแก โรคหวัด ไขหวัดใหญ คอหอยอักเสบ/ตอมทอนซิล

อักเสบเฉียบพลัน ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ระบุโรค

ตาม ICD-10 ท่ีกําหนด ดังนี้ " B053,J00, J010, J011, J012, J013, J014, J018, J019, J020, J029,

J030, J038, J039, J040, J041, J042, J050, J051, J060, J068, J069, J101, J111, J200, J201, J202,

J203, J204, J205, J206, J207, J208, J209, J210, J218, J219, H650, H651, H659, H660, H664,

H669, H670, H671, H678, H720, H721, H722, H728, H729"

2) ยาปฏิชีวนะ หมายถึง ยากลุม ATC 01

3) ประเด็นการใชยาปฏิชีวนะอยางไมรับผิดชอบใน Respiratory Infection : ผูปวยนอกโรคติดเชื้อท่ี

ระบบการหายใจชวงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันท่ีรับบริการท่ีรานยา คลินิก และโรงพยาบาลไดรับยา

ปฏิชีวนะตั้งแตรอยละ 10 ถึงมากกวารอยละ 90 (อัตราการใชยาปฏิชีวนะเฉลี่ยของโรงพยาบาลรอยละ 60)

ท้ังๆ ท่ีหลักฐานเชิงวิชาการระบุวาโรคดังกลาวในภาพรวมเกิดจากเชื้อแบคทีเรียนอยกวารอยละ 10 และการ

ใชยาปฏิชีวนะในผูปวยโรคดังกลาวท่ีไมไดเกิดจากเชื้อแบคทีเรียไมมีประโยชน ทําใหเกิดโทษจากผลขางเคียง

ของยา กอใหเกิดปญหาเชื้อดื้อยา และเสียคาใชจายโดยไมจําเปน

ประชากร

กลุมเปาหมาย

ผูปวยทุกสิทธิ ในความรับผิดชอบของเครือขายหนวยบริการสุขภาพ (CUP)

วิธีการจัดเก็บ

ขอมูล

หนวยบริการบันทึกขอมูลการใหบริการผูปวยนอกผานระบบ OP/PP Individual Data

แหลงขอมูล ฐานขอมูล OP/PP Individual Data ของ สปสช.

รายการขอมูล 1

A: จํานวนใบสั่งยาผูปวยโรคติดเชื้อท่ีระบบการหายใจชวงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ท่ีไดรับยา

ปฏิชีวนะ

เง่ือนไขรายการ

ขอมูล 1

นับจํานวนครั้งของผูปวยท่ีมีการใหบริการกรณีผูปวยนอกดวยโรคหลัก (pdx) ตามรหัส ICD10 และ มีการให

ยาปฏิชีวนะ

" B053,J00, J010, J011, J012, J013, J014, J018, J019, J020, J029, J030, J038, J039, J040, J041,

J042, J050, J051, J060, J068, J069, J101, J111, J200, J201, J202, J203, J204, J205, J206, J207,

J208, J209, J210, J218, J219, H650, H651, H659, H660, H664, H669, H670, H671, H678, H720,

H721, H722, H728, H729"

Page 17: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

17

รายการขอมูล 2 B: จํานวนใบสั่งยาผูปวยโรคติดเชื้อท่ีระบบการหายใจชวงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน

เง่ือนไขรายการ

ขอมูล 2

นับจํานวนครั้งของผูปวยท่ีมีการใหบริการกรณีผูปวยนอกดวยโรคหลัก (pdx) ตามรหัส ICD10

" B053,J00, J010, J011, J012, J013, J014, J018, J019, J020, J029, J030, J038, J039, J040, J041,

J042, J050, J051, J060, J068, J069, J101, J111, J200, J201, J202, J203, J204, J205, J206, J207,

J208, J209, J210, J218, J219, H650, H651, H659, H660, H664, H669, H670, H671, H678, H720,

H721, H722, H728, H729"

สูตรการคํานวณ

ตัวช้ีวัดยอยท่ี 5.2

(A/B)x100

ระยะเวลา

ประเมินผล

รอบ 12 เดือน (เชน 1 เมษายน 60 – 31 มีนาคม 61)

เกณฑเปาหมาย

สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ใชการประมวลผลขอมูลท่ีหนวยบริการนําสงในระบบขอมูลการ

ใหบริการผูปวยนอก ขอมูลการใหบริการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรครายบุคคล (OP/PP Individual

Data) โดยมีเกณฑการประเมิน และเกณฑการใหคะแนน แบงเปน 6 ระดับ

คะแนน คาคะแนน

5 นอยกวารอยละ 20.00

4 ตั้งแตรอยละ 20.00 - 25.00

3 ตั้งแตรอยละ 25.01 - 30.00

2 ตั้งแตรอยละ 30.01 - 35.00

1 ตั้งแตรอยละ 35.01- 40.00

0 มากกวารอยละ 40.00

ช่ือตัวช้ีวัด 6. การลดลงของอัตราการนอนโรงพยาบาลดวยภาวะท่ีควรควบคุมดวยบริการผูปวยนอก (ACSC:

ambulatory care sensitive condition) ในโรคลมชัก (epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด

(asthma) เบาหวาน (DM) และความดันโลหิตสูง (HT)

วัตถุประสงค การติดตามและประเมินสมรรถนะการใหบริการรักษาพยาบาลในระดับปฐมภูมิท่ีสามารถลดการเขานอนรักษา

ในโรงพยาบาลโดยไมจําเปน

Page 18: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

18

คํานิยาม ภาวะท่ีควรควบคุมดวยบริการผูปวยนอก (ACSC) การคัดเลือกขอมูลการนอนโรงพยาบาลดวย ACSC อางอิงจาก

การศึกษาของสุพล ลิมวัฒนานนท ในคูมือการวิเคราะหอัตราการนอนโรงพยาบาลของภาวะท่ีควรควบคุมดวย

บริการผูปวยนอก ซ่ึงใชฐานขอมูลผูปวยใน โดยพิจารณาจากการวินิจฉัยหลักโดยใชรหัส ICD-10 ดังตอไปนี้

1. ลมชัก (epilepsy) : G40 และ G41

2. ปอดอุดก้ันเรื้อรัง (COPD): J41-J44 และ J47 รวมท้ัง J10.0, J11.0,J12-J16, J18, J20, J21, J22 ท่ีมีการ

วินิจฉัยรองเปน J44

3. หืด (asthma): J45 และ J46

4. เบาหวาน (diabetes): E10.0, E10.1, E10.6, E10.9, E11.0, E11.1,E11.6, E11.9, E13.0, E13.1, E13.6, E13.9,

E14.0, E14.1, E14.6 และ E14.9

5. ความดันโลหิตสูง (HT): I10 และ I11 โดยไมมีการใหหัตถการดังตอไปนี้ 33.6, 35, 36, 37.3, 37.5, 37.7, 37.8,

37.94 และ 37.98

เกณฑ

เปาหมาย

คาเปาหมายภาพรวมประเทศ ลดลง ไมนอยกวา 6.58 ตอแสนประชากร

ประชากร

กลุมเปาหมาย

ผูปวย ACSC ในโรคลมชัก (epilepsy) ปอดอุดก้ันเรื้อรัง (COPD) หืด (asthma) เบาหวาน (DM) และความ

ดันโลหิตสูง (HT) สิทธิประกันสุขภาพถวนหนาในความรับผิดชอบของหนวยบริการประจํา

วิธีการจัดเก็บ

ขอมูล

หนวยบริการบันทึกขอมูลการใหบริการผูปวยใน ผานโปรแกรม e-Claim

แหลงขอมูล ฐานขอมูล IP e Claim

รายการขอมูล

1

A: จํานวนครั้งท่ีผูปวยสิทธิ UC อายุ 15-74 ป ท่ีลงทะเบียนของหนวยบริการประจํา (Hmain OP) เขารักษา

ในโรงพยาบาลในโรคลมชัก (epilepsy) ปอดอุดก้ันเรื้อรัง (COPD) หืด (asthma) เบาหวาน (DM) และความ

ดันโลหิตสูง (HT) ตามคํานิยาม

A1 = ขอมูล A ระหวาง 1 ตค.59 – 31 มีค.60

A2 = ขอมูล A ระหวาง 1 ตค.60 – 31 มีค.61

เง่ือนไข

รายการขอมูล

1

A: นับจํานวนครั้งของผูปวยสิทธิ UC อายุ 15-74 ป ท่ีลงทะเบียนของหนวยบริการประจํา (Hmain OP) ท่ีรับ

ไวรักษาเปนผูปวยใน (IP) ดวยโรค (pdx) ดังนี้

1. ลมชัก (epilepsy): G40 และ G41

2. ปอดอุดก้ันเรื้อรัง (COPD): J41-J44 และ J47 รวมท้ัง J10.0, J11.0,J12-J16, J18, J20, J21, J22 ท่ีมีการ

วินิจฉัยรองเปน J44

3. หืด (asthma): J45 และ J46

4. เบาหวาน (diabetes): E10.0, E10.1, E10.6, E10.9, E11.0, E11.1,E11.6, E11.9, E13.0, E13.1, E13.6,

E13.9, E14.0, E14.1, E14.6 และ E14.9

Page 19: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

19

5. ความดันโลหิตสูง (HT): I10 และ I11 โดยไมมีการใหหัตถการดังตอไปนี้ 33.6, 35, 36, 37.3, 37.5, 37.7,

37.8, 37.94 และ 37.98

จากฐาน IP e-claim (โดยแสดงผลจํานวนครั้งเปนรายกลุมโรค แตการคิดอัตราใชยอดรวมท้ัง 5 กลุมโรค)

A1 = ขอมูล A ระหวาง 1 ตค.59 – 31 มีค.60

A2 = ขอมูล A ระหวาง 1 ตค.60 – 31 มีค.61

รายการขอมูล

2

B1: จํานวนประชากรสิทธิ UC อายุ 15 - 74 ป ของหนวยบริการประจํา ณ 1 ม.ค.60

B2: จํานวนประชากรสิทธิ UC อายุ 15 - 74 ป ของหนวยบริการประจํา ณ 1 ม.ค.61

เง่ือนไข

รายการขอมูล

2

B1: จํานวนประชากรสิทธิ UC อายุ 15 - 74 ป ของหนวยบริการประจําท่ีรับลงทะเบียน (Hmain_op) โดยใช

ประชากร ณ 1 ม.ค.60

B2: จํานวนประชากรสิทธิ UC อายุ 15 - 74 ป ของหนวยบริการประจําท่ีรับลงทะเบียน (Hmain_op) โดยใช

ประชากร ณ 1 ม.ค.61

สูตรการ

คํานวณ

ตัวช้ีวัด

X1 = อัตราการนอนรพ.ดวย ACSC ตอแสนประชากร 1 ตค.59 - 31มีค.60 = (A1/B1)x100,000

X2 = อัตราการนอนรพ.ดวย ACSC ตอแสนประชากร 1 ตค.60 - 31มีค.61 = (A2/B2)x100,000

Y = อัตราลดลง = X2-X1

ระยะเวลา

ประเมินผล

2 ครั้ง (แบบสะสม)

ผูประสานการ

งานตัวช้ีวัด

นางสาวสาหราย เรืองเดช สํานักสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิ โทร 090-197-5286, email:

[email protected]

Baseline ผลงาน QOF ป 2560 ภาพรวมประเทศ ลดลง 1.87 ตอแสนประชากร

เกณฑการให

คะแนน

คะแนน คาคะแนน

5 อัตราลดลงตั้งแต 15.01 /แสนปชก. ข้ึนไป

4 อัตราลดลงตั้งแต 10.01 - 15.00 /แสนปชก.

3 อัตราลดลงตั้งแต 5.01 - 10.00 /แสนปชก.

2 อัตราลดลงตั้งแต 0 - 5.00 /แสนปชก.

1 อัตราลดลง=0 /แสนปชก. (ไมลดลง)

0 อัตราเพ่ิมข้ึน

Page 20: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

20

ช่ือตัวช้ีวัด

รอยละเด็ก 0 - 5 ปท่ีพบพัฒนาการสงสัยลาชาในครั้งแรกไดรับการติดตามกระตุนพัฒนาการใน เวลา 30

วัน ไมนอยกวารอยละ 90

1. รอยละ ของเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ

2. รอยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ไดรับการประเมินพัฒนาการ และพบเด็กสงสัยลาชา

3. รอยละของเด็กพัฒนาการสงสัยลาชา ไดรับการกระตุน และติดตามภายใน 30 วัน

วัตถุประสงค เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ ความความคลุมในการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย และการติดตามพัฒนาเด็ก

สงสัยลาชา

คํานิยาม 1.เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือนพัฒนาการสงสัยลาชา หมายถึง เด็กท่ีอยูในเขตรับผิดชอบของหนวย

บริการ สาธารณสุขจากการสํารวจเด็กท่ีมีอยูจริงในชวงเวลาท่ีกําหนด โดยเด็กกลุมเปาหมายจะตองมีวันท่ีวัน

แรกท่ีอายุแตะ 9,18,30,42 เดือน ในเดือนนั้นๆ ไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ปละ 1 ครั้ง และตรวจ

พบวา พัฒนาการไมผานเกณฑดานใดดานหนึ่ง

2. เด็กท่ีมีพัฒนาการสงสัยลาชาไดรับการกระตุนพัฒนาการ หมายถึง เด็กกลุมเปาหมายท่ีไดรับการประเมิน

พัฒนาการครั้งแรก แลวพบวาพัฒนาการสงสัยลาชา ไดแนะนําพอแม หรือผูปกครอง กระตุนพัฒนาการท่ีบาน

ภายใน 30 วัน นัดพบเจาหนาท่ีเพ่ือประเมินพัฒนาการชา

3. เด็กมีพัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กท่ีไดรับการประเมินพัฒนาการดวย DSPM และผาน พัฒนาการท้ัง 5

ดาน รวมกับเด็กท่ีพบพัฒนาการสงสัยลาชา(ครั้งแรกท่ีประเมิน )และไดรับ การติดตามกระตุนพัฒนาการ และ

ไดรับการประเมินซํ้าภายในเวลา 30 วัน โดยผลผานการประเมินท้ัง 5 ดาน

ประชากร

กลุมเปาหมาย

1. จํานวนประชากรไทย ท่ีเด็กอายุครบ 9, 18 , 30 และ 42 เดือนในเดือนนั้นๆ ท้ังหมดในเขต

รับผิดชอบท่ีไดจากการสํารวจและมีเด็กอยูจริง (เด็กในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ type Area1,3)

2. จํานวนประชากรไทย ท่ีเด็กอายุครบ 9, 18 , 30 และ 42 เดือนในเดือนนั้นๆ ท่ีไดรับการตรวจคัด

กรองพัฒนาการ

3. จํานวนประชากรไทย ท่ีเด็กอายุครบ 9, 18 , 30 และ 42 เดือนในเดือนนั้นๆ ท่ีไดรับการตรวจคัด

กรองพัฒนาการ และตรวจพบวาพัฒนาการสงสัยลาชา

แหลงขอมูล 1. ฐานขอมูลประชากรไทยทุกสิทธิ์

2. ฐานขอมูล แฟม Special PP ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก

รายการขอมูล

1

A1=จํานวนประชากรไทย ท่ีเด็กอายุครบ 9, 18 , 30 และ 42 เดือนในเดือนนั้นๆ ท้ังหมดในเขตรับผิดชอบท่ี

ไดจากการสํารวจและมีเด็กอยูจริง (เด็กในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ type Area1,3)

A2=จํานวนประชากรไทย ท่ีเด็กอายุครบ 9, 18 , 30 และ 42 เดือนในเดือนนั้นๆ ท่ีไดรับการตรวจคัดกรอง

พัฒนาการ

Page 21: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

21

A3=จํานวนประชากรไทย ท่ีเด็กอายุครบ 9, 18 , 30 และ 42 เดือนในเดือนนั้นๆ ท่ีไดรับการตรวจคัดกรอง

พัฒนาการ และตรวจพบวาพัฒนาการสงสัยลาชา

เง่ือนไข

รายการขอมูล

1. เปาหมายในแตละเดือน คือ เด็กท่ีวันท่ีวันแรกท่ีอายุแตะ 9,18,30,42 เดือน ในเดือนนั้นๆ

การคัดกรองเด็กแตละชวงอายุ จะมีเวลาท่ีทําได คือ ภายใน 30 วันหลังจากเด็กอายุแตะ 9,18,30,42

เดือน เชน เด็กอายุครบ 18 เดือนพอดีในวันท่ี 10 กค .ทานคัดกรองเด็กไดตั้งแตวันท่ี 10 กค .ถึงวันท่ี 9 สค.

เทานั้น หากเกินจากนี้เด็กจะอายุ 19 เดือนเต็ม ซ่ึงไมใชเปาหมายการคัดกรอง

2.ผลงานระบบจะติดตามไปตรวจสอบให 30 วันหลังจาก วันท่ีเด็กอายุแตะ 9,18,30,42 เดือน แลวนําผลมาใส

ในเดือนท่ีเปนเปาหมาย ถึงแมจะคนละเดือนกัน

รายการขอมูล

2

B1 =จํานวนประชากรไทย ท่ีเด็กอายุครบ 9, 18 , 30 และ 42 เดือนในเดือนนั้นๆ ท่ีไดรับการตรวจคัดกรอง

พัฒนาการ

B2=จํานวนประชากรไทย ท่ีเด็กอายุครบ 9, 18 , 30 และ 42 เดือนในเดือนนั้นๆ ท่ีไดรับการตรวจคัดกรอง

พัฒนาการ และตรวจพบวาพัฒนาการสงสัยลาชา

B3= จํานวนประชากรไทย ท่ีเด็กอายุครบ 9, 18 , 30 และ 42 เดือนในเดือนนั้นๆ ท่ี ตรวจพบวาพัฒนาการ

สงสัยลาชา แลวไดรับการติดตามภายใน 30 วัน

สูตรการ

คํานวณ

ตัวช้ีวัด

ตัวชี้วัด 1) = ( B1/A1 ) x 100

ตัวชี้วัด 2) = ( B2/A2 ) x 100

ตัวชี้วัด 3) = ( B3/A3 ) x 100

เวลา

ประเมินผล

ปละครั้ง

ผูประสานงาน

ตัวช้ีวัด

1.นางพิมภาวรรณ เขยะตา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดลําพูน โทร 081 8855044 Email: [email protected]

2. ทีม CIO เขตสุขภาพท่ี 1

เกณฑการให

คะแนน

ตัวชี้วัดท่ี 1 รอยละเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ

คะแนน คาคะแนน

5 มากกวารอยละ 95.00

4 ตั้งแตรอยละ 88.76 - 95.00

3 ตั้งแตรอยละ 82.51- 88.75

2 ตั้งแตรอยละ 76.26 - 82.50

1 ตั้งแตรอยละ 70.00 - 76.25

0 นอยกวารอยละ 70.00

Page 22: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

22

ตัวชี้วัดท่ี 2 รอยละเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ และพบเด็กสงสัยลาชา

ตัวชี้วัดท่ี 3 รอยละเด็กพัฒนาการสงสัยลาชา ไดรับการกระตุน และติดตามภายใน 30 วัน

คะแนน คาคะแนน

5 มากกวารอยละ 90.00

4 มากกวารอยละ 82.51 - 90.00

3 มากกวารอยละ 75.01 - 82.50

2 มากกวารอยละ 67.51 - 75.00

1 ตั้งแตรอยละ 60.00 - 67.50

0 นอยกวารอยละ 60.00

คะแนน คาคะแนน

5 มากกวารอยละ 27.00

4 ตั้งแตรอยละ 24.01 - 27.00

3 ตั้งแตรอยละ 21.01 - 24.00

2 ตั้งแตรอยละ 18.01 - 21.00

1 ตั้งแตรอยละ 15.00 - 18.00

0 นอยกวารอยละ 15.00

Page 23: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

23

ช่ือตัวช้ีวัด รอยละการติดตาม เย่ียมในกลุมเปาหมายผูสูงอายุ เขตสุขภาพท่ี 1

1. รอยละผูสูงอายุไดรับการประเมิน ADL ตามเกณฑ

2. รอยละผูสูงอายุ ติดบาน ติดเตียง ไดรับการเย่ียมบาน

คํานิยาม การติดตามเยี่ยมบาน หมายถึง การติดตามเยี่ยมผูสูงอายุท่ีติดบาน ติดเตียงโดยเจาหนาท่ีสาธารณสุขและ

ทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยมีการบันทึกการเยี่ยมบานลงในฐานขอมูล 43 แฟม

กลุมเปาหมายผูสูงอายุ หมายถึง ผูสูงอายุ (60 ป ข้ึนไป เกิดกอนวันท่ี 1 มกราคม 2501 ) ในกลุมติดบาน ติด

เตียง ตามผลการประเมิน ADL กลุมท่ี 2 และ 3 โดยประเมินสุขภาพตามเกณฑ ไดคาคะแนน Bathel ADL

Index 0-4 คะแนน และ 5-11 คะแนน ท่ีตองไดรับการดูแลตอเนื่องตามเกณฑมาตรฐาน

เกณฑ

เปาหมาย

ใชการประมวลผลงาน ขอมูลท่ีหนวยบริการนําสงในระบบขอมูล 43 แฟม ตามเง่ือนไข

เกณฑการประเมิน และใหคะแนนตามระดับผลงาน ดังนี้

สวนท่ี 1 กลุมเปาหมายผูสูงอายุท่ีไดรับการตรวจคัดกรอง ประเมินสุขภาพตามเกณฑ น้ําหนัก 60

สวนท่ี 2 กลุมเปาหมายผูสูงอายุติดบาน ติดเตียงไดรับการติดตามเยี่ยมตามเกณฑท่ีกําหนด น้ําหนัก 40

ประชากร /

กลุมเปาหมาย

สวนท่ี 1 ประชากรคนไทยทุกสิทธิ ท่ีมีอายุ 60 ปข้ึนไป จําแนกตามเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ )typearea =1, 3 (

สวนท่ี 2 ประชากรคนไทยทุกสิทธิ ท่ีมีอายุ 60 ปข้ึนไป จําแนกตามเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ )typearea =1, 3 (

ไดรับการประเมินสุขภาพตามเกณฑ (Bathel ADL Index) ไดคาคะแนน 0-11

แหลงขอมูล ฐานขอมูล HDC )43 แฟม

1. แฟม community_service,

2. แฟม specialpp

3. แฟม person

การประเมินผล 1.กลุมผูสูงอายุ 60 ปข้ึนไป ท่ีไดรับการตรวจคัดกรอง ประเมินสุขภาพตามเกณฑ

เปาหมาย : กลุมประชากรคนไทยทุกสิทธิ ท่ีมีอายุ 60 ปข้ึนไป จําแนกตามเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ) typearea =

1, 3(

ผลงาน : กลุมประชากรคนไทยทุกสิทธิ ท่ีมีอายุ 60 ปข้ึนไป จําแนกตามเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ )typearea =1,

3( ท่ีไดรับการประเมินสุขภาพตามเกณฑ (Bathel ADL Index) และบันทึกลงในแฟม SpecialPP :

ADL 1 ติดสังคม ) 1B1280 (, ADL 2 ติดบาน )1B1281 (, ADL 3 ติดเตียง )1B1282(

Page 24: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

24

2. กลุมเปาหมายผูสูงอายุติดบาน ติดเตียงไดรับการติดตามเย่ียมตามเกณฑท่ีกําหนด

เปาหมาย กลุมประชากรคนไทยทุกสิทธิ ท่ีมีอายุ 60 ปข้ึนไป จําแนกตามเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ )typearea =1,

3( ท่ีไดรับการประเมินสุขภาพตามเกณฑ (Bathel ADL Index) ไดรับการประเมินสุขภาพตามเกณฑ(Bathel

ADL Index) อยูในกลุมติดบาน ติดเตียง โดยบันทึกลงในแฟม SpecialPP :ADL 2 ติดบาน )1B1281 (ADL

3 ติดเตียง )1B1282(

ผลงาน กลุมประชากรคนไทยทุกสิทธิ ท่ีมีอายุ 60 ปข้ึนไป จําแนกตามเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ )typearea =1, 3(

ท่ีไดรับการประเมินสุขภาพตามเกณฑ (Bathel ADL Index) ไดรับการประเมินสุขภาพตามเกณฑ(Bathel

ADL Index) อยูในกลุมติดบาน ติดเตียง โดยบันทึกลงในแฟม SpecialPP :ADL 2 ติดบาน )1B1281 (ADL

3 ติดเตียง )1B1282( และไดรับการเยี่ยม

โดยบันทึกในแฟม community_service รหัส 1A 430 (เยี่ยมผูสูงอายุท่ีอยูเพียงลําพัง) รหัส 1A 431 (เยี่ยม

ผูสูงอายุท่ีไมอยูเพียงลําพัง) รหัส 1A 439 (เยี่ยมผูสูงอายุ ไมระบุรายละเอียด)

วิธีคํานวณ คํานวณเพ่ือจัดสรรตามจํานวนกลุมเปาหมาย ใหคะแนนตามท่ีกําหนดไวแตละระดับ

สวนท่ี 1 รอยละของผูสูงอายุ (60 ปข้ึนไป) ไดรับการตรวจคัดกรอง ประเมินสุขภาพตามเกณฑ =

(A/B) X100

A = จํานวนผูสูงอายุ (60 ปข้ึนไป)ไดรับการตรวจคัดกรอง ประเมินสุขภาพตามเกณฑ (Bathel ADL Index)

มีการบันทึกลงในโปรแกรมท่ีกําหนด

B = จํานวนผูสูงอายุ (60 ปข้ึนไป)

สวนท่ี 2 รอยละผูสูงอายุ (60 ปข้ึนไป)ไดรับการตรวจคัดกรอง ประเมินสุขภาพตามเกณฑ ติดบานติด

เตียง ไดรับการติดตามเย่ียม = (A/B)X100

A = จํานวนผูสูงอายุ (60 ปข้ึนไป)ไดรับการตรวจคัดกรองประเมินสุขภาพตามเกณฑ ติดบานติดเตียงไดรับการ

เยี่ยมผูปวยท่ีบานโดยเจาหนาท่ีสาธารณสุขและทีมสหสาขาวิชาชีพและมีการบันทึกลงในโปรแกรมท่ีกําหนด

B = จํานวนผูสูงอายุ (60 ปข้ึนไป)ไดรับการตรวจคัดกรอง ประเมินสุขภาพตามเกณฑ ติดบานติดเตียง

ระยะเวลาการ

ประมวลผล

ปละ 1 ครั้ง 1 เมษายน 2560 – 30 มีนาคม 2561

ผูประสานงาน นพ .ศุภชัย บุญอําพันธ นายแพทยเชี่ยวชาญดานเวชกรรมปองกัน สสจ .แพร

นายเชาวลิต ทองอินทร นักวิชาการสาธารสุขชํานาญการ สสจ .แพร

นายประยูร บุญนิธิพันธุ นักวิชาการสาธารสุขชํานาญการ สสจ .แพร

Page 25: 2561 1.chors.org/index.php/information/Viewpdf?id=2018-06-06-09-58-46... · 1 . แนวทางการบริหารจัดการค าใช จ ายตามเกณฑ

25

เกณฑการให

คะแนน

1. รอยละผูสูงอายุไดรับการประเมิน ADL ตามเกณฑ

คะแนน คาคะแนน

5 มากกวารอยละ 95.00

4 ตั้งแตรอยละ 88.76 - 95.00

3 ตั้งแตรอยละ 82.51- 88.75

2 ตั้งแตรอยละ 76.26 - 82.50

1 ตั้งแตรอยละ 70.00 - 76.25

0 นอยกวารอยละ 70.00

2. รอยละผูสูงอายุ ติดบาน ติดเตียง ไดรับการเยี่ยมบาน

คะแนน คาคะแนน

5 มากกวารอยละ 90.00

4 ตั้งแตรอยละ 77.51 - 90.00

3 ตั้งแตรอยละ 65.01 - 77.50

2 ตั้งแตรอยละ 52.51 - 65.00

1 ตั้งแตรอยละ 40.00 - 52.50

0 นอยกวารอยละ 40.00