Top Banner
ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพร ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพร นาย โชติวัฒน์ บุญสรรค์ นาย โชติวัฒน์ บุญสรรค์ รหัส รหัส 49015056 49015056
47

ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

Jul 06, 2015

Download

Documents

chotiwat
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรนาย โชติวัฒน์ บุญสรรค์นาย โชติวัฒน์ บุญสรรค์

รหัส รหัส 4901505649015056

Page 2: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

องค์ประกอบของโครงการองค์ประกอบของโครงการ

- สถาบันวิจัยและพัฒนา

- ห้องlab ค้นคว้าวิจัย

- ห้องตรวจสอบควบคุมคุณภาพ

- ห้องทํางาน

- ส่วนโรงงานผลิต - อาคารเตรียมสารสกัด

- พืนทีผลิตปละบรรจุสารสกัด

- คลังสินค้า

- ส่วนส่งเสริม - โรงอาหาร

- ห้องเปลียนเสือผ้า

- ห้องเครือง

- ทีจอดรถ

- ห้องนํ า

- พืนทีนิศทรรศการ

- ห้องประชุมสัมนา

- ส่วนบริหาร

- ห้องผู ้บริหารโครงการ

- ห้องรองผู ้บริการโครงการ

- ห้องทํางานพนักงาน

- ส่วนรักษาความปลอดภัย

Page 3: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ผู้ใช้สอยโครงการผู้ใช้สอยโครงการ

- ผู ้บริหาร

- เจ้าหน้าทีธุรการ

- นักวิจัย

- นักวิทยาศาสตร์

- ผู ้ช่วยนักวิทยาศาสตร์

- พนักงานชํานาญงาน

- พนักงานทั วไป

- ลูกจ้างตามสัญญาจ้าง

- พนักงานทําความสะอาด

Page 4: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ตารางเวลาปฎิบัติงานของเจ้าหน้าทีตารางเวลาปฎิบัติงานของเจ้าหน้าที

- ผู ้บริหาร

- เจ้าหน้าทีธุรการ

- นักวิจัย

- นักวิทยาศาสตร์

- ผู ้ช่วยนักวิทยาศาสตร์

- พนักงานชํานาญงาน

- ลูกจ้างตามสัญญาจ้าง

- พนักงานทําความสะอาด

Page 5: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

การดําเนินการและหน้าทีผู้รับผิดชอบส่วนบุคคลการดําเนินการและหน้าทีผู้รับผิดชอบส่วนบุคคล

สถาบันวิจัยและพัฒนา

ผู ้อ ํานวยการสถาบัน

(นักบริหาร 10) รองผู้อ ํานวยการสถาบัน

(นักบริหาร 9)

กลุ่มสนับสนุนงานวิจัย

(นักวิจัย 7)

กลุ่มวิจัยและพัฒนาเภสัชกรรม

(นักวิจัย 7)

กลุ่มวิจัยเภสัชเคมีภัณฑ์

(นักวิจัย 8)

กลุ่มวิจัยมาตรฐานสมุนไพร

(นักวิจัย 6)

กลุ่มควบคุมคุณภาพ

(นักวิจัย 5)

กลุ่มงานด้านธุรการ

(ผู้ช่วยงานบริหาร 6)

กลุ่มงานด้านบริหารวิชาการ

(นักวิจัย 6)

Page 6: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

1. ฝ่ายผลิต 1.1 ผู้จ ัดการโรงงาน

1.2 ผู้จ ัดการฝ่ายธุรกิจ

1.3 ผู้จ ักการฝ่ายบํารุงรักษา

1.4 ผู้จ ัดการฝ่ายวัสดุ

1.5 ผู้จ ัดการฝ่ายจัดซือ

1.6 ผู้จ ัดการฝ่ายรายการทรัพย์สิน

1.7 ผู้จ ัดการฝ่ายการวางแผน

1.8 ผู้จ ัดการฝ่ายตรวจสอบคุณภาพ

1.9 ผู้จ ัดการฝ่ายควบคุมคุณภาพ

2.0 ผู้จ ัดการฝ่ายการวิจัยและพัฒนา

2.1 ผู้จ ัดการฝ่ายวิศวกรรมและการออกแบบ

องค์ประกอบหลักของโครงการองค์ประกอบหลักของโครงการ

Page 7: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

องค์ประกอบหลักของโครงการองค์ประกอบหลักของโครงการ 2. สถาบันวิจัยและพัฒนา 2.1 สถาบันวิจัยและพัฒนาประกอบด้วย

2.2 กลุ่มสนับสนุนงานวิจัย

2.3 กลุ่มงานด้านบริหารวิชาการ

2.4 กลุ่มงานด้านธุรการ

2.5 กลุ่มวิจัยและพัฒนาเภสัชกรรม

2.6 กลุ่มวิจัยมาตรฐานสมุนไพร

Page 8: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

การวิเคราะห์ผู้ใช้สอยโครงการการวิเคราะห์ผู้ใช้สอยโครงการ ภายในโครงการประกอบด้วยผู ้ใช้สอย 2 ประเภทคือ เจ้าหน้าทีหรือพนักงานภายในโครงการและผู ้สนใจตาม

ลักษณะอาชีพของโครงการ เช่น นักเรียนจากโรงเรียนต่างๆ นักศึกษาคณะแพทย์ คณะเภสัชกรรม และคณะ

วิทยาศาสตร์ นักวิชาการจากสถาบันต่างๆ

1. การวิเคราะห์ประเภทผู ้ใช้อาคาร

1.1 ผู ้ เข้าชมนิทรรศการ คือ นักวิชาการ นักศึกษา

1.2 ผู ้ท ํางานภายในโครงการ คือเจ้าหน้าทีฝ่ายบริหาร ฝ่ายธุรการ ฝ่ายบริการ ฝ่ายวิจัย ฝ่ายบริหารโรงงาน

ฝ่ายผลิต ฝ่ายบํารุงรักษา ฝ่ายวัสดุ ฝ่ายรายการทรัพย์สิน ฝ่ายการวางแผน ฝ่ายตรวจสอบคุณภาพ ฝ่ายควบคุม

คุณภาพ

2. การวิเคราะห์พฤติกรรมผู ้ใช้ วิเคราะห์ตามลักษณะพฤติกรรมในแต่ละวันคือ

2.1 ผู ้ เข้าชมนิทรรศการ มีลักษณะพฤติกรรมตาม

2.1.1 พฤติกรรมหลัก ประกอบด้วย การมาติดต่อทีส่วนอํานวยการ ดูแผนทีทีบอร์ดรายชือสมุนไพร ชม

นิทรรศการและชมสวนสมุนไพร เวลาเปิดทําการ 10.00-16.00 น.

2.1.2 พฤติกรรมเสริม ประกอบด้วย ห้องจัดแสดงรายงานข้อมูลการวิเคราะห์ ประโยชน์ของสมุนไพรแต่

ละชนิด รวมทั งขั นตอนในการสกัดสมุนไพรแบบกราฟฟิก และแสดงรูปแบบการใช้สมุนไพรเพือนํามารักษาแบบง่าย

Page 9: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

2.2 เจ้าหน้าทีฝ่ายบริหารและธุรการ มีลักษณะพฤติกรรมตาม

2.2.1 พฤติกรรมหลัก ประกอบด้วย ทํางานเอกสาร ประชุม ประมวลผล วางแผน จัดหาพัสดุ ครุภัณฑ์

และเก็บอุปกรณ์เวลาทํางาน 08.00-16.00 น. พักเทียง 12.00-13.00 น.

2.2.2 พฤติกรรมเสริม ประกอบด้วย การจัดประชุม การอบรม

2.3 เจ้าหน้าทีฝ่ายวิจัย มีลักษณะพฤติกรรมตาม

2.3.1 พฤติกรรมหลัก ประกอบด้วย การเตรียมอุปกรณ์และเตรียมตัวอย่าง การปฏิบัติการวิจัยและทําความ

สะอาดจัดเก็บอุปกรณ์ เวลาทํางาน 08.00-16.00 น. พักเทียง 12.00-13.00 น.

2.3.2 พฤติกรรมเสริม ประกอบด้วย การทํารายงานข้อมูลการวิจัย และสรุปผลการวิจัย รวมทั งตรวจสอบ

คุณภาพของผลิตภัณฑ์จากโรงงานสารสกัด

2.4 หน่วยธุรกิจ มีลักษณะพฤติกรรมดังนี

2.4.1 พฤติกรรมหลัก ประกอบด้วย การเตรียมสมุนไพรและการสกัดสารสกัดสมุนไพร การบรรจุและเก็บ

สารสกัดสมุนไพร การตรวจมาตรฐานคุณภาพ เวลาทํางาน 08.00-16.00 น. พักเทียง 12.00-13.00 น.

2.4.2 พฤติกรรมเสริม ประกอบด้วย การตรวจความพร้อมของสภาพเครือง

Page 10: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ข้อมูลอ้างอิงข้อมูลอ้างอิง A = NEUFERT ARCHITECTS DATA , TIMEA = NEUFERT ARCHITECTS DATA , TIME--SAVER STANDARDSSAVER STANDARDS

B = B = สถาบันวิจัยและพัฒนาสถาบันวิจัยและพัฒนา

C = C = โครงการโรงงานผลติวัคซีนไข้หวัดใหญ่โครงการโรงงานผลติวัคซีนไข้หวัดใหญ่//ไข้หวัดนกไข้หวัดนก

D =D = กฏหมายอาคารกฏหมายอาคาร

การวิเคราะห์จ ํานวนผู ้ใช้โครงการการวิเคราะห์จ ํานวนผู ้ใช้โครงการ

Page 11: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

การวิเคราะห์จ ํานวนผู ้ใช้โครงการการวิเคราะห์จ ํานวนผู ้ใช้โครงการหน่วยงาน จํานวนคน พื นที

(ตารางเมตร)แหล่งอ้างอิง

1. สถาบันวิจัยและพัฒนา

ผู้อ ํานวยการสถาบัน 1 12 A

รองผู้อ ํานวยการและผู้ช่วย 3 36 A

กลุ่มงานธุรการ 3 36 A

กลุ่มงานด้านบริหารวิชาการ 2 24 A

Page 12: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

หน่วยงาน จํานวนคน พื นที(ตารางเมตร)

แหล่งอ้างอิง

2. กลุ่มงานวิจัย

2.1 กลุ่มวิจัยและพัฒนาเภสัชกรรม

GLASS WASHING 7 B

CAPSULE FILL 22.75 B

WET GRANULATION 19.5 B

GRIDING MIXING 19.5 B

WEIGHING 32.5 B

FREEZE DRY 18 B

STORE RAW MATERIAL 12.25 B

FILM COATING 20 B

TABLET 20 B

ห้องเปลียนเสือ 24 B

ห้องพนักงาน 65 B

รวม 195.5

Page 13: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

หน่วยงาน จํานวนคน พื นที(ตารางเมตร)

แหล่งอ้างอิง

2. 2 กลุ่มวิจัยเภสัชเคมีภัณฑ์ 25

MEDIA SOLUTION PREP. 19.5 B

DISSOLUTION 22.75 B

SPECTOR IR. 19.5 B

INSTRUMENTAL ANAL. 42.25 B

WEIGHING BALANCE 16 B

INSTRUMENT 28 B

STABILITY 14 B

REAGENT CHEMICAL 42.25 B

ห้องพนักงาน 42.25 B

ห้องเปลียนเสื อ 24 B

รวม 270.5

Page 14: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

หน่วยงาน จํานวนคน พื นที(ตารางเมตร)

แหล่งอ้างอิง

2. 3 กลุ่มวิจัยมาตรฐานสมุนไพร 6

MEDIA PREP. 78 B

STERILE 9 B

GLASS WASH 22.5 B

DARK RM. 9 B

CULTURE PREP. 23.25 B

COLD RM. 7.5 B

CULTURE ANALYSIS & INST 22.75 B

LF.HOOD CULTURE ANALYSIS & INST 22.75 B

STAFF 10.5 B

เก็บเอกสาร 19.5 B

ห้องเปลียนเสื อ 24 B

ห้องพนักงาน 16.5 B

รวม 265.25

Page 15: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

หน่วยงาน จํานวนคน พื นที(ตารางเมตร)

แหล่งอ้างอิง

2.4 กลุ่มควบคุมคุณภาพ 6

ห้องเก็บตัวอย่าง 12.5 B

ห้อง IDENTIFIED ตัวอย่าง 12.5 B

ห้องเก็บสารเคมี 32 B

ห้อง UTASONIC 25 B

ห้อง DISSOLUTION 27.5 B

ห้องเครืองมือวิทย์ฯขนาดเล็ก 22 B

ห้องเตรียมตัวอย่าง 32.5 B

ห้องเครืองชั ง 17.5 B

ห้องเก็บเอกสาร 27.5 B

ห้องเปลียนเสือผ้า 24 B

ห้องพักพนักงาน 16.5 B

รวม 249.5

Page 16: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ตําแหน่ง จํานวน

(คน)

พืนที

(ตารางเมตร)

แหล่ง

อ้างอิง

2.5 Business Unit (หน่วยธุรกิจ)

Plant Manager (ผู้จัดการฝ่ายโรงงาน) 1 12 C

Business Unit Manager (ผู้จัดการหน่วยธุรกิจ) 1 12 C

Manufacturing Manager (ผู้จัดการฝ่ายผลิต) 1 12 C

Non – Manufacturing Manager 1 12 C

Production Manager (ผู้จัดการฝ่ายผลิต) 1 12 C

Production Worker (งานผลิต) 23 C

ห้องเปลียนเสือ 24 C

Maintenance Manager (ผู้จัดการฝ่ายบํารุงรักษา) 1 12 C

Maintenance Staff (เจ้าหน้าทีฝ่ายบํารุงรักษา) 3 24 A

Material Manager (ผู้จัดการฝ่ายวัสด)ุ 1 12 C

Purchasing Manager 1 12 C

Purchasing Staff 2 16 A

Inventory Manager (ผู้จัดการฝ่ายรายการทรัพย์สิน) 1 12 C

Inventory Staff (เจ้าหน้าทีฝ่ายรายการทรัพย์สิน) 2 16 A

Page 17: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ตําแหน่ง จํานวน

(คน)

พืนที

(ตารางเมตร)

แหล่ง

อ้างอิง

Planning Manager (ผู้จัดการฝ่ายการวางแผน) 1 12 A

Planning Staff (เจ้าหน้าทีฝ่ายการวางแผน) 1 8 A

Quality Manager (ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบคุณภาพ) 1 12 A

Quality Control Staff (เจ้าหน้าทีฝ่ายควบคุมคุณภาพ) 1 8 A

Research & Development Manager 1 12 A

Research & Development Staff 1 8 A

Engineering & Design Manager 1 12 A

Engineering & Design Staff 2 16 A

Preparation Building 1,200 C

Production Building 1,800 C

Warehouse 200 C

Land Prepation & Access 1,000 C

Production Office Building 75 C

Utility For Plant 1,000 C

Transformer yard 15 C

รวม 6719.75

Page 18: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

การทําเลทีตังโครงการ

Page 19: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

อ.หนองใหญ่ จ.ชลบุรี

แยกบ้านบึง

ทางลัดไประยอง

Page 20: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

พืนทีขององค์การเภสัชกรรม

Page 21: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

MASTER PLAN ปริมาณนําโดยเฉลีย 5 ล้านลูกบาศก์เมตร

341,936 sqm

219,285 sqm

261,187 sqm

69,940 sqm

155,367 sqm

198,495 sqm

113,146 sqm

213.71 ไร่

137.05 ไร่

70.71 ไร่

Page 22: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

การเลือกทีตังโครงการ

BA C

DF

E

Page 23: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]
Page 24: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

A Center

ประกอบด้วย

- สํานักอํานวยการ

- สํานักบริหารยุทธศาสตร์

- ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

- ฝ่ายบัญชีและการเงิน

- ฝ่ายการตลาดและการขาย

- ฝ่ายประกันคุณภาพ

และฝ่ายผลิต;ฝ่ายบรรจุ;ฝ่ายสิงพิม เป็นต้น

B พืนทีพัฒนาเป็นทีอยู่อาศัยในอนาคต

C พืนทีเตรียมการพัฒนาส่วนขยายสําหรับกลุ่มโรงงานผลิตและบรรจุในอนาคต

D พืนทีเพาะปลูกสมุนไพร(อาจพัฒนาไปเป็นพืนทีของบริษัทร่วมทุนในอนาคต)

E พืนทีบริษัทร่วมทุน

วิเคราะห์พื นทีแต่ละจุดของโครงการวิเคราะห์พื นทีแต่ละจุดของโครงการ

Page 25: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ทีตังโครงการ SITE C

Page 26: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

การประมาณรายได้ของโครงการการประมาณรายได้ของโครงการ รายได้จากสารสกัดจากพริก

คุณลักษณะ (Specification) ของสารสกัดทีเหลือคือ Capsicum Oleoresin ทีมีปริมาณสาร Capsaicin 3%

ของนํ าหนัก oleoresin โดยองค์การเภสัชฯมีกําลังการผลิตสารสกัด 1 ตัน/วันมีการผลิต ผลิต 6 เดือน/ปีในส่วนนี พบว่าราคาทีขายกัน

ในตลาดของ สารสกัด Capsicum Oleoresin นั น มีราคาอยู่ที 18.00 USD/1 kg (ราคา ณ. วันที 10 ก.ค. 2550) [Ref.4] หรือ

ประมาณ 630 บาท/1 กิโลกรัม

ดังนั นจะสามารถคํานวนรายได้ได้ดังนี

กําลังการผลิต = 1 ตัน/วัน

ผลิตสารสกัด 6 เดือน/ปี = 140 วัน/ปี

ปริมาณสารสกัด Capsicum Oleoresin ทีผลิตได้ = 140 x 1

= 140 ตัน/ปี

ราคาจําหน่ายสารสกัด = 630 บาท/กิโลกรัม

ดังนั นรายได้จากการจําหน่าย = 140x630x1000

= 88,200,000 บาท/ปี

Page 27: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

รายได้จากสารสกัดจากดาวเรือง

คุณลักษณะของสารสกัดทีผลิตคือ Marigold Oleoresin ทีมีปริมาณสาร Xantrophil 10% ของ

นํ าหนัก oleoresin โดยองค์การเภสัชฯมีกําลังการผลิตสารสกัด 1 ตัน/วันมีการผลิต ผลิต 6 เดือน/ปี จากการสํารวจราคา

ของ สารสกัด Marigold Oleoresin พบว่าบริษัท Shenzhen Z.S.H Industry Co., Ltd. จากประเทศจีนขายสารสกัด

Marigold Oleoresin ทีราคาอยู่ที 0.125 USD/1 กรัม หรือคิดเป็นเงินไทยเท่ากับ 4,375 บาท/กิโลกรัม

ดังนั นจะสามารถคํานวนรายได้ได้ดังนี

กําลังการผลิต = 1 ตัน/วัน

ผลิตสารสกัด 6 เดือน/ปี = 140 วัน/ปี

ปริมาณสารสกัด Capsicum Oleoresin ทีผลิตได้ = 140 x 1

= 140 ตัน/ปี

ราคาจําหน่ายสารสกัด = 4,375 บาท/กิโลกรัม

ดังนั นรายได้จากการจําหน่าย = 140x4,375x1000

= 612,500,000 บาท/ปี

Page 28: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

รายได้จากสารสกัดเปล้าน้อย(Plaunotol 90%)

คุณลักษณะของสารสกัดทีผลิตคือ Plaunotol ทีมีปริมาณสาร Plaunotol 90% ของนํ าหนัก โดย

องค์การเภสัชฯมีกําลังการผลิตสารสกัด 5 กิโลกรัม/วัน มีการผลิต 12 เดือน/ปี ราคาจําหน่าย 48,530 บาท/กิโลกรัม คํานวน

จากปริมาณสารเปล้าโลทอล 6800 กิโลกรัม[Ref17] มีมูลค่าการจําหน่าย 330 ล้านบาท [Ref18] ทีบริษัท ไทยซังเกียว จํากัด

จําหน่าย

ดังนั นจะสามารถคํานวนรายได้ได้ดังนี

กําลังการผลิต = 5 กิโลกรัม/วัน

ผลิตสารสกัด 6 เดือน/ปี = 280 วัน/ปี

ปริมาณสารสกัด Capsicum Oleoresin ทีผลิตได้ = 280 x 5

= 1,400 ตัน/ปี

ราคาจําหน่ายสารสกัด = 48,530 บาท/กิโลกรัม

ดังนั นรายได้จากการจําหน่าย = 1,400x48,530

= 67,942,000 บาท/ปี

สามารถสรุปรายได้จากกําลังการผลิตขององค์การเภสัชกรรมได้ดังตารางนี

Page 29: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ลําดับ สมุนไพร/ผลิตภัณฑ์ ปริมาณวัตถุดิบ(ตัน./ปี)

ปริมาณผลิตภัณฑ์(กก./ปี)

ราคา (บาท/

กิโลกรัม)

รายได้(บาท/ปี)

สด แห้ง1 พริก/Capsicum Oleoresin 10% 4,000,000 1,400 140,000 630 88,200,000

2 ดาวเรือง/Marigold Oleoresin 1,200,000 1,400 140,000 4,375 612,500,000

3 เปล้าน้อย/Plaunotol 90% - 8,400 1,400 48,530 67,942,000

768,642,000

ตารางแสดงรายได้จากสารสกัดพริก ดาวเรืองและเปล้าน้อย

Page 30: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

การวิเคราะห์กฏหมายทีเกียวข้องการวิเคราะห์กฏหมายทีเกียวข้องกฎหมายและข้อบังคับทีมีผลต่อโครงการ

1. กฎกระทรวงฉบับที 33 (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2479

หมวด 1 ลักษณะอาคาร เนือทีว่างของภายนอกอาคารและในอาคาร

นํามาใช้ในเรืองการกําหนดระยะถอยร่น

2. กฎกระทรวงฉบับที 7 (พ.ศ.2517) ออกตาใความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ.2497

ข้อ 3 จํานวนทีจอดรถยนต์ ต้องจัดให้มีตามจํานวนดังต่อไปนี

(1) ในเขตท้องทีกรุงเทพมหานคร เฉพาะในเขตเทศบาลนครหลวง

(2) ในเขตเทศบาลทุกแห่งหรือ ในเขท้องที ทีได้มีพระราชกฤษฏีกา ให้ใช้นํามาใช้ในเรืองการกําหนดพืนทีจอดรถ

3. กฎกระทรวง ฉบับที41 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522

นํามาใช้ในเรืองการกําหนดพืนทีจอดรถ

4. กฎกระทรวง ฉบับที55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522

หมวด 1 ลักษณะอาคารทีเว้นว่าง

นํามาใช้ในเรืองระยะถอยร่น : ระยะดิงภายในอาคาร

5. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ฉบับที3 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2543

นํามาใช้ในเรืองการกําหนดระยะต่างๆ

Page 31: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

กฎหมายและข้อบังคับทีมีผลต่อโครงการ

1. กฎกระทรวงฉบับที 33 (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2479

หมวด 1

ลักษณะอาคาร เนือทีว่างของภายนอกอาคารและในอาคาร

ข้อ 2 ทีดินทีใช้เป็นทีตั งของอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษทีมีพืนทีอาคารรวมไม่เกิน 30,000 ตารางเมตร

ต้องมีด้านหนึงด้านใดของทีดินนั นยาวไม่น้อยกว่า 12.00 เมตร ติดถนนสาธารณะทีมีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า 10.00

เมตรและถนนสาธารณะนั นต้องมีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า 10.00 เมตรยาวต่อเนืองกันโดยตลอดนับตั งแต่ทีตั งอาคาร

จนไปเชือมต่อกับถนนสาธารณะอืนทีมีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า 10.00 เมตร สําหรับทีดินทีใช้เป็นทีตั งของอาคารสูง

หรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษทีมีพืนทีอาคารมากกว่า 30,000 ตารางเมตร ต้องมีด้านหนึงด้านใดของทีดินนั นยาวไม่น้อย

กว่า 12.00 เมตร ติดถนนสาธารณะทีมีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า 18.00 เมตร และถนนสาธารณะนั นต้องมีเขตทางกว้าง

ไม่น้อยกว่า 18.00 เมตรยาวต่อเนืองกันโดยตลอด เป็นระยะทางไม่น้อยกว่ากึ งหนึงของถนนสาธารณะนั นหรือไม่น้อย

กว่า 500.00 เมตร นับตั งแต่ทีตั งของอาคาร

ข้อ 3 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องมีถนนหรือทีว่างปราศจากสิงปกคลุมโดยรอบอาคารกว้างไม่น้อย

กว่า 6.00 เมตร และรถดับเพลิงสามารถเข้าออกได้โดยสะดวกทีว่างตามวรรคหนึงให้รวมระยะเขตห้ามก่อสร้างอาคาร

บางชนิดหรือบางประเภทริมถนนหรือทางหลวงตามข้อบัญญัติท้องถินหรือกฎหมายอืนทีเกียวข้องเข้ามาเป็นทีว่างได้

ในกรณีทีมีข้อบัญญัติท้องถินหรือกฎหมายอืนทีเกียวข้องกําหนดแนวสร้างหรือขยายถนนใช้บังคับ ให้เริมทีว่างตาม

วรรคหนึงตั งแต่แนวนั น

ข้อ 4 พืนทีหรือผนังของอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องห่างเขตทีดินของผู้อืนและถนนสาธารณะไม่

น้อยกว่า 6.00 เมตร

ข้อ 5 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องมีค่าสูงสุดของอัตราส่วนพืนทีอาคารรวมกันทุกชั นต่อพืนทีดิน

ของอาคารทุกหลังทีก่อสร้างขึ นในทีดินแปลงเดียวกันไม่เกิน 10 ต่อ 1

Page 32: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ข้อ 6 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องมีทีว่างอันปราศจากสิงปกคลุมไม่น้อยกว่าอัตราส่วน ดังต่อไปนี

(1) อาคารอยู่อาศัยต้องมีทีว่างอันปราศจากสิงปกคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของพืนทีดินแปลงนั น

(2) อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะและอาคารอืนทีไม่ได้ใช้เป็นทีอยู่อาศัย ต้องมีทีว่างอันปราศจากสิงปก

คลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของพืนทีดินแปลงนั น แต่ถ้าอาคารนั นใช้เป็นทีอยู่อาศัยรวมอยู่ด้วยต้องมีทีว่างอันปราศจากสิง

ปกคลุมตาม (1)

ข้อ 7 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษทีมีส่วนของพืนทีอาคารตํากว่าระดับพืนดิน ต้องมีระบบระบายอากาศและ

ระบบบําบัดนํ าเสียและการระบายนํ าทิ งตามหมวด 2 และหมวด 3 แยกเป็นอิสระจากระบบระบายอากาศและระบบบําบัด

นํ าเสีย และการระบายนํ าทิ งส่วนเหนือพืนดินพืนทีอาคารส่วนทีตํากว่าระดับพืนดินตามวรรคหนึง ห้ามใช้เป็นทีอยู่อาศัย

ข้อ 8 พืนอาคารส่วนทีตํากว่าระดับถนนหน้าอาคารตั งแต่ชั นที 3 ลงไปหรือตํากว่าระดับถนนหน้าอาคารตั งแต่ 7.00

เมตรลงไป ต้องจัดให้มีระบบลิฟต์

ตามหมวด 6 และต้องจัดให้มีบันไดหนีไฟทีมีระบบแสงสว่างและระบบอัดลมทีมีความดันขณะใช้งานไม่น้อยกว่า 3.86

เมกะปาสกาลมาตร ทํางานอยู่ตลอดเวลาผนังบันไดหนีไฟทุกด้านต้องเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 10

เซนติเมตรเพือใช้เป็นทีหนีภัยในกรณีฉุกเฉินได้ บันไดหนีไฟนี ต้องอยู่ห่างกันไม่เกิน 60.00 เมตร โดยวัดตามแนวทางเดิน

Page 33: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ข้อ 3 จํานวนทีจอดรถยนต์ ต้องจัดให้มีตามกําหนดดังต่อไปนี

(1) ในเขตท้องทีกรุงเทพมหานคร เฉพาะในเขตเทศบาลนครหลวงตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที 25 ลง

วันที 21 ธันวาคม พ.ศ. 2514

(ซ) อาคารขนาดใหญ่ ให้มีทีจอดรถยนต์ตามจํานวนทีกําหนดของแต่ละประเภทของอาคารทีใช้เป็นทีประกอบ

กิจการในอาคารขนาดใหญ่นั นรวมกัน หรือให้มีทีจอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพืนทีอาคาร 120 ตารางเมตร

เศษของ 120 ตารางเมตร ให้คิดเป็น 120 ตารางเมตร ทั งนี ให้ถือทีจอดรถยนต์จํานวนทีมากกว่าเป็นเกณฑ์

อาคารขนาดใหญ่ทีมีลักษณะเป็นตึกแถวสูงไม่เกินสีชั น ต้องมีทีจอดรถยนต์อยู่ภายนอกอาคาร หรืออยู่ในห้องใต้

ดินของอาคารไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 1 ห้อง

(2) ในเขตเทศบาลทุกแห่งหรือในเขตท้องทีทีได้มีพระราชกฤษฎีกาให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้าง

อาคาร พุทธศักราช 2479 ใช้บังคับ

ซ) อาคารขนาดใหญ่ ให้มีทีจอดรถยนต์ตามจํานวนทีกําหนดของแต่ละประเภทของอาคารทีใช้เป็นทีประกอบ

กิจการในอาคารขนาดใหญ่นั นรวมกันหรือให้มีทีจอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพืนทีอาคาร 240 ตารางเมตร เศษของ

240 ตารางเมตร ให้คิดเป็น 240 ตารางเมตร ทั งนี ให้ถือทีจอดรถยนต์จํานวนทีมากกว่าเป็นเกณฑ์

อาคารขนาดใหญ่ทีมีลักษณะเป็นตึกแถว สูงไม่เกินสีชั นต้องมีทีจอดรถยนต์อยู่ภายนอกอาคาร หรืออยู่ใน

ห้องใต้ดินของอาคารไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 2 ห้อง

2. กฎกระทรวงฉบับที 7 (พ.ศ.2517) ออกตาใความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ.2497

ข้อ 1 ในกฎกระทรวงนี

(12) “อาคารขนาดใหญ่” หมายความว่า อาคารทีสร้างขึ นเพือใช้อาคารหรือส่วนหนึงส่วนใดของอาคารเป็นที

ประกอบกิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภท โดยมีความสูงจากระดับถนนตั งแต่ 15 เมตรขึ นไป และมีพืนทีรวมกัน

ทุกชั นในหลังเดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร หรือ มีพืนทีรวมกันทุกชั นหรือชั นหนึงชั นใดในหลังเดียวกันเกิน 2,000

ตารางเมตร

Page 34: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

3. กฎกระทรวง ฉบับที41 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522

นํามาใช้ในเรืองการกําหนดพืนทีจอดรถ

ข้อ 1 ให้ยกเลิกข้อ 5 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้าง

อาคาร พุทธศักราช 2479

ข้อ 2 ทีจอดรถ 1 คัน ต้องเป็นพืนทีสีเหลียมผืนผ้า และต้องมีลักษณะและขนาด ดังนี

1) ในกรณีทีจอดรถขนานกับแนวทางเดินรถหรือทํามุมกับแนวทางเดินรถน้อยกว่าสามสิบองศา ให้มีความกว้างไม่

น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร

2) ในกรณีทีจอดรถตั งฉากกับแนวทางเดินรถ ให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 5.00

เมตร แต่ทั งนี จะต้องไม่จัดให้มีทางเข้าออกของรถเป็นทางเดินรถทางเดียว

3) ในกรณีทีจอดรถทํามุมกับแนวทางเดินรถมากกว่าสามสิบองศา ให้มีควากว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาว

ไม่น้อยกว่า 5.50 เมตร

ข้อ 3 ทีจอดรถแต่ละคัน ต้องมีเครืองหมายแสดงลักษณะและขอบเขตของทีจอดรถไว้ให้ปรากฏบนพืน และต้อง

มีทางเดินรถเชือมต่อโดยตรงกับทางเข้าออกของรถและทีกลับรถ

ข้อ 4 ระยะความสูงสุทธิระหว่างพืนทีทีใช้จอดรถ ทางเดินรถ และทางลาดขึ นลงของรถกับส่วนทีตําสุดของชั นที

ถัดไปของอาคาร ต้องไม่น้อยกว่า 2.10 เมตร ส่วนของพืนทีทีใช้จอดรถต่างระดับกันจะเหลือมกันได้ไม่เกิน 1.00 เมตร

และเฉพาะส่วนทีเหลือมกันจะมีความสูงน้อยกว่า 2.10 เมตรก็ได้

ข้อ 5 อาคารจอดรถซึงติดตั งระบบยกรถขึ นลงระหว่างชั นของอาคารด้วยลิฟต์จะต้องมีระยะของทางเดินรถจาก

ปากทางเข้าถึงลิฟต์ไม่น้อยกว่า 20 เมตร อาคารตามวรรคหนึงจะไม่มีทางลาดขึ นลงของรถระหว่างชั นของอาคารก็ได้

Page 35: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ลิฟต์ทีใช้สําหรับยกรถขึ นลงระหว่างชั นของอาคารตามวรรคหนึง ต้องจัดให้อยู่ภายในตัวอาคารโดยให้มีลิฟต์หนึงเครือง

ต่อทีจอดรถ 30 คัน แต่ทั งนี ต้องไม่น้อยกว่า 2 เครืองต่ออาคารหนึงหลังและห้ามใช้เป็นลิฟต์โดยสาร

ข้อ 6 อาคารจอดรถซึงติดตั งระบบเคลือนย้ายรถด้วยเครืองจักรกลทีได้รับการ

คํานวณออกแบบเพือใช้ประโยชน์ในการจอดรถโดยเฉพาะ จะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี

1) ต้องมีระยะของทางเดินรถจากปาทางเข้าถึงอาคาไม่น้อยกว่า 20 เมตร

2) พืนหรือผนังของอาคาร ต้องอยู่ห่างจากเขตทีดินของผู้อืนและถนนสาธารณะ

ดังนี

(ก) ในกรณีทีมีความสูงของอาคารจากพืนดินตั งแต่ 23.00 เมตร ขึ นไปต้องอยู่ห่างไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร

(ข) ในกรณีทีมีความสูงของอาคารจากพืนดินน้อยกว่า 23.00 เมตร ต้องอยู่ห่างไม่น้อยกว่า 3.00 เมตร

Page 36: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

4. กฎกระทรวง ฉบับที55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522

ข้อ 21. ช่องทางเดินในอาคาร ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่าตามทีกําหนดไว้ดังต่อไปนี ประเภทของอาคาร

Page 37: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ข้อ 22. ห้องหรือส่วนของอาคารทีใช้ในการทํากิจกรรมต่างๆ ต้องมีระยะดิงไม่น้อยกว่าตามทีกําหนดไว้ดังต่อไปนี

ประเภทการใชอ้าคาร ระยะดิง

1. ห้องทีใช้เป็นทีพักอาศัย บ้านแถว ห้องพักโรงแรมห้องเรียนนักเรียนอนุบาล ครัวสําหรับอาคารอยู่อาศัย

ห้องพักคนไข้พิเศษ ช่องทางเดินในอาคาร 2.60

2. ห้องทีใช้เป็นสํานักงาน ห้องเรียน ห้องอาหาร ห้องโถงภัตตาคาร โรงงาน 3.00

3. ห้องขายสินค้า ห้องประชุม ห้องคนไข้รวม คลังสินค้า โรงครัว ตลาด และอืนๆ ทีคล้ายกัน 3.50

4. ห้องแถว ตึกแถว

4.1 ชั นล่าง

4.2 ตั งแต่ชั นสองขึ นไป

3.50

3.00

5. ระเบียง 2.20

ระยะดิงตามวรรคหนึงให้ว ัดจากพืนถึงพืน (เขตทุกเขตในกรุงเทพฯ ประชุมกันแล้วให้ใช้เป็นจากพืนถึงฝ่าเพดาน)

ในกรณีของชั นใต้หลังคา ให้ว ัดจากพืนถึงยอดฝาหรือยอดผนังอาคาร และในกรณีของห้องหรือส่วนของอาคารทีอยู่ภายใน

โครงสร้างของหลังคา ให้ว ัดจากพืนถึงยอดฝาหรือยอดผนังของห้องหรือส่วนของอาคารดังกล่าวทีไม่ใช่โครงสร้างของ

หลังคา

ห้องในอาคารซึงมีระยะดิงระหว่างพืนถึงพืนอีกชั นหนึงตั งแต่ 5 เมตรขึ นไป จะทําพืนชั นลอยในห้องนั นก็ได้ โดย

พืนชั นลอยดังกล่าวนั นต้องมีเนือทีไม่เกินร้อยละสีสิบของเนือทีห้อง ระยะดิงระหว่างพืนชั นลอยถึงพืนอีกชั นหนึงต้องไม่

น้อยกว่า 2.40 เมตร และระยะดิงระหว่างพืนห้องถึงพืนชั นลอยต้องไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร ด้วย ห้องนํ า ห้องส้วม ต้องมี

ระยะดิงระหว่างพืนถึงเพดานไม่น้อยกว่า 2 เมตร

Page 38: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]
Page 39: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

ระยะดิงตามวรรคหนึงให้ว ัดจากพืนถึงพืน ในกรณีของชั นใต้หลังคาให้ว ัดจากพืนถึงยอดฝาหรือยอดผนังอาคาร และ

ในกรณีของห้องหรือส่วนของอาคารทีอยู่ภายในโครงสร้างของหลังคาให้ว ัดจากพืนถึงยอดฝาหรือยอดผนังของห้อง หรือ

ส่วนของอาคารดังกล่าวทีไม่ใช่โครงสร้างของหลังคา

ห้องในอาคารซึงมีระยะดิงระหว่างพืนถึงพืนอีกชั นหนึงตั งแต่ 5 เมตรขึ นไป จะทําพืนชั นลอยในห้องนั นก็ได้ โดยพืน

ชั นลอยดังกล่าวนั นต้องมีเนือทีไม่เกินร้อยละสีสิบของเนือทีห้อง ระยะดิงระหว่างพืนชั นลอยถึงพืนอีกชั นหนึงต้องไม่น้อย

กว่า 2.40 เมตร และระยะดิงระหว่างพืนห้องถึงพืนชั นลอยต้องไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร ด้วย ห้องนํ า ห้องส้วม ต้องมีระยะดิง

ระหว่างพืนถึงเพดานไม่น้อยกว่า 2 เมตร

Page 40: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]
Page 41: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]
Page 42: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

หมวด 3

ทีว่างภายนอกอาคาร

ข้อ 39 โรงงานทีมีพืนทีทีใช้ประกอบกิจการของอาคารทุกชั นรวมกันตั งแต่ 200 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 500 ตารางเมตร ต้องมี

ทีว่างห่างแนวเขตทีดินทีใช้ก่อสร้างอาคารนั นไม่น้อยกว่า 3 เมตร จํานวนสองด้านโดยผนังอาคารทั งสองด้านนี ให้ทําเป็นผนังทึบ

ด้วยอิฐหรือคอนกรีตยกเว้นประตูหนีไฟ ส่วนด้านทีเหลือให้มีทีว่างไม่น้อยกว่า 6 เมตร

โรงงานทีมีพืนทีทีใช้ประกอบกิจการของอาคารทุกชั นรวมกันตั งแต่ 500 ตารางเมตรแต่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ต้องมีทีว่างห่าง

แนวเขตทีดินทีใช้ก่อสร้างอาคารนั น ไม่น้อยกว่า 6 เมตร ทุกด้านโรงงานทีมีพืนทีทีใช้ประกอบกิจการของอาคารทุกชั นรวมกันเกิน

1,000 ตารางเมตร ต้องมีทีว่างห่างแนวเขตทีดินทีใช้ก่อสร้างอาคารนั นไม่น้อยกว่า 10 เมตร ทุกด้าน

Page 43: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

CASESTUDYCASESTUDY

โครงการโรงงานผลิตวัคซีนไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดนก

Page 44: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]
Page 45: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

สถาบันวิจัยและพัฒนา

research and development instituteระบบการทํางาน และLABวิจัย

Page 46: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]

planingplaning

Page 47: ศูนย์วิจัยและผลิตสารสกัดสมุนไพรไทย2553 08-11 [compatibility mode]