Top Banner
18 บทที2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับงานวิจัยครั้งนีผูวิจัยไดศึกษาสาระสําคัญตาง ทีเกี่ยวกับการพัฒนาชุดการเรียนรูดวยตนเองเรื่องการประเมินผลตามสภาพจริงสําหรับครู ประถมศึกษา โดยผูวิจัยไดกําหนดสาระสําคัญประกอบดวยหัวขอดังตอไปนี1) ชุดการเรียนรู ดวยตนเอง เกี่ยวกับความหมายของชุดการเรียนรูดวยตนเอง แนวคิดทางจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับ การสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง แนวคิดหลักการและทฤษฎีที่นํามาใชในการสรางชุดการเรียนรู ดวยตนเอง ลักษณะของชุดการเรียนรูดวยตนเองที่ดี องคประกอบของชุดการเรียนรูดวยตนเอง ขั้นตอนการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง การปรับปรุงแกไขและหาประสิทธิภาพของชุดการ เรียนรูดวยตนเอง ประโยชนของชุดการเรียนรูดวยตนเอง และการเรียนรูดวยตนเอง 2) การ ประเมินผลตามสภาพจริง เกี่ยวกับความหมายของการประเมินผลตามสภาพจริง แนวคิดหลักการ เกี่ยวกับการประเมินผลตามสภาพจริง ลักษณะสําคัญของการประเมินผลตามสภาพจริง วิธีการ และเครื่องมือที่ใชในการประเมินผลตามสภาพจริง เกณฑการประเมินหรือแนวทางการใหคะแนน และการประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และ 3) งานวิจัยที่เกี่ยวของ เกี่ยวกับงานวิจัยเกี่ยวกับชุดการเรียนรูดวยตนเอง และงานวิจัยเกี่ยวกับการ ประเมินผลตามสภาพจริง ดังมีรายละเอียดดังตอไปนีชุดการเรียนรูดวยตนเอง ความหมายของชุดการเรียนรูดวยตนเอง ชุดการเรียนรูดวยตนเอง (Self Learning Package) เปนสื่อการเรียนประเภทหนึ่งทีนํามาใชในการเสริมสมรรถภาพแกผูเรียน ซึ่ง แอลสแปช (Alspach 1995 :102) ไดกลาววา มีการ เรียกชุดการเรียนรูดวยตนเองไวหลายอยาง คือ Modularized instruction, Self-directed Learning Modules, Self Instructional Modules, Self Instructional Packages, Self Pace modules, Self Instructional Units, Self Instructional Packets และ Independent Study Units โดยที่นักการศึกษา แตละทานไดนําคําศัพทแตละคําไปใชโดยอธิบายความหมายแตกตางกันไปเล็กนอย สําหรับใน ประเทศไทย คณะครุศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดบัญญัติศัพทเรียกชุดการเรียนรูดวยตนเอง
47

2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

Jan 24, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

18

บทท่ี 2

วรรณกรรมที่เก่ียวของ การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับงานวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดศึกษาสาระสําคัญตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาชุดการเรียนรูดวยตนเองเรื่องการประเมินผลตามสภาพจริงสําหรับครูประถมศึกษา โดยผูวิจัยไดกําหนดสาระสําคัญประกอบดวยหัวขอดังตอไปนี้ 1) ชุดการเรียนรูดวยตนเอง เกี่ยวกับความหมายของชุดการเรียนรูดวยตนเอง แนวคิดทางจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง แนวคิดหลักการและทฤษฎีที่นํามาใชในการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง ลักษณะของชุดการเรียนรูดวยตนเองที่ดี องคประกอบของชุดการเรียนรูดวยตนเอง ขั้นตอนการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง การปรับปรุงแกไขและหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูดวยตนเอง ประโยชนของชุดการเรียนรูดวยตนเอง และการเรียนรูดวยตนเอง 2) การประเมินผลตามสภาพจริง เกี่ยวกับความหมายของการประเมินผลตามสภาพจริง แนวคิดหลักการเกี่ยวกับการประเมินผลตามสภาพจริง ลักษณะสําคัญของการประเมินผลตามสภาพจริง วิธีการและเครื่องมือที่ใชในการประเมินผลตามสภาพจริง เกณฑการประเมินหรือแนวทางการใหคะแนนและการประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และ 3) งานวิจัยที่เกี่ยวของ เกี่ยวกับงานวิจัยเกี่ยวกับชุดการเรียนรูดวยตนเอง และงานวิจัยเกี่ยวกับการประเมินผลตามสภาพจริง ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้

ชุดการเรียนรูดวยตนเอง ความหมายของชุดการเรียนรูดวยตนเอง

ชุดการเรียนรูดวยตนเอง (Self Learning Package) เปนสื่อการเรียนประเภทหนึ่งที่นํามาใชในการเสริมสมรรถภาพแกผูเรียน ซ่ึง แอลสแปช (Alspach 1995 :102) ไดกลาววา มีการเรียกชุดการเรียนรูดวยตนเองไวหลายอยาง คือ Modularized instruction, Self-directed Learning Modules, Self Instructional Modules, Self Instructional Packages, Self Pace modules, Self Instructional Units, Self Instructional Packets และ Independent Study Units โดยที่นักการศึกษาแตละทานไดนําคําศัพทแตละคําไปใชโดยอธิบายความหมายแตกตางกันไปเล็กนอย สําหรับในประเทศไทย คณะครุศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดบัญญัติศัพทเรียกชุดการเรียนรูดวยตนเอง

Page 2: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

19

ไวดังตอไปนี้ ชุดการเรียนรูดวยตนเอง(Self Learning Units) ชุดการสอนเอกัตภาพ (Self Instructional Packages) ชุดการสอนแบบหนวยหรือบทเรียนโมดูล (Instructional Modules) บทเรียนโมดูลดวยตนเอง (Self Instructional Modules) บทเรียนโปรแกรม (Programmed Instructional Lesson : Programmed Lesson) (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย, คณะครุศาสตร 2538, อางถึงใน วิชญาพร สุวรรณแทน 2541 : 54-55) สวนกาญจนา เกียรติประวัติ (2524 : 174-175) กลาวถึงชุดการเรียน (Learning Package) วาเดิมนั้นใชคําวาชุดการสอน เพราะครูเปนผูใชดังนั้นผูทํากิจกรรมก็คือครู ในปจจุบันนักการศึกษาเปลี่ยนมาใชคําวา ชุดการเรียน โดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลางและเปนผูใชส่ือตาง ๆ ในชุดการเรียนเพื่อศึกษาดวยตนเอง และในทํานองเดียวกัน กิดานันท มลิทอง(2540 : 84) ก็ไดเรียกชุดการเรียนรูดวยตนเองวาชุดการสอน (Teaching Package) สําหรับผูสอนใชสอน และเรียกวาชุดการเรียน (Learning Package) สําหรับผูเรียนใชเรียน นอกจากนี้ไดมีนักการศึกษาหลายทานไดใหความหมายของชุดการเรียนรูดวยตนเองไวดังตอไปนี้ วาสนา ชาวหา (2525 : 139) ใหความหมายของชุดการเรียนรูดวยตนเองวา เปนชุดการเรียนการสอนที่จัดโปรแกรมการเรียนสําหรับผูเรียนดวยตนเองตามความสามารถและความสนใจเปนรายบุคคลเพื่อสงเสริมความสามารถของแตละบุคคลใหพัฒนาการเรียนของตนเองไปใหถึงขีดสุดความสามารถโดยไมตองเสียเวลารอคอยผูอ่ืน สวนวีระ ไทยพานิช (2529 : 134) กลาววาชุดการเรียนรู เปนชุดการเรียนที่จัดเปนหนวยการเรียน หัวขอ เนื้อหา และอุปกรณของแตละหนวยไดจัดไวเปนชุด หรือกลองหรือซอง ชุดการเรียนอาจมีรูปแบบที่แตกตางกันออกไป ซ่ึงสวนมากจะประกอบดวย คําชี้แจง หัวขอจุดหมาย การประเมินผลเบื้องตน การกําหนดกิจกรรมและการประเมินขั้นสุดทาย โดยมีจุดมุงหมายสําหรับการเรียนรูรายบุคคล ซ่ึงผูเรียนตองมีความรับผิดชอบทางการเรียนดวยตนเอง ชัยยงค พรหมวงศ (2534 : 32) กลาววาชุดการเรียนรู คือการวางแผนการเรียนรูโดยใชส่ือตาง ๆ รวมกัน หรือหมายถึงการใชส่ือประสมเพื่อสรางประสบการณในการเรียนรูอยางกวางขวางตามจุดมุงหมายที่วางไว โดยจัดเปนชุดในลักษณะซองหรือกลอง กรองกาญจน อรุณรัตน (2536 : 26) ไดกลาววา ชุดการเรียนรูดวยตนเองหมายถึงชุดของโปรแกรมสื่อประสมที่มีการนําเอาวิธีการจัดระบบมาใชในการนําเสนอเนื้อหาและจัดกิจกรรมการเรียนเพื่อใหผูเรียนไดศึกษาดวยตนเองตามความสามารถตามอัตราการเรียนและรูปแบบการเรียนของผูเรียนแตละคน วาสนา ทวีกุลทรัพย และ ชัยยงค พรหมวงศ (2540 : 120) ไดกลาวไววาชุดการเรียนรูเปนชุดส่ือประสมที่จัดไวอยางมีระบบที่มีการวางโปรแกรมไวลวงหนาดวยการกําหนดเนื้อหาสาระ ส่ือการสอน กิจกรรมการเรียน สภาพแวดลอมและการประเมิน ใหผูเรียนสามารถศึกษาไดดวยตนเองจากส่ือตาง ๆ ที่กําหนดไว ผูเรียนมีสวนในการเรียนอยางกระฉับกระเฉงไดรับคําติชมทันที ไดรับการเสริมแรงที่เปนความสําเร็จ ความภาคภูมิใจและไดใครครวญเรียนรูตามลําดับขั้น ตามความสะดวก

Page 3: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

20

และความเห็นของแตละบุคคล สวน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 : 221) กลาววา ชุดการเรียนรูเปนส่ือการสอนที่ทําใหผูเรียนกระฉับกระเฉงในการเรียนรู ทราบอัตราความกาวหนาในการเรียนรูดวยตนเอง มีวิธีการนําเสนอหลายวิธีเพื่อใหผูเรียนใหความรวมมือ เชน เสนอในรูปสิ่งพิมพอยางเดียว หรือเสนอในรูปสื่อพิมพเทปบันทึกเสียงหรือส่ือตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนมีกิจกรรมรวม จากความหมายของชุดการเรยีนรูดวยตนเอง สรุปไดวาชุดการเรียนรูดวยตนเองเปนสื่อการเรียนการสอนที่ไดรับการออกแบบในรูปของสื่อประสมใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเองตามลําดับขั้นจากงายไปยาก ผูเรียนทราบอตัราความกาวหนาในการเรยีนรูดวยตนเอง มีปฏิสัมพันธกับสื่อตลอดเวลา ไดรับการเสริมแรงหรือคําติชมทันที ชุดการเรียนรูอาจเปนรูปแบบที่อาจแตกตางกันไปบางและจัดเตรียมไวเปนชุดเพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองโดยศึกษาคําชีแ้จงและทํากิจกรรมตามขัน้ตอนโดยใชเวลาเร็วชาตามความสามารถและศักยภาพของผูเรียนเพื่อใหบรรลุผลตามวัตถุประสงคที่ผูสรางไดกําหนดไว ซ่ึงประกอบไปดวย บทนํา หรือคําชี้แจง จุดประสงคเชิงพฤติกรรม การประเมินกอนเรียน กิจกรรมการเรียนและการประเมนิหลังเรียน แนวคิดทางจิตวิทยาท่ีเก่ียวของกับการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง

การสรางชุดการเรียนรูดวยตนเองไดพัฒนาขึ้นมาจากหลกัการหรือทฤษฎีทางจิตวิทยาจากการศึกษาทดลองของนักจิตวิทยาหลายคนดวยกัน โดยทฤษฎีจิตวิทยาที่เขามามีสวนเกีย่วของนั้นมีอยู 2 ทฤษฎี ดังที่ กรองกาญจน อรุณรัตน (2536 : 30-31) กลาวไว ดังนี ้

1. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) 1.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theory) โดย อีแวน พาฟลอฟ ชาวรัสเซีย ไดทดลองโดยมีการนําสิ่งเราที่ไมตองวางเงือ่นไข (Unconditioned Stimulus) และสิ่งเราที่เปนกลาง (Neutral) มาใชควบคูกนั ทั้งนี้เพื่อทีจ่ะดึงพฤตกิรรมหรือการตอบสนองออกมาจนกระทั่งในที่สุดสิ่งเราที่เปนกลางจะแปรสภาพเปนสิ่งเราที่ถูกวางเงื่อนไข (Conditioned Stimulus) ซ่ึงจะสามารถเราหรือดึงพฤตกิรรมการตอบสนองออกมาไดโดยไมตองใชส่ิงเราที่ไมตองวางเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus) เลย

จากการทดลองเกี่ยวกับการเรียนรูชนิด Classical Conditioning ทําใหไดหลักใหญ ๆ 4 ประการคือ การเสริมแรง การยุติการตอบสนอง การลงขอสรุป และการวางเงื่อนไข 1.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทํา (Operant Conditioning Theory) ของ บี. เอฟ. สกินเนอร ซ่ึงมีความเห็นที่แตกตางไปจากทอรนไดควา การเชื่อมโยงจะเกิดขึ้นระหวางรางวัล (Reward) และการตอบสนอง (Response) มิใชเกิดระหวางสิ่งเรา (Stimulus) และการ

Page 4: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

21

ตอบสนอง ตามที่ทอรนไดคกลาว และเกิดการเรียนรูชนิด Operant Conditioning ผูเรียนตองเปนฝายกระทําเอง มิใชเปนการแสดงพฤติกรรมอันเนื่องมาจากสิ่งเราภายนอกมากระตุน

จากการทดลองของสกินเนอรก็ทําใหไดมาซึ่งหลักการที่ใชในการเรียนการสอนแบบโปรแกรม คือ 1) เงื่อนไขของการตอบสนอง (Operant Conditioning) 2) การเสริมแรง (Reinforcement) 3) การเสริมแรงทันทีทันใด (Immediate of Reinforcement) 4) ส่ิงเราที่มีเงื่อนไขเฉพาะ (Discriminated Stimuli) 5) การยุติการตอบสนอง (Extinction) และ 6) การดัดพฤติกรรม (Shaping) 2. ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theory) ของ เอดวารด ลี ทอรนไดค ซ่ึงไดเนนวา ส่ิงสําคัญที่กอใหเกดิการเรียนรูคอืการเสริมแรง ซ่ึงจะเปนตวักระตุนใหเกิดการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรา (Stimuli) และการตอบสนอง (Response) มากขึ้น

จากการทดลองของทอรนไดคทําใหไดมาซึง่กฎการเรียนรู 3 กฎ คือ 1. กฎแหงผล (Law of Effect) เปนการเชือ่มโยงระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง

หากทั้งสองสิ่งสามารถเชื่อมโยงกันได ผูเรียนจะเกดิความพึงพอใจ ซ่ึงอาจไดจากการเสริมแรง (Reinforcement ) ดวย

2. กฎแหงการฝกหัด (Law of Exercise) การที่ผูเรียนจะกระทําซ้ําหรือทําบอยครั้ง เปนการเสริมสรางใหเกิดการเรียนรูที่มั่นคงและคงทนมากขึ้น ดังนัน้การเรียนรูจะเกดิขึ้นมากนอยเพียงใดจึงขึ้นอยูกับการใหผูเรียนไดมีโอกาสฝกหัดในเรื่องที่เรียน 3. กฎแหงความพรอม (Law of Readiness) เมื่อรางกายพรอมที่จะกระทําและมีโอกาสที่จะกระทํา ยอมเกิดความพึงพอใจ แตถาไมมีโอกาสที่จะกระทํา ยอมเกิดความไมพึงพอใจ ในทางตรงขามถารางกายไมพรอมที่จะกระทําแตถูกบังคับใหกระทําก็ยอมจะเกิดความไมพึงพอใจ ดังนั้นความพรอมจึงหมายรวมถึง ความพรอมทางวุฒิภาวะ พื้นฐานหรือประสบการณและความ พรอมทางจิตใจ ซ่ึงกลาวไดวาการเรียนรูจะมีประสิทธิภาพที่สุดเมื่อผูเรียนพรอมที่จะเรียน หรือ พรอมที่จะตอบสนองโดยบทเรียนโปรแกรมก็ไดนําทฤษฎีการเสริมแรงของทอรนไดคไปใชในลักษณะที่ใหการเสริมแรงแกผูเรียนในทันที ภายหลังจากที่ผูเรียนไดตอบคําถามในบทเรียนโปรแกรมแลว

นอกจากนี้แลว ชม ภูมภิาค (2539 : 64 ) ไดกลาววาหลักจิตวิทยาการเรยีนรูที่นํามาใชในชุดการเรียนดวยตนเองคอื

1) การเกดิขึ้นพรอมกันหรือใกลเคียงกันของสิ่งเรากับการตอบสนอง (Contiguity) ซ่ึงเปนหลักทฤษฎีการเรยีนรูของกูทรี (Guthrie) โดยเสนอสิ่งเราแลวผูเรียนทําการตอบสนองทันที 2) การเสริมแรง (Reinforcement) ทั้งนี้เพราะวาเมื่อมกีารกระทําแลวรูผลทันทีวาถูก

Page 5: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

22

หรือผิดอยางไร ซ่ึงเปนไปตามหลักของการเสริมแรง (Reinforcement Theory) ของ ฮูลส (Houles) 3) การตอบสนองมาก ผูเรียนตองทําการตอบสนองมากเปนไปตามหลกัทฤษฎีการเรียนรูของสกนิเนอร (Skinner) คือทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Operant Conditioning) 4) ดําเนนิการสรางบทเรียนในตอนแรกๆ มักจะมีเครื่องชี้นําใหถูกมากๆ เพื่อใหผูเรียนทําถูกจะไดเกดิความมั่นใจในตนเองเปนการสรางแรงจูงใจอยางหนึ่ง แลวคอย ๆ ลดเครื่องชี้นําไปเร่ือย ๆ จนไมมี 5) เปนการประเมินผลการเรยีนของตนเองไปดวย ทําใหรูความกาวหนาของตนเองเปนการสรางแรงจูงใจไดอยางหนึ่ง

6) เปนการยอมรบัใหผูเรียน ไดเรียนตามความสามารถของแตละบุคคล 7) นําเอาความแตกตางระหวาบุคคลมาใชในการเรยีนเปนการเรียนดวยการกระทํา (Active Learning) ทําใหเขาใจไดดีและมคีวามคงทนในการเรียนสูง 8) เนนการสงเสริมใหคนรูจกัเรียนดวยตนเอง 9) การเรียนจะกระทําเมื่อคนตองการจะเรียน เมื่อเรียนไปถึงตอนใดจะหยุดก็ได เมื่อพรอมและสะดวกเมื่อใดจะเรียนตอก็ได 10) เปนเสมือนผูสอนประจําตัว (Tutor) ซ่ึงดีกวาการเรียนเปนกลุมใหญ จากการศึกษาจึงนํามาสรุปไดวา ทฤษฎีทางจิตวิทยา ไดแก ทฤษฎีการวางเงื่อนไข และทฤษฎีการเสริมแรงทําใหไดมาซึ่งกฎการเรียนรู ทําใหไดหลักการสําคัญของบทเรียนโปรแกรมหรือชุดการเรียนรูดวยตนเอง 5 ประการ คือ 1) การเรียนจะตองเรียนไปเปนลําดับขั้น ๆ ละเล็ก ๆ 2) ผูเรียนควรจะเรียนดวยความกระฉับกระเฉง 3) ผูเรียนสามารถตรวจสอบคําตอบของตนเองไดทันที 4) การเรียนควรจะเรียนจากงายไปหายาก 5) ผูเรียนควรจะเรียนไปตามความสามารถ แนวคิดหลักการและทฤษฎีท่ีนํามาใชในการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง ส่ิงสําคัญอีกประการหนึ่งทีจ่ะนําไปสูการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง ไดแก แนวคิดพื้นฐาน ซ่ึงประกอบไปดวยแนวคดิ 5 ประการ ดังนี้ (ชัยยงค พรหมวงศ 2534 : 105, อางถึงใน กรองกาญจน อรุณรัตน 2536 : 6-7) แนวคิดที่ 1 เปนแนวคิดตามหลักจิตวิทยาเกี่ยวกับทฤษฎีความแตกตางระหวางบุคคล นักการศึกษาไดนําแนวคิดนี้มาใชโดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน จัดการศึกษาที่ใหอิสระในการเรียนรูดวยตนเองตามกําลังความสามารถของแตละบุคคล แนวคิดที่ 2 เปนแนวคิดที่พยายามจะเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนจากแบบเดิมที่ยึดครูเปนศูนยกลางมาเปนการจัดประสบการณและสื่อประสมที่ตรงกับเนื้อหาวิชาในรูปของชุดการ

Page 6: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

23

เรียนโดยใหผูเรียนหาความรูดวยตนเองจากชุดการเรียน แนวคดิที่ 3 เปนแนวคิดที่พยายามจะจดัระบบการผลิตและการใชอุปกรณการสอนใหเปนไปในรูปสื่อประสม โดยมีจดุมุงหมายเพื่อเปลี่ยนจากการใชส่ือเพือ่ “ชวยครูสอน” มาเปนการ “ชวยผูเรียนเรยีน” แนวคดิที่ 4 เปนแนวคิดที่พยายามจะสรางปฏิสัมพันธใหเกิดขึ้นระหวางครูกับผูเรียน ผูเรียนกับผูเรียน และผูเรียนกับสิ่งแวดลอม โดยนําสื่อการสอนและทฤษฎีกระบวนการกลุมมาใชในการประกอบกิจกรรมรวมกันของผูเรียน แนวคดิที่ 5 เปนแนวคิดทีย่ดึหลักการทางจิตวิทยาการเรยีนรู มาจัดสภาพการณการเรียนรูเพื่อใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพโดยการเปดโอกาสใหผูเรียนไดพบเห็นสิ่งตางๆดังนี้

1) ไดรวมกจิกรรมดวยตนเอง 2) ไดทราบผลเรียนไดทนัท ี

3) ไดรับการเสริมแรงทางบวก ทําใหผูเรียนภาคภูมใิจที่ไดทําถูกหรือคิดถูก อันจะทาํใหกระทําพฤติกรรมนั้นซ้ําอีกในอนาคต 4) ไดเรียนรูทลีะขั้นตอนตามความสามารถและความสนใจของผูเรียนเองโดยไมมใีครบังคับ

นอกจากนี้ เสาวณยี สิกขาบัณฑิต (2528 : 292, อางถึงใน อุบล พวงสุวรรณ 2544 : 22) ไดกลาวถึงหลักการและทฤษฎีที่นํามาใชในการผลิตชุดการเรียนดงันี้

1) ความแตกตางระหวางบุคคล (Individual Differences) นักการศึกษาไดนําหลักจิตวิทยาในดานความแตกตางระหวางบุคคลมาใช เพราะถือวาการสอนนั้นไมสามารถปนใหผูเรียนเปนพิมพเดียวกันไดในชวงเวลาที่เทากัน เพราะผูเรียนแนละคนจะเรียนรูตามวิถีทางของเขา และใชเวลาเรียนในเรื่องหนึ่ง ๆ ที่แตกตางกันไป ความแตกตางเหลานี้มีความตางในดานความสามารถ สติปญญา ความตองการ ความสนใจ รางกาย อารมณ และสังคม ดวยเหตุผลที่คนเรามีความแตกตางกันดังกลาว ผูสรางชุดการเรียนจึงพยายามที่จะหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการที่จะทําใหผูเรียนไดเรียนอยางบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่วางไวในชุดนั้น ๆ ซ่ึงวิธีที่เหมาะสมที่สุดวิธีหนึ่งก็คือ การจัดการสอนรายบุคคล หรือการจัดการสอนตามเอกัตภาพ หรือการศึกษาดวยตนเอง ซ่ึงลวนแตเปนวิธีสอนที่เปดโอกาสใหผูเรียนมีอิสระในการเรียนตามความแตกตางของแตละคน

2) การนําสื่อประสมมาใช (Multi-Media Approach) เปนการนําเอาสื่อการสอนหลายประเภทมาใชสัมพันธกันอยางมีระบบ ความพยายามอันนี้ก็เพื่อที่จะเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนจากเดิมที่เคยยึดครูเปนแหลงใหความรูหลักมาเปนการจัดประสบการณใหผูเรียนเรียนดวยตนเองดวยการใชแหลงความรูจากสื่อประเภทตาง ๆ

Page 7: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

24

3) ทฤษฎีการเรียนรู (Learning Theory) จิตวิทยาการเรียนรูที่เปดโอกาสใหผูเรียนเรยีนดวยตนเอง ไดแก

3.1) การเขารวมกิจกรรมการเรียนการสอนดวยตนเอง 3.2) ตรวจสอบผลการเรียนของตนเองวาถูกหรือผิดไดทันที

3.3) เสริมแรง คือ ผูเรียนจะเกดิความภาคภูมใิจ ดีใจที่ตนทําไดถูกตอง เปนการใหกําลังใจเรียนตอไป ถาตนเองทําไมถูกตองจะไดทราบวาที่ถูกตองนั้นคืออะไร จะไดไตรตรองพจิารณา ทําใหเกิดความเขาใจซึ่งจะไมทําใหเกดิความทอถอยหรือส้ินหวังในการเรยีน เพราะเขามีโอกาสที่จะสําเร็จไดเหมือนคนอื่นเหมือนกัน

3.4) เรียนไปทีละขั้นตามความสามารถและความสนใจของตนเอง

4) การใชวิธีวิเคราะหระบบ (System Analysis) โดยจัดเนื้อหาวิชาใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมและวัยของผูเรียน ทุกสิ่งทุกอยางที่จัดไวในชุดการเรียนจะสรางขึ้นอยางมีระบบ การตรวจเช็คทุกขั้นตอนและทุกอยางจะตองสัมพันธสอดคลองกันเปนอยางดี มีการทดลองปรับปรุงจนมีประสิทธิภาพอยูในเกณฑมาตรฐานที่เชื่อถือไดจึงจะนําออกใช

สรุปไดวาการเรียนโดยใชชุดการเรียนรูดวยตนเองตองยึดถือทฤษฎีจิตวิทยา การจัดสภาพการณที่เอื้อตอการเรียนรูโดยการจัดการเรียนในรูปแบบของการเรียนรูดวยตนเองโดยเกิดความเชื่อในเรื่องความจําเปนที่ผูเรียนจะคนพบความรูดวยตนเอง เรียนตามความสามารถ ความสนใจ ความตองการและตามศักยภาพของตนเอง เนนการฝกความรับผิดชอบ ความมีวินัยในตนเอง ดังนั้นในการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเองจะตองชวยสรางแรงจูงใจในการเรียนและเสริมแรงใหกับผูเรียน ลักษณะของชุดการเรียนรูดวยตนเองที่ดี การนําชุดการเรียนรูดวยตนเองไปใชเพื่อพัฒนาผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพถือหลักปรัชญาที่วา บุคคลแตละคนมีลักษณะแตกตางกัน ดังนั้นในการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเองจะตองคํานึงถึงคุณภาพ ฉะนั้นลักษณะของชุดการเรียนรูดวยตนเองที่ดีจึงควรมีลักษณะดังตอไปนี้

เสาวณีย สิกขาบณัฑิต (2525 : 7, อางถึงใน อุบล พวงสุวรรณ 2544 : 45) ไดกลาววาลักษณะของชุดการเรียนรูดวยตนเองที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ คือ 1. ใหผูเรียนเรียนดวยตนเอง นัน่คือสามารถเรียนใหบรรลุจุดมุงหมายไดดวยตนเอง โดยมีครูเปนผูคอยดูแลใหคําปรึกษา 2. จุดมุงหมายและกิจกรรมการเรียนควรจดัใหมีลําดับที่ด ีเพื่อใหผูเรียนเรียนดวยความ

Page 8: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

25

เขาใจและเกิดความรูตามลําดับ ไมสับสนและจะไดเปนการเพิ่มความรูทีละนอย ๆ เปนขั้นตอน 3. จูงใจผูเรียนในทุก ๆ กิจกรรมการเรียนซึ่งจะทําใหผูเรียนสนใจเรียนดวยความอยากรูอยากเห็น ซ่ึงจะเปนผลใหการเรียนนั้นมีความหมายมากขึ้นสําหรับเขา 4. ภาษาที่ใชชัดเจน ถูกตองและเหมาะสมกบัระดับความรูและระดับชัน้ของผูเรียน 5. เนื้อหามีความถูกตอง คําอธิบายชัดเจนจะเปนการทําใหผูเรียนเขาใจไมไขวเขว 6. ใหผูเรียนมีพฒันาการหลายดานในเนื้อหาบทเรียนบางเรือ่งบางตอนหรอืบางบทอาจจะมีความจําเปนตองใหผูเรียนไดมกีารพัฒนา จินตนา ใบกาซูยี (2542 : 258) กลาวถึงลักษณะของสื่อการเรียนรูดวยตนเองที่ดีควรมีลักษณะดังนี้คือ 1. ส่ือการเรียนหรือชุดการเรยีนนัน้มีความเหมาะสมกับจดุมุงหมายทีว่างไว เนื้อหากิจกรรม และสื่อตางๆ ที่กําหนดไว มีความสอดคลองกับจุดประสงคที่วางไวครบถวนและมีความเหมาะสมกับประสบการณของผูเรียนดวย 2. เนื้อหากจิกรรมและสื่อตางๆ ที่อยูในชุดการเรียนนัน้ ควรมีหลากหลายประเภท แตกตางกนัไป เพื่อใหผูเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ความถนัด และความสามารถ นอกจากนี้ส่ือกิจกรรมและเนื้อหา ควรจดัทําในแนวทางที่เราใจผูเรียนใหเกดิประสบการณในการเรียนดีขึ้น 3. เนื้อหาและกิจกกรม หรือส่ือที่จัดอยูในชุดการเรียนนัน้ ควรมีการแบงตามลําดับขั้นตอนของการเรียนรู เชนจากเรื่องงายไปสูเร่ืองยาก หรือจัดหนวยการเรียนตามลําดบัที่ปรากฏอยูในรายวิชา ลําดับขั้นขึ้นอยูกบัหนวยการเรยีน แตละหนวยมีความชัดเจน วิธีการใชไมยุงยาก ไมสลับซับซอน จนผูเรียนปฏบิัติไมถูก 4. มีคําแนะนําและวิธีการใชส่ือการเรียนอยางจัดเจน วิธีการใชไมยุงยาก ไมซับซอน จนผูเรียนไมสามารถปฏิบัติไดถูกตอง 5. ส่ือและวัสดุอุปกรณทีก่ําหนดใหใชในการเรียนนัน้ ๆ เชน ในเนือ้หา หรือใน กิจกรรมจะตองมีครบถวน ใหผูเรียนสามารถปฏิบัติได 6. ส่ือการเรียนนี้ไดผานการทดลองและการประเมินผล ตลอดจนไดรับการปรับปรุงเนื้อหามาแลววาผูเรียนสามารถใชเรียนแลวเกดิผลการเรียนรูตรงตามจดุมุงหมายทีว่างไว นอกจากนี้ยังควรมีการปรับปรุงใหทันตอเหตุการณอยูเสมอ 7. มีความคงทนตอการใชและการเก็บดูแลรักษา

สรุปไดวาลักษณะของชุดการเรียนรูดวยตนเองที่ดีควรมลัีกษณะดังตอไปนี ้1. มีความเหมาะสมและสอดคลองกับจุดมุงหมายของสื่อตางๆ ที่กําหนดไว 2. มีความเหมาะสมกับวัยและประสบการณของผูเรียนดวย

Page 9: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

26

3. กิจกรรมในชุดการเรียนนัน้ ควรมหีลากหลายประเภทแตกตางกันไป เพื่อใหผูเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ความถนัด และความสามารถ 4. เนื้อหาและกิจกรรม ควรมีการแบงตามลําดับขั้นตอนของการเรียนรู จากงายไปสูยาก ลําดับขั้นกิจกรรม มีความชัดเจน วิธีการใชไมยุงยาก ไมสลับซับซอน 5. มีคําแนะนําและวิธีการใชอยางจัดเจน วิธีการใชไมยุงยาก 6. มีการทดลองใช การประเมินผล และการปรับปรุงเนื้อหาจนมัน่ใจวาผูเรียนสามารถใชเรียนแลวเกดิผลการเรียนรูตรงตามจุดมุงหมายทีว่างไว

องคประกอบของชุดการเรียนรูดวยตนเอง ชุดการเรียนรูดวยตนเองเปนสื่อการเรียนรูที่สรางขึ้นโดยมีสวนประกอบตาง ๆ รูปแบบที่คลายคลึงกัน อาจมีสวนประกอบที่แตกตางกันไปบาง ดังไดมีผูกลาวถึงกับองคประกอบของชุดการเรียนรูดวยตนเองไวดังนี้ วาสนา ชาวหา (2525 : 140) กลาววาชุดการเรียนดวยตนเองจะเปนรูปแบบใดก็ตามจะตองประกอบไปดวยสวนตางๆ 5 สวนดังนี้ 1. คําชี้แจง (Prospectus) ในสวนนี้จะอธิบายถึงความสําคัญของจุดมุงหมายขอบขายของชุดการเรียน ส่ิงที่ผูเรียนจะตองมีความรูกอนเรียนและขอบขายของกระบวนการเรียนทั้งหมดในชุดการเรียน 2. จุดมุงหมาย(Objectives) คือขอความที่แจมชัดไมกํากวมที่กําหนดวาผูเรียนจะประสบความสําเร็จอะไรหลังจากเรยีนแลว

3. การประเมินผลเบื้องตน (Pre-Assessment ) มีจุดประสงค 2 ประการคือ เพื่อใหผูเรียนทราบวาผูเรียนอยูในระดับใดในการเรียนจากชุดการเรียนนั้น และเพื่อดูวาไดสัมฤทธิ์ผลตามความมุงหมายเพียงใด การประเมินผลเบื้องตนนี้อาจจะอยูในรูปของการทดลองแบบขอเขียน ปากเปลา การทํางาน ปฏิกิริยาตอบสนองตอคําถามงายๆ เพื่อใหรูถึงความตองการและความเห็นใจ

4. กิจกรรมการเรียนการสอน (Enabling Activities) คือการกําหนดแนวและวิธีเพื่อไปสูจุดมุงหมายที่ตั้งไว โดยใหผูเรียนไดมีสวนรวมในกิจกรรมนั้นดวย 5. การประเมินผลขั้นสุดทาย (Post-Assessment) เปนขอทดสอบเพื่อวัดผลการเรียนหลังจากที่เรียนแลว

สวน กิดานนัท มลิทอง (2540 : 85) กลาววา โดยทั่วไปแลวชุดการเรียนรูดวยตนเองจะจัดอยูในรูปของกลองหรือแฟม ซ่ึงประกอบดวย 1. คูมือ สําหรับผูสอนในการใชชุดการสอนและสําหรับผูเรียนในชดุการเรียน

Page 10: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

27

2. คําสั่ง เพื่อกําหนดแนวทางในการสอนหรือการเรียน 3. เนื้อหาบทเรียนจัดอยูในรูปของสไลด เทปบันทึกเสียง หนังสือบทเรียน บทเรยีนคอมพิวเตอร ฯลฯ 4. กิจกรรมการเรียน เปนการใหผูเรียนทํารายงาน กิจกรรมที่กําหนดใหหรือคนควาตอจากการเรยีนไปแลวเพื่อใหรูกวางมากขึน้ 5. แบบทดสอบ เปนแบบทดสอบเกี่ยวกับบทเรียนนัน้เพือ่การประเมิน

ลัดดา ศุขปรีดี และเสาวณีย สิกขาบณัฑิต (2525, อางถึงใน อุบล พวงสวุรรณ 2544 : 1) กลาววาชุดการเรียนรูนั้นมีหลายแบบ แตไมวาจะมีลักษณะหรือรูปแบบเชนไรก็ตามจะตองประกอบไปดวยสวนตาง ๆ องคประกอบของชุดการเรียนรู สรุปได 5 ประการคือ 1. บทนําหรือคําชี้แจง (Introduction Prospectus) สวนนี้จะอธิบายถึงความสําคัญของชุดการเรียนรูนั้น ๆ ขอบขายของสิ่งที่ผูเรียนจะไดเรียนรู และมีขอแนะนําวิธีการเรียนรูและกิจกรรมจากสื่อตางๆที่จัดไว ซ่ึงผูเรียนดําเนินการตามคําชี้แจง ก็สามารถบรรลุจุดประสงคในการเรียนได 2. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม (Specific of Behavioral Objective) เปนการกลาวถึงพฤติกรรมที่พึงเกิดกับผูเรียนหลังจากที่ผูเรียนไดเรียนบทเรียนจบแลว ในการเขียนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมนั้น ตองใชถอยคําชัดเจนรัดกุม มีความหมายเฉพาะเจาะจงและระบุออกมาเปนการกระทําที่พึงวัดได สังเกตไดวาผูเรียนควรทําอะไรไดบางหลังจากเรียนจบบทเรียนแลว 3. การประเมินผลกอนเรียน (Pre-Assessment) เปนการวัดความรูเดิมของผูเรียนโดยอาจอยูในรูปของการทดสอบขอเขียนหรือการปฏิบัติงาน โดยปกติมักจะใชแบบทดสอบเกณฑในการประเมินอาจคิดเปอรเซ็นต ซ่ึงการประเมินผลกอนการเรียนนี้มีวัตถุประสงคสรุปได 2 ประการคือ 3.1 เพื่อใหทราบพื้นฐานความรูของผูเรียนวามีเพยีงพอทีจ่ะเรียนบทเรียนนั้น ๆ หรือไม ถาเนือ้หาบทเรียนนัน้ไมจําเปนตองมีพื้นฐานความรู จะไมประเมินผลความรูก็ได 3.2 เพื่อวัดวาผูเรียนมีความรูความสามารถในวัตถุประสงคที่ระบุไวนัน้หรือไม ถามีความรูเดิมในเรื่องที่จะเรียนอยางดีกไ็มจําเปนตองเรียนในชุดการเรียนนั้น แตไปเรยีนเรื่องอื่นที่มีความรูยังไมเพียงพอ 4. กิจกรรมการเรียน (Activities or Tasks) และสื่อการเรียน ผูเรียนและเนื้อหา บทเรียน กลาวคือ การจัดกิจกรรมการเรียนนั้น ควรคํานึงถึงการเรียนเปนรายบุคคล เพื่อใหเรียนไดดวยตนเองตามขีดความสามารถของแตละคน ไมตองกังวลกับคนอื่นหรือกับความชาเร็วในการเรียน กิจกรรมที่เรียนควรมีหลากหลายและเหมาะสมก็เพื่อเปนการกระตุนความสนใจของผูเรียน ของ

Page 11: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

28

ผูเรียนและใหของผูเรียนและใหผูเรียนไดเลือกตามความสนใจ ความถนัด และความตองการของแตละคน 5. การประเมินผลหลังเรียน (Post–Assessment) มีความมุงหมายที่จะใหผูเรียนแสดงความสามารถวาหลังจากเรียนไปแลวสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวในชุดการเรียนหรือไม โดยการทําขอสอบหลังการเรียนและตรวจคําตอบที่เฉลยไวดวยตนเอง เพื่อดูวาตนเองนั้นประสบความสําเร็จหรือไมเพียงใดและบกพรองตรงไหน เพื่อจะไดมกีารพฒันา นอกจากนี้ อรพรรณ พรสีมา (2538, อางถึงใน พิเศษ ภัทรพงษ 2540 : 18) ไดกลาวสรุปเกี่ยวกับองคประกอบของชุดการเรียนดวยตนเองวาประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้

1. ช่ือหนวยงานหรือช่ือบทเรียน 2. คํานําหรือคําชี้แจง เปนคําบรรยายเบื้องตนเกี่ยวกับเนื้อหาของบทเรียน และคํา

อธิบายวา ทําไมผูเรียนจึงควรศึกษาชุดการเรียนนี้ 3. วัตถุประสงคของบทเรียนเปนสิ่งที่ผูเรียนควรจะไดรับจากการศึกษาชุดการเรียน 4. การทดสอบกอนเรียน เพื่อตรวจสอบวาผูเรียนมีความรูในสิ่งที่จะเรียนหรือยัง

5. กิจกรรมการเรียนหรือส่ือการสอนที่จะชวยใหผูเรียนบรรลุวัตถุประสงคในการเรียน ส่ือการสอนหลักก็คือส่ิงพิมพ สวนสื่ออ่ืนๆจะเปนสื่อประกอบหรือส่ือเสริม เชน รูปภาพ แผนภูมิ เทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพ เปนตน 6. การประเมนิผลหลังเรียน เพื่อใหผูเรียนทราบความกาวหนาทางการเรียนของตน จากที่ไดกลาวมาขางตน สรุปไดวาชุดการเรียนรูมีสวนประกอบตาง ๆ ซ่ึงมีรูปแบบที่คลายคลึงกัน องคประกอบของชุดการเรียนรูดวยตนเองมีสวนประกอบที่สําคัญ 5 ประการคือ บทนําหรือคําชี้แจง จุดประสงคเชิงพฤติกรรม การประเมินผลกอนเรียน กิจกรรมการเรียน และการประเมินผลหลังเรียน ซ่ึงผูวิจัยไดนําไปเปนแนวทางในการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเองประกอบการวิจัยในครั้งนี้ ขั้นตอนการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง จากการศึกษาขั้นตอนการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเองของนักวิชาการหลายทาน พบวา มีขั้นตอนการสรางคลายคลึงกัน ดังนี้ วาสนา ชาวหา (2525 : 132-137) กลาววาในการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง จําเปนที่จะตองเขาใจรูปแบบของชุดการเรียนกอนแลวจึงเริ่มตนลงมือผลิตชุดการเรียน ซ่ึงมีขั้นตอนการดําเนินงานดังตอไปนี้

1. ขั้นวางแผนทางวิชาการ ประกอบดวย

Page 12: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

29

1.1 กําหนดเนือ้เร่ืองขอบขายของเรื่องและระดับขั้นโดยแยกเปนหวัขอยอย ๆ ใหเหมาะกับเวลาที่จะเรียนรู โดยคํานึงถึงความยากงายและความมากนอยของเนื้อหาวิชา เพื่อจัดประสบการณการเรียนรูใหเหมาะสมกับวัยของผูเรียน

1.2 การตั้งจุดมุงหมาย เพือ่เปนแนวทางในการเรยีนบทเรียนใหเปนไปตามจุดมุง มุงหมายที่ตั้งไว

1.2.1 จุดมุงหมายทั่วไป เปนจุดมุงหมายที่ตั้งขึ้นมากวางๆ และโดยมากเปน จุดมุงหมายของหลักสูตรที่เกี่ยวกับเนื้อหาตอนนั้นๆ จุดมุงหมายทั่วไปนี้ไมสามารถวัดไดหรือไมอาจสังเกตได 1.2.2 จุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม เปนจดุมุงหมายทีใ่หผูเรียนแสดงคุณลักษณะภายในออกมาเปนการพูดหรือการกระทํา พรอมทั้งกําหนดเกณฑพฤตกิรรมในเชิงปริมาณและ คุณภาพที่ปรารถนาไว เมื่อไดพฤติกรรมที่คาดหวังแลวนาํมาพิจารณาใชกับเนื้อหาอะไร วชิาอะไร และตอนใดจะใชส่ือการเรียนอะไร 1.3 การวิเคราะหเนื้อหา เปนการแยกรายละเอียดและเรียงลําดับจากงายไปหายาก โดยระมัดระวัง การขามขั้นตอนที่ควรจะไดกลาวถึงและความสับสนในการเรียงลําดับเนื้อหา ส่ิงใดควรกลาวกอนสิ่งใดควรกลาวทีหลัง การกระทําขั้นนี้เรียกวา “ การวิเคราะหภารกิจ” (Task Analysis) ซ่ึงเปนสิ่งสําคัญมากเพราะทําใหผูเรียนสามารถเขาใจไดดีตลอดบทเรียน 2. ขั้นดําเนินการเขียน ในการเขียนบทเรียนนั้นประกอบดวยหนวยยอย ๆ ที่เรียกวา “กรอบ” โดยเรียงจากกรอบเริ่มตนแลวตามดวยกรอบฝก ทั้งสองกรอบนี้รวมเรียกวา “กรอบสอน”ในกรอบสอนนี้จะปอนความรูทีละนอยจนคาดวาผูเรียนเขาใจดีในเรื่องยอย หรือจุดสอนในกรอบสุดทายของกรอบสอนจะมีกรอบสอนเพื่อดูวาผูเรียนเขาใจเรื่องที่เรียนหรือยังแลวจึงไปยังกรอบฝกตอไป 3. ขั้นนําออกทดลองใชและปรับปรุงแกไข เมื่อสรางชุดการเรียนดวยตนเองสําเร็จแลว กอนที่จะนํามาใชจําเปนตองหาขอบกพรองตางๆของชุดการเรียนแลวนํามาปรับปรุงแกไขตอไป 4. ขั้นการใชผลผลิต เปนขั้นที่นําผลผลิตที่ผานการทดลองทั้ง 3 คร้ังไปใชกับผูเรียนที่อยูในสภาพชั้นเรียนทั่วไป ซ่ึงผูสรางจะตองติดตามผลการใชบทเรียนอยูเสมอ เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงแกไขใหดีขึ้น ชัยยงค พรหมวงศ (2523 : 60-61)ไดเสนอขั้นตอนการสรางชุดการเรียนไวซ่ึงมีขั้นตอนที่สําคัญ 10 ขั้นตอน คือ 1. กําหนดหมวดหมูเนื้อหาและประสบการณ อาจกําหนดเปนหมวดวิชาหรือบูรณาการเปนแบบสหวทิยาการตามที่เห็นเหมาะสม

Page 13: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

30

2. กําหนดหนวยการสอน แบงเนื้อหาวิชาออกเปนหนวยการสอน โดยประมาณเนื้อหาวิชาที่จะใหครูสามารถถายทอดความรูแกผูเรียนไดแตละครั้ง 3. กําหนดหวัเร่ือง ผูสอนจะตองถามตนเองกอนวาในการสอนแตละหนวยควรใหประสบการณแกผูเรียนอะไรบาง แลวกําหนดออกมาเปนหัวเร่ือง

4. กําหนดมโนทัศนและหลกัการ มโนทัศนและหลักการที่กําหนดขึ้นจะตองสอดคลองกับหนวยและหวัเร่ือง โดยสรุปแนวคดิ สาระและหลกัเกณฑสําคัญไวเพือ่เปนแนวทางการจัดเนื้อหามาสอนใหสอดคลองกัน

5. กําหนดวัตถุประสงคใหสอดคลองกับหวัเร่ือง เปนวตัถุประสงคเชิงพฤติกรรมที่ตองมีเงื่อนไขและเกณฑการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไวทกุครั้ง

6. กําหนดกิจกรรมการเรียนใหสอดคลองกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ซ่ึงจะเปนแนวทางเลือกและการผลิตสื่อการสอน 7. กําหนดแบบประเมิน ตองประเมินใหตรงกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมโดยใชแบบทดสอบอิงเกณฑเพื่อใหผูสอบทราบวา หลังจากการผานกิจกรรมมาเรียบรอยแลวผูเรียนไดเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม 8. เลือกและผลิตสื่อการสอน วัสดุอุปกรณและวิธีการที่ครูใชถือวาเปนสื่อการสอนทั้งสิ้น เมื่อผลิตสื่อการสอนของแตละหวัเร่ืองแลว ก็จดัสื่อการสอนเหลานั้นไวเปนหมวดหมูในกลองที่เตรียมไว กอนนําไปทดลองหาประสิทธิภาพ เรียกวา “ชุดการสอน” 9. หาประสิทธิภาพชุดการสอน เพื่อประกันวาชดุการสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพในการสอน ผูสรางตองกําหนดเกณฑขึ้นโดยคํานึงถึงหลักการวาการเรยีนรูเปนกระบวนการที่ชวยใหการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนบรรลุผล 10. การใชชุดการสอน ชุดการสอนที่ไดรับการปรับปรุงและมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่ตั้งไวสามารถนําไปสอนผูเรียนไดตามประเภทของชดุการสอนนั้นๆ เชน ชุดการสอนสําหรับครู ชุดการสอนสําหรับกิจกรรมกลุม ชุดการสอนทางไกล ชุดการสอนรายบุคคล ชุดการเรียนรูดวยตนเอง นิพนธ ศุขปรีดี (2528 :12) กลาววาในการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเองมีลําดับขั้นตอนดังนี้

1. วิเคราะหหลักสูตรเพื่อตั้งจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรมของการเรียน 2. วิเคราะหภารกิจหาเปาหมายยอยของพฤติกรรมสุดทาย

3. จัดทําเนือ้หาสนองเปาหมายยอยในแตละเปาหมายโดยละเอยีดอาจทําออกมาในลักษณะของคําถาม

Page 14: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

31

4. ออกแบบสื่อและกิจกรรมที่จะใหผูเรียนศึกษาเพื่อใหสามารถตอบคําถามได 5. จัดทาํสื่อใหมีแรงจูงใจในการเรียนและเสนอแนะกิจกรรมใหผูเรียนไดมีโอกาสมีสวนรวมในกิจกรรมอยางเสมอภาคทั่วทุกคนและรูผลการเรียนทั่วถึง เพื่อใหทุกคนไดรับการเสริมแรง 6. ตองใหแนใจวาชุดการเรียนรูดวยตนเองที่ทําเสร็จสามารถใชไดในสถานการณจริงจะตองมีการทดลองกับผูเรียนที่เปนตวัอยางของกลุมเปาหมาย 7. ปรับปรุงชุดการเรียนจากขอเสนอแนะในการปรับปรุงทุกดาน การสื่อความหมาย วัสดุที่ใช คาการลงทุนเปนตน

8. นําไปใชในศูนยส่ือการเรยีนและการวจิยัเพื่อปรับปรุงใหทันสมัยอยูตลอดเวลา

สําหรับ ชม ภูมิภาค (2539 : 45) ไดกําหนดขั้นตอนการสรางและพัฒนาชุดการเรียนรูดวยตนเองไวดังนี้ 1) วิเคราะหและกําหนดความตองการ 2) กําหนดเปาหมายและจุดมุงหมาย 3) ออกแบบองคประกอบของระบบ 4) วิเคราะหแหลงวิทยากรที่ตองการ แหลงวิทยาการที่มีอยูและขอจํากัด 5) ปฏิบัติเพื่อขจัดหรือปรับปรุงขอจํากัด 6) เลือกหรือพัฒนาวัสดุส่ือการสอน 7) ออกแบบประเมินผลการกระทําของนักเรียน 8) ทดลองใชกับแบบประเมินเพื่อปรับปรุงและนําไปใช 9) ปรับปรุงแกไขทุกสวนที่บกพรองและหาประสิทธิภาพ 10) ประเมินเพื่อสรุป

จากการที่นักการศึกษาไดกลาวมาขางตนนั้นสามารถสรุปเปนขั้นตอนในการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเองดังนี้ คือ 1) กําหนดจุดมุงหมายของชุดการเรียนรูใหสอดคลองกับความจําเปนของการเรียนรู 2) วิเคราะหเนื้อหาและกําหนดเนื้อหาเปนหนวยยอยใหสอดคลองกับจุดมุงหมาย 3) กําหนดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมใหสอดคลองกับเนื้อหาในหนวยยอยๆ 4) กําหนดสื่อและ กิจกรรมการเรียนใหสอดคลองกับจุดประสงคและเหมาะสมกับการเรียนรูดวยตนเอง 5) จัดสรางชุดการเรียนรูฉบับราง 6) นําชุดการเรียนรูที่สรางไปหาประสิทธิภาพ และปรับปรุงแกไข การปรับปรุงแกไขและหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูดวยตนเอง กรองกาญจน อรุณรัตน (2536 : 246) กลาวถึงการปรับปรุงแกไขชุดการเรียนวา เมื่อสรางชุดการเรียนรูเสร็จเรียบรอยแลวผูเขียนจะตองแกไขปรับปรุงชุดการเรียนซ้ําแลวซํ้าอีก ซ่ึงในการปรับปรุงแกไขมีวิธีทําไดอยู 2 วิธี คือ

1. การประเมินผลของผูเชี่ยวชาญ (Expert Evaluation) โดยจะตองนําชุดการเรียนไปใหผูเชี่ยวชาญทางดานเนื้อหา ดานภาษา ตลอดจน

ผูเชี่ยวชาญทางดานชุดการเรยีนตรวจสอบ จากนั้นก็นําขอเสนอแนะ หรือขอแนะนําของผูเชี่ยวชาญมาทําการปรับปรุงแกไขชุดการเรียน

Page 15: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

32

2. การทดลองใชกับผูเรียน (Learner Try-out) ผูเขียนชุดการเรียนจะตองนําไปทดลองใชกับผูเรียน แลวนําปญหาหรือขอบกพรอง

ที่เกิดขึ้นในระหวางที่ผูเรียนทดลองใชชุดการเรียนนั้นไปปรับปรุงแกไขตอไป เมื่อสรางชุดการเรียนรูดวยตนเองเสร็จแลวจําเปนอยางยิ่งที่จะตองนําไปหาประสิทธิภาพ

(Developmental Testing) หมายถึง การนําชุดการเรียนไปทดลองใช (Try-out) เพื่อปรับปรุงแลวนําไปใช (Trial run) นําผลที่ไดไปปรับปรุงแกไข เสร็จแลวจึงผลิตมาเปนจํานวนมาก ซ่ึงผูวิจัยไดศึกษารายละเอียดดังตอไปนี้ ความจําเปนท่ีตองหาประสิทธิภาพ

ชัยยงค พรหมวงศ (2523 : 253) ไดกลาวถึงเหตุผลความจําเปนหลายประการที่จะตองนําชุดการเรียนมาทดสอบประสิทธิภาพคือ 1. เปนการประกันคณุภาพของชุดการเรียนวาอยูในขั้นสูง เหมาะสมที่จะลงทุนผลิตออกมาเปนจํานวนมาก หากไมมีการหาประสิทธิภาพเสียกอน เมื่อผลิตออกมาใชประโยชนไมไดดีก็จะตองทําใหมเปนการสิ้นเปลืองทั้งเวลา แรงงาน เงินทอง 2. ชุดการเรียนจะทําหนาที่สอน โดยที่สรางสภาพการเรียนรูใหผูเรียนเปลี่ยนพฤติกรรมตามที่มุงหวัง ดังนั้นกอนนําชุดการเรียนไปใชจึงควรมั่นใจวา ชุดการเรียนนั้นมีประสิทธิภาพในการชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูจริงตามเกณฑที่กําหนดไว 3. การทดสอบประสิทธิภาพจะทําใหผูผลิตมั่นใจไดวาเนือ้หาสาระที่บรรจุลงใน ชุดการเรียนเหมาะสม งายตอการเขาใจ อันจะชวยใหผูผลิตมีความชํานาญสูงขึ้น และเปนการประหยดัแรงสมอง แรงงาน เวลา และเงนิทองในการเตรยีมตนฉบับ สอดคลองกับที่สุนันท สังขออง (2536 : 52) กลาววา เมือ่สรางชุดการเรียนรูดวยตนเองเสร็จแลว จําเปนอยางยิ่งทีจ่ะตองนําไปทดสอบหาประสิทธิภาพ ผูสรางตองกําหนดเกณฑในการหาประสิทธิภาพชุดการเรียน หมายถงึการนําชุดการเรียนไปทดลองใชตามขั้นตอนที่กําหนดไว เพื่อนําขอมูลมาปรับปรุงแลวจึงนําไปใชจริง เหตุที่ตองหาประสิทธิภาพของชุดการเรียน มีดังนี้ 1) เพื่อความมัน่ใจวาชุดการเรียนที่สรางขึ้นมีคุณภาพ 2) เพื่อความแนใจวาชดุการเรยีนที่สรางขึ้นนั้นสามารถทําใหการเรยีนการสอนบรรลุวัตถุประสงค และ 3) การทดสอบประสิทธิภาพจะเปนหลักประกนัในการผลิตชุดการเรียนจํานวนมาก มิฉะนัน้จะเสยีเงิน เสียแรงและเสยีเวลาเปลาเพราะผลออกมาแลวใชประโยชนไมได ขั้นตอนการทดลองหาประสิทธิภาพ เมื่อไดทําการผลิตชุดการเรียนขึ้นเปนตนแบบแลวตองนาํชุดการเรียนไปทดลองใชเพื่อ หาประสิทธิภาพดังนี้ (สมศักดิ์ อภิบาลศรี 2537, อางถึงใน สุรพล โคตรนรินทร 2541 : 16)

Page 16: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

33

1. แบบรายบุคคล (Individual Testing) เปนการทดลองใชกับผูเรียน 3 คน โดยใชเด็กเกง ปานกลางและเด็กออน อยางละ 1 คน คํานวณหาประสิทธิภาพ เสร็จแลวปรับปรุงแกไขใหดีขึ้น โดยปกติคะแนนที่ไดจากการทดลองแบบนี้จะไดคะแนนต่ํากวาเกณฑมากแตไมตองวิตกเมื่อปรับปรุงแลวจะสูงขึ้นมากกอนนําไปทดลองแบบกลุม ในขั้นนี้ E1 / E 2 ที่ไดจะมีคาประมาณ 60/60 2. แบบกลุมเล็ก (Small Group Testing) เปนการทดลองกับผูเรียน 6-10 คน (คละผูเรียนที่เกงกับออน) คํานวณหาประสิทธิภาพของสื่อแลวปรับปรุง ในคราวนี้คะแนนของผูเรียนจะเพิ่มขึ้นอีกเกือบเทาเกณฑ โดยเฉลี่ยจะหางจากเกณฑประมาณ 10 เปอรเซ็นต นั่นคือ E1 / E 2 ที่ไดจะมีคาประมาณ 70/70 3. แบบภาคสนาม (Field Testing) เปนการทดลองกับผูเรียน 30-100 คน ทําการหาประสิทธิภาพแลวทําการปรับปรุงแกไข ผลลัพธที่ไดคาใกลเคียงกับเกณฑที่ตั้งไว E1 / E 2 ที่ไดจะมีคาประมาณ 80/80 ในกรณีที่ประสิทธิภาพของชุดการเรียนที่ผลิตขึ้นไมเทากับเกณฑที่กําหนดไว เนื่องจากมีตัวแปรที่ควบคุมไมได จึงอาจอนุโลมใหมีคาคลาดเคลื่อนไว ± 2.5 หากแตกตางกันมาก ผูสอนตองกําหนดเกณฑประสิทธิภาพใหม โดยยึดสภาพความจริงตามเกณฑ เกณฑประสิทธิภาพ ในการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูจําเปนอยางยิ่งที่ผูสรางชุดการเรียนรู ตองกําหนดเกณฑประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูที่สรางขึ้น เพื่อสรางความมั่นใจวาชดุการเรียนที่สรางขึ้นมีคุณภาพและสามารถทําใหการเรียนรูบรรลุวัตถุประสงค ดังที่นักการศึกษาไดกลาวถึงเกณฑประสิทธิภาพไวดังตอไปนี้ ชม ภูมิภาค (2524 : 115-116) ไดกลาววาเกณฑประสิทธิภาพคือระดับประสิทธิภาพของชุดการเรียนที่จะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู เปนระดับที่ผูผลิตชุดการเรียนจะพึงพอใจวา หากชุดการเรียนมีประสิทธิภาพถึงระดับนั้นแลว ชุดการเรียนนั้นก็มีคุณคาที่จะนําไปใชและคุมแกการลงทุนผลิตออกมา การกําหนดเกณฑประสิทธิภาพกระทําไดโดยการประเมินพฤติกรรมของผูเรียน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมตอเนื่อง (กระบวนการ) และพฤติกรรมขั้นสุดทาย (ผลลัพธ) โดยกําหนดคาประสิทธิภาพเปน E1(ประสิทธิภาพของกระบวนการ) และ E2(ประสิทธิภาพของผลลัพธ) ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้ 1. ประเมินพฤติกรรมตอเนื่อง (Transitional Behavior) คือการประเมินผลพฤติกรรมยอยหลายพฤติกรรม เรียกวา “กระบวนการ” (Process) ของผูเรียนโดยพิจารณาจากการประกอบกิจกรรมกลุม และรายบุคคลไดแกงานที่มอบหมายและกิจกรรมอื่นๆ ที่ผูสอนกําหนดไว 2. ประเมินพฤติกรรมขั้นสุดทาย (Terminal Behavior) คือประเมินผลลัพธ(Products) ของผูเรียนโดยพิจารณาจากการทําแบบทดสอบหลังเรียน

Page 17: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

34

สําหรับ อธิพร ศรียมก (2535 : 58) ไดกลาวเกณฑวัดประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูวาประสิทธิภาพของชุดการเรียนหรือชุดการสอนจะกําหนดเปนเกณฑที่ผูสอนคาดหมายวาผูเรียนจะเปล่ียนพฤติกรรมเปนที่พอใจ โดยกําหนดใหเกินเปอรเซนตของประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) ตัวเปอรเซนตของประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) โดยที่ ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) คือการประเมินพฤติกรรมตอเนื่อง (Transition Behavior) ของผูเรียน ไดแก การประกอบกิจกรรม แบบฝกหัดที่กําหนดไว กระทําไดโดยเอาคะแนนทั้งหมดหาคาเฉลี่ยแลวเทียบสวนเปนรอยละ ประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) คือการประเมินพฤติกรรมขั้นสุดทาย โดยพิจารณาจากการสอบหลังเรียน กระทําไดโดยการเอาคะแนนทั้งหมดหาคาเฉลี่ยแลวเทียบสวนเปนรอยละ การที่จะกําหนดเกณฑ E1/ E2 ใหมีคาเทาใดนั้น ใหผูสรางเปนผูพิจารณาความพอใจ โดยปกติเนื้อหาที่เปนความรูความจํามักจะตั้งไว 80/80 , 85/85 หรือ 90/90 สวนเนื้อหาที่เปนทักษะหรือเจตคติอาจตั้งไวต่ํากวานี้ เชน 75/75 สําหรับเกณฑประสิทธิภาพของชุดการเรียนที่ผลิตไดนั้น ชม ภูมิภาค (2524 : 116) กลาววากําหนดได 3 ระดับ คือ

1. สูงกวาเกณฑ เมื่อประสิทธิภาพของชุดการเรียนสูงกวาเกณฑที่ตั้งไวรอยละ 2.5 ขึ้นไป 2. เทาเกณฑ เมื่อประสิทธิภาพของชุดการเรียนเทากับหรือสูงกวาเกณฑที่ตั้งไวไมเกินรอยละ 2.5 3. ต่ํากวาเกณฑ เมื่อประสิทธิภาพของชุดการเรียนต่ํากวาเกณฑที่ตั้งไว แตไมต่ํากวา รอยละ 2.5 ถือวายังมีประสิทธิภาพที่ยอมรับได

สรุปไดวาเมื่อผลิตชุดการเรียนรูดวยตนเองแลวจะตองนําไปหาประสิทธิภาพ โดยอาศัยการทดลอง คือ ใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบและทดลองใชกับผูเรียนแบบหนึ่งตอหนึ่ง ทดลองกลุมยอย ตอจากนั้นนําไปปรับปรุงแกไขแลวนําไปทดลองกับกลุมทดลอง นําผลที่ไดจากการทดลองมาปรับปรุงแกไข ซึ่งในการทดลองใชจะตองมีการหาประสิทธิภาพของชุดการเรียน ซ่ึงเปนกระบวนการที่มีขั้นตอนที่ตอเนื่องอยูตลอดเวลา และเกณฑประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูถาเปนความรูความจํา นิยมตั้งไว 80/80 หรือ 90/90 แตถาเปนเนื้อหาทางดานทักษะหรือเจตคติ นิยมตั้งไวไมต่ํากวา เชน 75/75 สําหรับในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑมาตรฐานของชุดการเรียนรูดวยตนเองที่ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้นไวที่ระดับ 80/80 80 ตัวแรกคือคาประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนจากชุดการเรียนรูดวยตนเอง คิดเปนรอยละของคะแนนเฉลี่ยจากการทําแบบฝกหัดระหวางเรียนของแตละกิจกรรม 80 ตัวหลัง คือ คาประสิทธิภาพของการเรียนที่ผูเรียนไดรับจากการเรียนดวยชุดการเรียนรูดวยตนเอง คิดเปนรอยละของคะแนนเฉลี่ย คิดจากการทําแบบทดสอบยอยประจําชุดหลังเรียน และกําหนดเกณฑยอมรับประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูดวยตนเองไว คือ 80/80 และมีระดับความผิดพลาดไวรอยละ 2.5 โดยแบงออกเปน 3 ระดับ คือ

Page 18: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

35

1. สูงกวาเกณฑ เมื่อชุดการเรียนรูดวยตนเองมีประสิทธิภาพสูงกวารอยละ 82.5 2. เทากับเกณฑ เมื่อชุดการเรียนรูดวยตนเองมีประสิทธิภาพ ระหวางรอยละ 80 - 82.5 3. ต่ํากวาเกณฑ เมื่อชุดการเรียนรูดวยตนเองมีประสิทธิภาพไมต่ํากวารอยละ 80 แตไมต่ํากวารอยละ 77.5

ประโยชนของชุดการเรียนรูดวยตนเอง

ชุดการเรียนรูดวยตนเองเปนนวัตกรรมทางการศึกษา ซ่ึงเปนการเรียนรูรายบุคคลซึ่งผูเรียนสามารถเรียนรูไดตามความสามารถและความสนใจดังที่ นิพนธ ศุขปรีดี ( 2528 : 76-77 ) ไดกลาวถึงประโยชนของชุดการเรียนดวยตนเองวา

1. ใหผูเรียนไดศึกษาดวยตนเอง ชุดการเรียนที่สรางขึ้นผูเรียนจะทําตามคําแนะนําที่บอก ไวในชุดการเรียนนั้นๆ ดวยตนเอง ศึกษาและเรียนรูตลอดจนตอบคําถามดวยตนเอง

2. สรางขึ้นสําหรับการศึกษาตอเนื่อง ชุดการเรียนจะถูกสรางขึ้นโดยเรียงลําดับจากงายไปหายากตามลําดับ ผูเรียนจะเริ่มเรียนตั้งแตชุดแรกแลวก็เรียนแตละชุดตอไปจนจบบทเรียน ผูเรียนมีโอกาสเลือกเรียนในสิ่งที่ถนัดและชอบตามความพอใจจะเรียนอยางไรกอนและอยางไรทีหลัง และจะใหผูเรียนกาวหนาไปเทาไรก็ไดไมมีขีดจํากัด เมื่อจบในแตละหนวยแลวมีโอกาสซักถามความตองการและความสามารถของผูเรียนนั้นๆ

3. เปดโอกาสใหผูเรียนไดใหความสามารถตามความตองการของตนเอง 4. ผูเรียนจะเรียนที่ไหน เมื่อไรก็ไดตามความพอใจของผูเรียน และผูเรียนสามารถใช

เวลาเรียนเพียงใดก็ได นอกจากนี้ ภพ เลาหไพบูลย (2542 : 225) กลาวถึงประโยชนของการใชชุดการเรียนวา 1. ใหผูเรียนไดศกึษาดวยตนเองเปนรายบุคคล หรือเปนกลุมเล็ก ๆ ผูเรียนจะทําตามคําแนะนําที่บอกไวในชุดการเรียนนั้น ๆ ดวยตนเอง 2. สรางขึ้นสําหรับการศึกษาตอเนื่อง ชุดการเรียนจะถูกแบงเปนรายวิชา แตละวิชาถูกแบงเปนหนวยยอยเปนชุดการเรียนขึ้นอีกชุดหนึ่ง ซ่ึงเนื้อหาจะเรียงตามลําดับตอเนื่องกันตั้งแตงายไปหายากและมีความสมบูรณในตัวเอง 3. เปดโอกาสใหผูเรียนกระทํากิจกรรมดวยตนเองเปนขั้นตอนและไดรับประสบการณแหงความสําเร็จ เปนการเสริมแรงที่ทําใหอยากเรียนในขั้นตอไป ชุดการเรียนจะชวยทําใหทุกคน เรียนไดสําเร็จตามอัตราความสามารถของผูนั้น 4. สรางบรรยากาศในการเรียนใหเปนที่พึงพอใจของผูเรียน จะเรียนที่ไหน เมื่อใด และใชเวลาเรียนนานเทาใดก็ไดซ่ึงไมเหมือนกัน

Page 19: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

36

จากสาระดังกลาวแลวขางตนสรุปไดวา ชุดการเรียนมีประโยชนชวยสงเสริมใหผูเรียนเกิดกระบวนการเรียนรูที่สมบูรณและมีประสิทธิภาพ ผูเรียนเกิดอิสระในการเรียนและไดกระทํากิจกรรมดวยตนเอง สามารถนําไปใชไดอยางสะดวก ไมจํากัดเวลาและสถานที่ และผูเรียนสามารถเรียนไดตามความถนัดและสนใจ ดังนั้นผูวิจัยเห็นวาในการพัฒนาชุดการเรียนรูดวยตนเองครั้งนี้มีความเหมาะสมกับครูประจําการซึ่งมีเวลาในการเรียนรูไมเทากัน และมีอิสระที่จะเรียนรูดวยตนเองตามความสะดวกของแตละคน

การเรียนรูดวยตนเอง ครูในยุคปจจุบันจําเปนตองพัฒนาตนเองใหมีความรูความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนใหสอดคลองกับแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู ครูจึงควรเปนบุคคลแหงการเรียนรูที่สามารถแสวงหาความรูดวยตนเองเพื่อความกาวหนาในวิชาชีพอยางเหมาะสม

ความหมายของการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเอง หรือเรียกวา การเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง (Self-directed Learning) เปนแนวคิดของการเรียนรูชนิดหนึ่งที่ใหความสําคัญกับความรับผิดชอบในการเรียนรูในเบื้องตนของผูเรียน ซ่ึง ชัยฤทธิ์ โพธิสุวรรณ (2541 : 4) ไดใหความหมายไววา “การเรียนรูโดยการชี้นําตนเองหมายถึง กระบวนการเรียนรูที่ผูเรียน จะดวยความชวยเหลือสนับสนุนจากภายนอกตัวผูเรียนหรือไมก็ตาม ริเร่ิมการเรียนรู เลือกเปาหมาย แสวงหาแหลงทรัพยากรของการเรียนรู เลือกวิธีการเรียนรูจนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรูของตนเอง”

แนวคิดการเรยีนรูดวยตนเองของผูใหญ โนลส (Knowles 1978 : 31, อางถึงใน วิชญาพร สุวรรณแทน 2541: 51) ไดสรุปทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญไวดังนี ้ 1. ความตองการและความสนใจ (Needs and Interests) ผูใหญจะถูกชกัจูงใหเกดิการเรียนรูไดดีถาหากตรงกับความตองการและความสนใจในประสบการณที่ผานมา 2. สถานการณที่เกี่ยวของกับชีวิต (Life Situation) การเรียนรูของผูใหญจะไดผลดีถาหากถือเอาตัวผูใหญเปนศูนยกลางในการเรียนการสอน 3. การวิเคราะหประสบการณ (Analysis of Experience) เนื่องจากประสบการณเปนแหลงเรียนรูที่มีคุณคามากทีสุ่ดสําหรับผูใหญ

Page 20: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

37

4. ผูใหญตองการเปนผูนําตนเอง (Self-directing) ความตองการที่อยูในสวนลึกของผูใหญคือการมีความรูสึกตองการที่จะนําตนเองได 5. ความแตกตางระหวางบุคคล (Individual Difference) ความแตกตางระหวางบุคคลจะมีมากขึน้เรือ่ย ๆ ในแตละบุคคลเมื่อมีอายุเพิ่มมากขึน้ นอกจากนี้แลว พวงเพ็ญ ชุณหปราณ (2532 : 70-72, อางถึงใน วิชญาพร สุวรรณแทน 2541 : 52) ไดเสนอหลักการที่ควรพิจารณาในการสอนนกัศึกษาที่เปนผูใหญ ดงันี ้ 1. จะตองมีการกระตุนและจงูใจผูเรียน 2. การเรียนการสอนจะตองคาํนึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล โดยเฉพาะความสามารถในการเรยีนรูและแบบแผนการเรียนรูของผูเรียน 3. การเรียนการสอนสิ่งใหมจะตองคํานึงถึงความรูและทศันคติปจจุบันของผูเรียน 4. จะตองมีการเสริมแรงอยางสม่ําเสมอ 5. การเรียนการสอนจะตองเปดโอกาสใหผูเรียนฝกปฏิบัติ 6. ผูเรียนจะตองมีสวนรวมในการเรียนและทดลองสิ่งใหม ๆ โดยไมเปนผูคอยรับฟงแตฝายเดียว 7. ควรมีการแตกความรูออกเปนหนวยยอย ๆ และใหโอกาสในการเรียนทีละขั้น 8. ควรมีการแนะนําและมีครูฝกเพื่อใหเกดิการตอบสนองตอการเรียนรูส่ิงใหม ๆ 9. ควรทําใหผูเรียนเกดิความสําเร็จเปนขั้นตอน 10. ส่ือการเรียนควรจะเสนอเพื่อตอกย้ําการเรียนรูและเปนสิ่งที่มีความหมายสําหรับผูเรียน จากทฤษฎีและหลักการเรียนรูของผูใหญดังกลาวแสดงใหเห็นวาในการจัดประสบการณ ใหผูใหญเกิดการเรียนรูไดดทีี่สุดนั้นคือการจัดใหมกีารเรยีนรูดวยตนเอง (Self-directed Learning) โดยการจดัเนือ้หาสาระใหสอดคลองกับความตองการและสนใจ และควรระลึกเสมอวาอัตราการเรียนรูของผูใหญไมเทากนั

การประเมินผลตามสภาพจริง

การประเมินผลตามสภาพจริง(Authentic Assessment) เปนทางเลือกใหมในการประเมินผลการเรียนทางหนึ่ง ซ่ึงแนวทางการประเมินผลจากสภาพจริงนี้สามารถนํามาใชเพื่อลดบทบาทการประเมินดวยขอสอบมาตรฐาน และการทดสอบอยางเปนทางการดวยขอสอบแบบเลือกตอบลง และพยายามพัฒนาระบบการประเมินในชั้นเรียนโดยการเสริมวิธีการประเมินอยาง

Page 21: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

38

ไมเปนทางการสอดคลองกับธรรมชาติการเรียนการสอนที่เนนนักเรียนเปนศูนยกลางและปฏิบัติจริง การประเมินผลดังกลาวสามารถนําไปสูการพัฒนาผูเรียนอยางแทจริงสามารถประเมินความสามารถ ทักษะ ความคิดขั้นสูงที่ซับซอน ตลอดจนความสามารถในการแกปญหาและการประยุกตใชวิชาตางๆ นอกจากนี้วิธีการประเมินผลดังกลาวเปนการประเมินเชิงบวก เพื่อคนหาความสามารถ จุดเดนและความกาวหนาของผูเรียน รวมทั้งใหความชวยเหลือแกนักเรียนในจุดที่ตองการพัฒนาใหสูงขึ้นเต็มตามศักยภาพ เปนเครื่องมือประเมินผลที่มีประสิทธิภาพที่ใชในการประเมินผลเพื่อพัฒนาผูเรียน (Formative Evaluation) รวมทั้งสามารถใชในการประเมินผลรวม (Summative Evaluation) ในสถานการณการเรียนการสอนที่ใกลเคียงชีวิตจริง เนนนักเรียนเปนศูนยกลาง นักเรียนไดปฏิบัติจริง และนักเรียนเปนผูสรางงาน และสรางความรูโดยครูเปนผูช้ีแนะใหผูเรียนพัฒนาตนเองอยางเต็มความสามารถ ดังนั้น การประเมินผลดังกลาวจะอํานวยประโยชนใหแกครูผูสอนไดพัฒนาผูเรียนใหบรรลุจุดหมายของหลักสูตร สนองความตองการของผูเรียนและสังคมไดเปนอยางดี (กรมวิชาการ 2539 : 1) ความหมายของการประเมินผลตามสภาพจริง การประเมินผลตามสภาพจริงเปนมิติใหมในการประเมินผลการเรียนที่มีการนํามาใชในวงการศึกษาของเราในชวงเวลาไมนานมานี้ ซ่ึงเรียกกันในภาษาอังกฤษวา “Authentic Assessment”สวนในวงการศึกษาของเรามีการใชคําเรียกที่แตกตางกันไป ไดแกคําวา การประเมินตามสภาพที่แทจริง การประเมินผลจากสภาพจริง การประเมินสภาพจริง และการประเมินผลตามสภาพจริง ซ่ึงผูวิจัยขอใชคําวาการประเมินผลตามสภาพจริง โดยมีผูกลาวถึงความหมายของการประเมินผลตามสภาพจริงไวดังตอไปนี้

แครดเลอร (Cradler 1991 : 20) ไดใหความหมายของการประเมินสภาพจริงวา เปนการประเมินสิ่งที่ใหนักเรียนไดแสดงความสามารถในการใชทักษะการคิด และความรูเพื่อแกปญหา (Authentic Approach) สวน เฮอรแมน แอสชบาเชอร และวินเทอร (Herman, Aschbacher, and Winter 1992 : 6, อางถึงใน สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธน 2544 : 91) ไดใหความหมายของการประเมินสภาพจริงไววา เปนงานที่ใชความสามารถระดับสูง ใชทักษะในการแกปญหา ใชกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีความเปนจริง อูสเตอรฮอฟ (Oosterhof 1994 : 255) ไดใหความหมายของการประเมินสภาพจริงไววาเปนการประเมินการแสดงหรือการปฏิบัติงานที่มีคุณคาตอชีวิตนักเรียน นอกจากนี้แลวนักการศึกษาของไทย ไดแก จิราภรณ ศิริทวี (2540 : 65) ไดอธิบายความหมายของการประเมินผลตามสภาพจริงวาเปนการประเมินที่เนนการประเมินทักษะการคิดอยางซับซอน

Page 22: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

39

ความสามารถในการแกปญหาและการแสดงออก การประเมินลักษณะนี้จะมีประสิทธิภาพเมื่อการประเมินเกิดจากการปฏิบัติของนักเรียนในสภาพที่แทจริง การประเมินสภาพจริงครอบคลุมถึงแฟมสะสมงาน การจัดนิทรรศการ การทดลอง การเสนอรายงาน วิธีการที่ประเมินจากสภาพจริง ไดแก การสังเกตเปนระบบและไมเปนระบบ รายบุคคลหรือรายกลุม การทํางานกลุม การสัมภาษณอยางเปนทางการและไมเปนทางการ ขอมูลจากการประเมินตนเองของนักเรียนรวมทั้งการประเมินผลผลิต การสรุปประเมินไดขอมูลมาจากหลายสวน และใชเกณฑคุณภาพประกอบ ดังนั้นในการตัดสินผลการเรียนจะยุติธรรมและสรางสรรคมากกวาการประเมินที่มีผิดและถูก อุทุมพร จามรมาน (2540 : 46) กลาวถึงความหมายของการประเมินสภาพจริงไววา “การวัดและการประเมินกระบวนการทํางานของสมองและจิตใจของผูเรียนอยางตรงไปตรงมาตามสิ่งที่เขาทํา โดยพยายามตอบคําถามวา เขาทําอยางไร และทําไมจึงเปนเชนนั้น การไดขอมูลวา เขาทําอยางไร (How) และทําไม (Why) จะชวยใหครูผูสอนพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน และการสอนของครูผูสอน ทําใหการสอนมีความหมายและทําใหผูเรียนเกิดความอยากเรียนรูตอไป” สวนสมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธน (2544 : 93) กลาวถึงความหมายของการประเมินผลตามสภาพจริงไววาเปนวิธีการประเมินที่ออกแบบมาเพื่อสะทอนใหเห็นพฤติกรรมและทักษะที่จําเปนของนักเรียนในสถานการณที่เปนจริงแหงโลกปจจุบัน (Real World Situation) และเปนวิธีการประเมินที่เนนงานที่นักเรียนแสดงออกในภาคปฏิบัติ (Performance) เนนกระบวนการเรียนรู (Process) ผลงาน (Products) และแฟมสะสมงาน (Portfolio) วิธีการประเมินสภาพจริงจะเปดโอกาสใหนักเรียนมีสวนรวมในการประเมินผลและมีสวนรวมในการจัดกระบวนการเรียนรูของตนเองดวย ดังนั้นวิธีการประเมินวิธีนี้จะชวยในการพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนไดอยางตอเนื่อง สําหรับ กรมวิชาการ, สํานักงานทดสอบทางการศึกษา (2545 : 16) อธิบายความหมายไววา การประเมินสภาพจริงเปนการประเมินจากการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมอยางใดอยางหนึ่ง โดยงานหรือกิจกรรมที่มอบหมายใหผูเรียนปฏิบัติจะเปนงานหรือสถานการณที่เปนจริง (Real Life) หรือใกลเคียงกับชีวิตจริง จึงเปนงานที่มีสถานการณซับซอน (Complexity) และเปนองครวม (Holistic) มากกวางานปฏิบัติในกิจกรรมการเรียนทั่วไป

จากความหมายที่ไดกลาวแลวขางตน สามารถสรุปไดวา การประเมินสภาพจริงเปนกระบวนการรวบรวมขอมูลจากวิธีการทํางานและผลงานที่ผูเรียนทําในสภาพของการแสดงออกจริงในเนื้อหาวิชาหรือเนื้อหาที่สัมพันธกับสาระการเรียนรูที่เรียน เปนการประเมินที่ดําเนินการอยางตอเนื่องตลอดเวลาควบคูไปกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินสภาพจริงเนนการแสดงออก กระบวนการ และผลงาน เพื่อดูพัฒนาการดานตาง ๆ ของผู เรียน โดยจะใหความสําคัญในการชวยเหลือนักเรียนใหประสบความสําเร็จในการเรียนรูและพัฒนาการดานอื่น ๆ

Page 23: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

40

แนวคิดหลักการเกี่ยวกับการประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินผลตามสภาพจริงจําเปนตองอาศัยแนวคิด หลักการเปนพื้นฐาน ซ่ึง

หนวยงานทางการศึกษาและนักวิชาการดานการวัดผลประเมินผลไดกลาวถึงแนวคิดหลักการของการประเมินผลตามสภาพจริงไวดังตอไปนี้

กรมวิชาการ, สํานักงานทดสอบทางการศึกษา (2544 :4-5) กลาววาการประเมินผลที่สอดคลองกับสภาพจริงมีความสัมพันธเกี่ยวของกับการเรียนรูของเด็ก การสอนและการประเมินผลซ่ึงเปนหลักการพื้นฐานดังตอไปนี้

1. หลักการเรียนรู 1.1 การเรียนรูจะเกิดจากรูปธรรมไปสูนามธรรมไดโดยผานการสํารวจ สอบถาม

การสืบสวน การลงมือปฏิบัติจริง การเพิ่มพูนสภาพแวดลอม บรรยากาศแหงการเรียนรู สภาพสังคม ปญหาในชีวิตจริง กระตุนใหเกิดความสัมพันธกับผูเรียน กระบวนการกลุมที่มีการเรียนรูรวมกัน การเรียนรูและการทํางานรวมกันในลักษณะเครือขาย และผูใหญใหการเสริมสราง ช้ีแนะ

1.2 เมื่อเกดิการเรียนรูแลวยอมเขาฝงลึกภายในจิตใจ 1.3 มีความหลากหลายทางสติปญญาที่แตกตางกันซึ่งเกี่ยวของกับการเรียนรู เชน ทางภาษา คณติศาสตร ดนตรี การเคลื่อนไหวทางรางกาย ความเชื่อมั่นในตนเอง ความสัมพันธระหวางบุคคลและอื่นๆ

2. หลักการการสอน 2.1 เปนการสอนที่เนนนักเรยีนเปนศนูยกลางมากกวาเนนทักษะการทองจําเนื้อหาสาระตามหลักสูตร

2.2 การสอนจะตองยอมรบัความแตกตางของนักเรียนในดานตาง ๆ รวมทั้งวิธีการเรียนรู 2.3 กิจกรรมการเรียนการสอนที่ผสมกลมกลืนกับชีวิตของผูเรียน โดยใชกระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายที่นํามาประยกุตใหเกิดกระบวนการเรยีนรูและผลการเรียนตามมา

2.4 การสอนจะรับผิดชอบในเสริมสรางความรูในทุก ๆ สาขาวิชา 2.5 สอนกระบวนการตาง ๆ ที่จะนําไปใชในการเรียนรูเพื่อเปนการเปลี่ยนบทบาทให

นักเรียนเปนผูเรียนรูดวยตนเองเพื่อนําไปใชแสวงหาความรู สรางสรรคงานและใชในการดํารงชีวติตอไป

2.6 การเรียนการสอนมุงพฒันานักเรยีนเปนรายบุคคลใหไดมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได 2.7 เนนประสบการณที่หลากหลายทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน

Page 24: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

41

3. หลักการวัดผลและการประเมินผล 3.1 การประเมนิเปนสวนหนึง่ของกระบวนการเรียนรูจึงควรเปนการวัดกระบวนการ

พัฒนาของผูเรียนในดานตางๆ และดําเนนิการตอเนื่องตลอดเวลาเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน 3.2 การประเมนิจะอยูบนพืน้ฐานคุณภาพของความเขาใจของนกัเรียนและการพัฒนา

ผลงานและโครงการมากกวาจะตอบคําถามจากขอสอบเลือกตอบ ซ่ึงจะเกีย่วของกับงานในโลกที่แทจริงนอย และควรพิจารณาจากขอมูลหลาย ๆ แหลงดวยวิธีการไดขอมูลมาอยางหลากหลาย

3.3 ส่ิงที่จะประเมินควรเปนทักษะที่สูงขึ้นจากทักษะพื้นฐาน รวมทั้งกระบวนการคิดเพื่อแกปญหา และการประยุกตความรูไปใชในสถานการณจริงหรือคลายจริง มุงวัดแนวลึกมากกวาแนวกวาง

3.4 งานที่จะนํามาประเมินประกอบดวยงานที่มีความหมาย มีประโยชนจริง ๆ ที่นักเรียนไดทําในบริบทตาง ๆ เชนในวิชาวิทยาศาสตร นักเรียนเขียนสื่อ เขียนบทความไปลงหนังสือพิมพ การฝกงานจริงทั้งในและนอกโรงเรียน

3.5 การประเมินมีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาการเรียนรูของนักเรียน เพื่อผูสอนใช ตัดสินใจเกี่ยวกับการสอนและเนนการวัดและการประเมินรวมกันระหวางครูและนักเรียน โดยนักเรียนไดใหขอมูลยอนกลับ

3.6 ผลการประเมินจะใหขอมูลทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปรมิาณของนักเรยีนที่เกีย่วกับการคิด การทาํอะไร ทําอยางไร รูสึกอยางไร รวมทั้งบคุลิกลักษณะตาง ๆ

จากหลักการที่กลาวมาแสดงใหเห็นวาการเรียน การสอน และการวดัผลประเมินผลมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกนัเสมอ โดยทีก่ารประเมินผลตามสภาพจริงจะชวยสะทอนภาพการเรียน การสอนและการวัดผลประเมินผล เพื่อนําไปสูการเสริมสรางพัฒนาการของผูเรียนไดเปนอยางด ี

นอกจากนี้ กรมวิชาการ (2539 : 27) ไดกลาวถึงหลักการที่จําเปนของการประเมินผลตามสภาพจริงไวดังนี้

1. เปนการประเมินความกาวหนาและการแสดงออกของนักเรียนแตละคน (มิใชเปรียบเทียบกบักลุม) บนรากฐานของทฤษฎีทางพฤติกรรมการเรียนรู และดวยเครือ่งมือประเมินที่หลากหลาย

2. การประเมินผลจากสภาพจริงจะตองมีรากฐานบนพัฒนาการและการเรียนรูทางสติปญญาที่หลากหลาย

3. การประเมนิผลจากสภาพจริงและการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมจะตองจัดทําใหสงเสริมซึ่งกันและกัน คือจะตองพัฒนามาจากบริบทที่มรีากฐานทางวฒันธรรมที่นักเรียนอาศัยอยู และที่ตองเรียนรูใหทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก

Page 25: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

42

4. ความรูในเนื้อหาสาระทั้งในทางกวางและลึกจะนําไปสูการพัฒนาใหนักเรียนเรียนรูมากขึ้น เพื่อใหผูเรียนไดบรรลุเปาหมาย สนองความตองการ และเสริมสรางศักยภาพของผูเรียนอยางเต็มที่

5. การเรียน การสอน การประเมิน จะตองหลอมรวมกันและการประเมินตองประเมินตอเนื่องตลอดเวลาที่ทําการเรียนการสอน โดยผูเรียนมีสวนรวม

6. การเรียน การสอน การประเมิน เนนการปฏิบัติจริงในสภาพทีส่อดคลองหรือใกลเคียงกับธรรมชาติความเปนจริงของการดําเนินชวีิตงาน กิจกรรมการเรียนการสอน เปดโอกาสใหผูเรียนไดคดิงานดวยตนเอง

7. การเรียนการสอนจะตองเปนไปเพื่อพัฒนาศักยภาพใหเต็มที่ สูงสุดตามสภาพที่เปนจริงของแตละบุคคล

ดังนั้นในการประเมินผลตามสภาพจริงจะเกีย่วของกบัหลักการพื้นฐาน ไดแก หลักการเรียนรูของผูเรียน หลักการสอนและหลักการประเมินผล ซ่ึงการเรียนรู การสอนและการประเมินผลจะตองเกี่ยวเนื่องกันเสมอ ไมควรแยกจากกัน นอกจากนั้นในการประเมนิผลตามสภาพจริงยังตองอาศัยหลักการที่จําเปนดังกลาวแลวขางตน

ลักษณะสําคัญของการประเมินผลตามสภาพจริง

การประเมินในยุคใหมจะมีลักษณะเดนที่เนนการประเมินพัฒนาการของนักเรียนและประสิทธิภาพการเรียนการสอน การประเมินดังกลาวจะครอบคลุมสภาพความเปนจริงและสอดคลองกับการแสดงออกของนักเรียนทั้งกระบวนการ และผลผลิตซึ่งเกี่ยวกับแฟมผลงาน (Portfolios) การบันทึกความเห็น แบบสํารวจรายงาน นิทรรศการและโครงงาน เกี่ยวกับวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และการเขียนรวมทั้งวิชาตางๆ

การประเมินผลในยุคใหม จะเนนการมีสวนรวมอยางมากระหวางนักเรียน ครูและผูปกครอง โดยมีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพของผูเรียนแตละคนใหนําไปสูบุคคลที่มีคุณภาพตามตองการในทศวรรษหนา โดยเฉพาะความสามารถในการสื่อสาร ความรวมมือกัน และการคิดอยางมีวิจารณญาณ ซ่ึงกรมวิชาการ (2539 :14) ไดสรุปลักษณะสําคัญของการประเมินผลตามสภาพจริงดังนี้

1. ตองเสริมสรางพัฒนาการและการเรียนรู 2. เนนใหเหน็พัฒนาการอยางเดนชัด 3. ใหความสําคัญกับจุดเดนของนักเรียน

4. จะตองตอบสนองกับหลักสูตรทีเ่นนสภาพชวีติจริง

Page 26: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

43

5. มีพื้นฐานของสถานการณที่เปนชวีิตจริง 6. มีพื้นฐานบนการแสดงออกจริง 7. สอดคลองกับการเรียนการสอน 8. การจัดการเรียนการสอนจะมีวิจยัและพฒันาใหสอดคลองกับพัฒนาการของเด็ก 9. จะตองเนนการเรียนรูอยางมีจุดหมาย 10. ตอบสนองไดกับทุกบรบิท เนื้อหาสาระและการบูรณาการวิชาตางๆ 11. ตอบสนองการเรียนรูและความสามารถของนักเรียนอยางกวาขวาง 12. เกิดความรวมมือกันระหวางผูปกครอง ครูและนักเรยีน รวมทั้งบุคคลในวิชาชีพอ่ืนๆ นอกจากนี้ เบอรค ฟอการทตี้ และเบลแกรด (Burke, Fogarty and Belgrad 1994 : 7,

อางถึงใน สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ 2542 : 2-4) กลาววาลักษณะสําคัญของการประเมินผลตามสภาพจริงคือ

1. งานที่ปฏิบัติเปนงานที่มีความหมาย (Meaningful Task) งานที่ใหนักเรยีนปฏิบัติตองเปนงานที่สอดคลองกับชีวิตจริงในชวีิตประจําวนั เปน

เหตุการณจริงมากกวากิจกรรมที่จําลองขึ้นเพื่อใชในการทดสอบ 2. เปนการประเมินรอบดานดวยวิธีการที่หลากหลาย (Multiple Assessment) เปนการประเมินนักเรยีนทกุดาน ทั้งความรู ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะ

นิสัย โดยใชเครื่องมือที่เหมาะสม สอดคลองกับวิธีแหงการเรียนรูและพัฒนาการของนักเรียน เนนใหนกัเรียนตอบสนองดวยการแสดง สรางสรรค ผลิตหรือทํางาน ในการประเมินตองประเมินหลาย ๆ คร้ังดวยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม เนนการลงมือปฏิบัติมากกวาการประเมินความรู

3. ผลผลิตมีคุณภาพ (Quality Products) นักเรียนจะมีการประเมินตนเองตลอดเวลา และพยายามแกไขจุดดอยของตนเอง

จนกระทั่งไดผลงานที่ผลิตขึ้นอยางมีคุณภาพ นักเรียนเกิดความพึงพอใจในผลงานของตนเอง มีการแสดงผลงานของนักเรียนตอสาธารณชน เพื่อเปดโอกาสใหผูอ่ืนไดเรียนรูและชื่นชมจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียนมีโอกาสเลือกปฏิบัติงานไดตามความพึงพอใจ นอกจากนัน้ยงัจําเปนตองมีมาตรฐานของงาน หรือสภาพความสําเร็จของงานที่เกิดจากการกําหนดรวมกันระหวางครู นักเรียน และอาจรวมถึงผูปกครองดวย มาตรฐานหรือสภาพความสําเร็จดังกลาวจะเปนสิ่งที่ชวยบงบอกวางานของนักเรียนมีคุณภาพอยูในระดับใด

4. ใชความคิดระดับสูง (Higher – order Thinking)

Page 27: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

44

ตองพยายามใหนักเรยีนแสดงออกหรือผลิตผลงานขึ้นมา ซ่ึงเปนผลงานที่เกิดจากการคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมินทางเลือก ลงมือกระทํา ตลอดจนการใชทักษะการแกปญหาเมื่อพบปญหาที่เกิดขึ้น

5. มีปฏิสัมพันธทางบวก (Positive Interaction) นักเรียนตองไมรูสึกเครียดหรือเบื่อหนายตอการประเมิน ครู ผูปกครองและนักเรียน

ตองเกิดความรวมมือที่ดีตอกันในการประเมิน และใชผลการประเมินมาแกไขปรับปรุงนักเรียน 6. งานและมาตรฐานตองชัดเจน (Clear Tasks and Standard)

งานและกิจกรรมที่จะใหนักเรียนปฏิบัติตองมีขอบเขตที่ชัดเจน สอดคลองกับจุดหมายหรือสภาพที่คาดหวังทีต่องการใหเกดิพฤตกิรรมดังกลาว

7. มีการสะทอนตนเอง (Self Reflections) ตองมีการเปดโอกาสใหนกัเรียนแสดงความรูสึก ความคิดเห็น หรือเหตุผลตอการ

แสดงออก การกระทํา หรือผลงานของตนเองวา ทําไมถึงปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ทําไมถึงชอบ ทําไม ถึงไมชอบ

8. มีความสัมพันธกบัชีวิตจริง (Transfer into Life) ปญหาเปนสิ่งเราใหนักเรียนไดตอบสนอง ตองเปนปญหาที่สอดคลองกับ

ชีวิตประจําวัน พฤติกรรมที่ประเมินตองเปนพฤติกรรมที่แทจริง ที่เกดิขึ้นในชวีิตประจําวนั ทั้งที่โรงเรียนและที่บาน ดังนั้นผูปกครองนักเรียนจึงนับวามบีทบาทเปนอยางยิ่งในการประเมินตามสภาพที่แทจริง

9. เปนการประเมินอยางตอเนื่อง (Ongoing or Formative) ตองประเมินนกัเรียนตลอดเวลาและทุกสถานที่อยางไมเปนทางการ ซ่ึงจะทําใหเหน็

พฤติกรรมที่แทจริง เห็นพฒันาการ คนพบจุดเดนและจุดดอยของนกัเรียน 10. เปนการบรูณาการความรู (Integration of Knowledge)

งานที่ใหนักเรียนลงมือปฏิบัตินั้นควรเปนงานที่ตองใชความรูความสามารถและทักษะที่เกิดจากการเรียนรูในสหสาขาวิชา ลักษณะสําคัญดังกลาวจะชวยแกไขจุดออนของการวัดและประเมินผลแบบเดิมที่พยายามแยกยอยจุดประสงคออกเปนสวน ๆ เรียนรูและประเมินเปนเร่ือง ๆ ดังนั้นนักเรียนจึงขาดโอกาสที่จะบูรณาการความรูและทักษะจากวิชาตาง ๆ เพื่อใชในการปฏิบัติงาน หรือแกปญหาที่พบซึ่งสอดคลองกับชีวิตประจําวันที่งานแตละงานหรือปญหาแตละปญหานั้นตองใชความรูความสามารถและทักษะจากหลาย ๆ วิชามาชวยในการทํางานหรือแกไขปญหา

Page 28: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

45

นอกจากนั้น ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช (2540 : 57) ไดกลาวสรุปถึงลักษณะสําคัญของการประเมินผลตามสภาพจริงไวดังตอไปนี ้

1. การประเมนิผลตามสภาพจริงเปนการประเมินความสามารถ ความรูสึก และทกัษะที่สอดคลองกับชีวิตจริง

2. การประเมนิผลตามสภาพจริงเปนการคัดเลือกผลงานเพื่อการประเมิน ดังนั้นผลงานควรเปนผลงานที่มีคุณคา (Worthy) และทาทาย

3. การประเมนิผลตามสภาพจริง จะใชกระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมขอมูลจากงานและวิธีการทีน่กัเรียนทาํ เพื่อเปนพื้นฐานของการตัดสินความสามารถ

4. การประเมนิผลตามสภาพจริงจะไมเนนเฉพาะการประเมินทักษะพื้นฐาน แตจะเนนการประเมินทกัษะความคิดซับซอนในการทํางานของนักเรียน ความสามารถทางการแกปญหา และการนําไปใช

กลาวโดยสรุป ลักษณะสําคัญของการประเมินผลตามสภาพจริงเปนการวัดและประเมินผลตามสภาพที่แทจริงของผูเรียน อยูบนพื้นฐานของเหตุการณในชีวิตจริง โดยจะไมเนนเฉพาะทักษะพื้นฐาน แตจะเนนการประเมินทักษะการคิดซับซอนในการทํางาน ความสามารถในการแกปญหา และการนําไปใช โดยใชกระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมขอมูลจากงานและวิธีการที่นักเรียนทํา และทักษะที่สอดคลองกับชีวิตจริง

วิธีการและเครื่องมือท่ีใชในการประเมินผลตามสภาพจริง

กรมวิชาการ (2544 : 5-6) กลาววาการประเมินผลตามสภาพจริงเปนกระบวนการวัดความรูความสามารถหลายอยางตอเนื่องกัน ประสานกับการเรียนรูงาน การเรียนรูตองเกาะเกี่ยวกัน การเรียนคือการทํางาน โดยประยุกตใชความรูความสามารถ ความถนัดพรอมลงมือกระทําดวยตนเองในสภาพของบริบทในโลกแหงความเปนจริง การเรียนการสอน การวัดการประเมินเนนที่การพัฒนาตนเอง เพราะคนเรามีความแตกตางระหวางบุคคล ถาผลงานออกมาไมมีคุณภาพตองแกไขปรับปรุง และที่สําคัญตองมีการประเมินตนเอง สวนครูจะตองประเมินโดยเนน “4 P” ของการประเมิน คือ การแสดงออก (Performance) กระบวนการ (Process) ผลงาน (Products) และแฟมสะสมงาน (Portfolios) โดยการประเมินควบคูกันดังนี้

1. การประเมินการแสดงออกและกระบวนการ (Performance and Process) โดยครูผูสอนดูพฤติกรรมรายบุคคลและความสัมพันธระหวางกลุม เนนการ

ประเมินการแสดงออก ครูสังเกตพฤติกรรมของผูเรียนขณะที่ทํางานและกิจกรรมตาง ๆ ครูผูสอนจะตองสังเกตสีหนาทาทาง การพูดโตตอบ การแสดงออกที่สนุกสนานเพลิดเพลิน รวมทั้งการ

Page 29: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

46

แสดงออกในการพูดโตตอบ ความเขาใจในเรื่องราวในเรื่องที่เรียน เปนตน สําหรับการประเมินกระบวนการซึง่จะตองควบคูกับการแสดงออก โดยครูสังเกตการเคลื่อนไหว กิริยาทาทาง ความรวมมือ ความคลองแคลว ความอดทน การใชอุปกรณเครื่องมือตาง ๆ ในระหวางการเรียนการปฏิบัติงาน รวมทั้งการมีปฏิสัมพันธกับเพือ่นและผูใหญ เปนตน

2. การประเมินกระบวนการและผลงาน (Process and Products) ในการประเมินผลงาน ผูเรียนจะเปนสื่อกลางใหครูผูสอนเขาใจกระบวนการเรียนรู

ของผูเรียน ขอมูลสําคัญที่เกิดจากการสํารวจคนควา ทดลองและโครงงานตาง ๆ จุดเนนของการประเมินผลตามสภาพจริงจะไมพิจารณาเฉพาะผลงานเทานั้น แตจะเนนที่กระบวนการที่มีตอผลงาน ตัวอยางผลงาน เชน แผนงาน โครงงาน ผลการสาธิต การจัดนิทรรศการ แผนภูมิ แผนภาพ เกมสตาง ๆ โครงการกลุม เปนตน

3. การประเมินแฟมสะสมงาน (Portfolios) เปนวิธีการที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งในการประเมินการแสดงออก กระบวนการและผลงาน หมายถึงการประเมินความสําเร็จของผูเรียนจากผลงานที่เปนชิ้นงานที่ดีที่สุดหรือผลงานที่แสดงถึงความสนใจ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ และพัฒนาการของผูเรียนที่ไดเรียนรูมาชวงระยะหนึ่ง ซ่ึงแสดงใหเห็นถึงสิ่งที่เขาประสบความสําเร็จ วิธีการในการประเมินผลตามสภาพจริง การจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพที่แทจริง ซ่ึงเนนนักเรียนเปนศูนยกลาง เนนการลงมือปฏิบัติ พัฒนาการ การทํางานรวมกัน และสอดคลองกับเหตุการณในชีวิตจริงนั้น จําเปนตองเลือกใชวิธีการและเครื่องมือวัดผลที่เหมาะสมสอดคลองกับจุดประสงคและกิจกรรมการเรียนรูดวย เพื่อใหสามารถประเมินความสามารถของนักเรียนไดอยางถูกตองตามสภาพที่แทจริง กรมวิชาการ (2544 : 16-19) สรุปวา การประเมินผลตามสภาพจริงเปนการประเมินแบบบูรณาการ วัดพฤติกรรมทั้งพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย เพราะเปนการประเมินที่ใหนักเรียนลงมือปฏิบัติจริงในสถานการณที่เปนจริงหรือคลายจริง เนนการพัฒนาและประเมินตนเองทั้งความรู ความคิด ความรูสึก สะทอนออกมาวาตนไดอะไร รูอะไร รูสึกอยางไร ดังนั้นวิธีการประเมินจะไมวัดและประเมินจากแบบทดสอบเพียงฉบับเดียว การวัดการประเมินจึงจําเปนตองมีวิธีการประเมินที่หลากหลายดังนี้

1. การสังเกต การสังเกตคือการตรวจสอบกระบวนการปฏิบัติงานหรือพฤติกรรมของบุคคลโดย

การใชตาและหูเปนเครื่องมือสําคัญในการดูพฤติกรรมของบุคคลหรือกกลุมคน แลวจดบันทึกไว ดังนั้นการประเมินโดยการสังเกต ก็คือการตรวจสอบกระบวนการและผลการปฏิบัติจริง การใช

Page 30: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

47

วิธีการสังเกตจะทําใหครูผูสอนไดรับรูเร่ืองราวและพฤติกรรมของผูเรียนแตละคนไดอยางละเอียด การประเมินโดยการสังเกตจะไดรับรูขอมูล 2 ประการ คือ

1.1 ความสามารถและทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของผูเรียน โดยจะพิจารณาในประเด็นที่วา นักเรียนสามารถปฏิบัติอยางไรมากกวา จะวัดวานักเรียนรูอะไร โดยแยกเปน 2 สวนคือ สวนแรก การประเมินกระบวนการทํางาน (Process) เปนการประเมินลําดับขั้นตอนการทํางานของนักเรียน เชน วิธีการแกปญหา วิธีการพูด วิธีการใชเครื่องมือในการทดลอง วิธีการวาดภาพ ผูประเมินจะตองใชเวลาในการสังเกตการปฏิบัติทุกขั้นตอน และตั้งจุดมุงหมายวาจะสังเกตอะไรบางโดยเนนประสิทธิภาพ ความแมนยําของการดําเนินการ ขณะประเมินจะตองใหผูถูกประเมินอยูในสภาวะที่เปนธรรมชาติมากที่สุด และสวนที่ 2 การประเมินผลงาน (Product) จะตองมีเกณฑในการประเมินเปนมาตรฐานเดียวกัน ในวิชาเดียวกัน เชน การรอยมาลัย ประเด็นการประเมินอาจเปนความประณีต ความสวยงาม การเลือกใชวัสดุหรือผลสําเร็จของงาน ซ่ึงเปนการมุงหวังใหนักเรียนทําใหไดถึงระดับ ผูประเมินอาจจะเปนผูสังเกตโดยตรงหรือครูผูสอนเปนผูสังเกตเปนผูสังเกตเพื่อการประเมินก็ได

1.2 พฤติกรรมของผูเรียน ดวยการสังเกตพฤติกรรมดานคุณลักษณะของนักเรียน เชน ขณะที่อยูในหองเรียน นักเรียนมีพฤติกรรมอยางไร มีความตั้งใจทํางาน มีความรับผิดชอบ หรือมีวินัยในตนเองหรือไม ใหความรวมมือกับผูอ่ืน มีความสนใจอยางไร

2. การตรวจงาน การตรวจงานของครูไมใชการกาสีแดงในสิ่งที่ผิดหรือไมควรประพฤติเทานั้น แต

ตองสงเสริมเพื่อเปนการปรบัปรุงพฤติกรรมใหเหมาะสมยิ่งขึ้นหรือแกไขใหถูกตอง 3. การประชุมรวมกัน อาจเปนทางการหรือไมเปนทางการก็ได ครูจะใชการประชุมนี้ทบทวนและวิเคราะห

การเรียนของนักเรียน และใชการประชุมวางแผนการดําเนินการเรียนขั้นตอไป การบันทึกผลการประชุมจะงายกวาการบันทึกการสังเกต การประชุมรวมกันจะเปนอีกสวนหนึ่งในการประเมินผล 4. การประเมินจากการเขียน

การเขียนเปนสวนสําคัญอีกสวนหนึ่งของการประเมินในสภาพความเปนจริง การเขียนเปนธรรมชาติหรือใหเปนไปตามความตองการของผูเรียน การเขียนจะสะทอนใหเห็นถึงความรูสึกนึกคิด นิสัยการทํางาน ทักษะการเรียน ตลอดจนทักษะทางสังคมดวย 5. การทดสอบขอเขียน การทดสอบยังมีความจําเปน เพราะการทดสอบที่ใหผูเรียนเขียนคําตอบเอง สะทอนใหเห็นถึงแนวความคิดของผูเรียน ซึ่งเปนรูปแบบของการทดสอบขอเขียน จะมีตั้งแต เขียนแลว

Page 31: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

48

ใหผูเรียนบรรยาย การทดสอบโดยเปดหนังสือได การสืบสวนสอบสวนแบบงาย ๆ เปนตน 6. การทดสอบดวยแบบทดสอบมาตรฐาน

การทดสอบดวยแบบทดสอบมาตรฐานอาจจะวัดไดไมตรงตามสภาพความสามารถที่แทจริง แตผลการสอบยังมีประโยชนในแงของการวัดความสามารถพื้นฐานที่จําเปนและเก็บผลการทดสอบไวเปนขอมูล ซ่ึงจะยังประโยชนแกผูเรียนและครูผูสอนที่จะทราบถึงจุดที่ผูเรียนเขาใจและไมเขาใจ เพื่อที่จะใชในการสงเสริมหรือแกไข ปรับปรุงในสิ่งที่ผูเรียนยังไมเขาใจได 7. การเขียนรายงาน

เปนการใหนักเรียนเขียนรายงานเกี่ยวกับพฤติกรรมของตนเองหรือการสัมภาษณ เพียงแตไมมีคนคอยตอบคําถามเทานั้นเอง 8. การประเมินตนเอง

ผูเรียนอาจจะนําการบันทึกของครู การเขียนรายงานผลงานของตน ตลอดจนการสะทอนความรูสึกหรือการประเมินตนเองที่เก็บไวในแฟมสะสมงาน ออกมาทําเปนรายงานความกาวหนาของตนและประเมินตนเองได การประเมินตนเองเปนวิธีการหนึ่งที่สามารถฝกความสมารถใหผูเรียนไดรูถึงจุดเดน จุดดอย สามารถวิเคราะห วิจารณพฤติกรรมของตนเอง เพื่อใชเปนแนวทางในการปรับปรุงแกไข พัฒนาศักยภาพของตนเองไดในที่สุด 9. การสัมภาษณ

การสัมภาษณเปนวิธีการหนึ่งที่ทําใหรูวาเหตุการณที่เกิดขึ้นในตอนที่ผูประเมินไมไดสังเกตดวยตนเองนั้น เหตุการณเปนอยางไร หรือนักเรียนมีความคิดอยางไรเกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดขึ้นระหวางที่อยูในสถานการณเดียวกัน และวิธีการสัมภาษณยังเอื้อประโยชนตอครูผูสอนในแงของการตรวจสอบความเชื่อมั่นของการประเมินในกรณีที่ไดประเมินผูเรียนจากวิธีการอันหลากหลายดังกลาวขางตนแลว เพื่อความมั่นใจในผลการประเมิน ครูผูสอนสามารถตรวจสอบไดจากการสัมภาษณ พูดคุย ถาเปนการสัมภาษณแบบไมเปนทางการจะทําใหไดขอมูลเพิ่มเติม หรือเห็นพฤติกรรมไดชัดเจนใกลเคียงสภาพความเปนจริงของผูเรียนไดมากยิ่งขึ้น 10. การประเมินแฟมสะสมงาน

การประเมินแฟมสะสมงานเปนสวนสําคัญของการประเมินผลจากสภาพจริงโดยการประเมินผลผลิตที่นักเรียนไดรวบรวมและจัดระบบขอมูลเก็บไวในแฟมผลงาน กระบวนการจัดทําแฟมผลงานชวยใหมีความยืดหยุนในการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรและพัฒนาเนื้อหาสาระในวิชาตางๆ แฟมผลงานเปนการเก็บรวบรวมงานอยางมีจุดประสงคจะแสดงใหเห็นถึงความสามารถ กระบวนการ และผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน

แฟมสะสมงานของนักเรียนเปนที่รวบรวมทั้งความรูความสามารถ ความรูสึกนึกคิด

Page 32: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

49

ผลจากการที่ผูเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง ดังนั้นการประเมินจากแฟมสะสมงานจะสามารถวัดและประเมินไดทั้งพุทธิพิสัย จิตพิสัยและทักษะพิสัย นอกจากนี้แลวแฟมสะสมงานสามารถมองเห็นภาพรวมของผูเรียนไดตลอดตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน และอาจประเมินคาดการณถึงอนาคตไดอีกดวย แฟมสะสมงานจะมีการเก็บสะสมสิ่งตาง ๆ ที่เปนตัวแทนของผูเรียนในระยะเวลาตาง ๆ กันเปนภาพหลายมิติ การวัดจึงไมใชการวัดเพียงจุด ๆ เดียว สามารถยอนดูอดีตของผูเรียนไดวาเคยทําอะไรได มีลักษณะเดน ดอยในเรื่องใด เพราะมีหลักฐานการจดบันทึกไว จะไมมีการตัดสินคะแนนเปนไดหรือตก การจัดทําแฟมสะสมงานจะมีขั้นตอน กระบวนการ เปนกิจกรรมที่รวมกันหลาย ๆ ฝาย ทั้งผูเรียน ผูสอน ผูปกครองและผูที่เกี่ยวของตลอดจนถึงชุมชน การคัดเลือกผลงานไวในแฟมเปนสิ่งที่ผูเรียนเลือกดวยตนเองและมีครูเปนผูช้ีแนะ ทายสุดของการประเมินแฟมสะสมงานจะมีทั้งการประเมินเพื่อผลการเรียนและประเมินเพื่อความภูมิใจหรือเพื่อความรูสึกเปนเจาของ เปนผูประสบผลสําเร็จ ผู เ รียนจะเปนผูนํา เสนอผลงานที่ดีที่ สุดของตน แสดงความเห็นวิพากษวิจารณตนเองและใหเพื่อนวิจารณ โดยนําเสนอหนาชั้นเรียน จัดนิทรรศการตอชุมชน เปนตน การที่จะเลือกใชวิธีการประเมินผลตามสภาพจริงขึ้นอยูกับสถานการณการเรียนในขณะนั้น ซ่ึงอาจใชวิธีการหลากหลายตามความเหมาะสม แตทายที่สุดแลวผลของการประเมินที่ไดนั้นจะจัดรวบรวมใหเปนระบบระเบียบโดยใชแฟมสะสมงาน (Portfolios) ซ่ึงจะเปนแหลงการเก็บสะสมงานหรือขอมูลสารสนเทศทั้งหมดของผูเรียนไว ทําใหมองเห็นภาพของผูเรียนแตละคนอยางชัดเจน นอกจากนั้นยังสามารถตรวจสอบกิจกรรมการเรียนการสอน และประเมินการสอนของครูไดดวย ดังนั้นการประเมินแฟมสะสมงานจึงเปนการประเมินที่สอดประสานเปนอันหนึ่งอันเดียวกันกับกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนั้นกรณีผลการประเมินไมเปนที่นาเชื่อถือในเรื่องของการประเมินไมตรงหรือไมสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอนก็จะไมเกิดขึ้น เพราะการประเมินจากแฟมสะสมงานเปนการประเมินจากผลของกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผูเรียนไดลงมือปฏิบัติจริงดวยตนเองในสถานการณที่เปนจริงหรือคลายจริงมากที่สุด สําหรับสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2541 : 146-151) กลาววาวิธีการประเมินผลตามสภาพจริงอาจใชวิธีการตอไปนี้

1. การสังเกต เปนวิธีการที่ดีมากวิธีหนึ่งในการเก็บขอมูลพฤติกรรมดานการใชความคิด การปฏิบัติงาน และโดยเฉพาะดานอารมณ ความรูสึกและลักษณะนิสัย สามารถทําไดทุกเวลาทุกสถานที่ ทั้งในหองเรียน นอกหองเรียน หรือในสถานการณอ่ืนนอกโรงเรียน

2. การสัมภาษณ เปนอีกวิธีหนึ่งที่ใชเก็บขอมูลพฤติกรรมดานตาง ๆ ไดดี เชน ความคิด(สติปญญา) ความรูสึก กระบวนการขั้นตอนในการทํางาน วิธีการแกปญหา ฯลฯ อาจใชประกอบการสังเกตเพื่อใหไดขอมูลที่มั่นใจยิ่งขึ้น

Page 33: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

50

3. การตรวจงาน เปนการวัดและประเมินผลที่เนนการนําผลประเมินไปใชทันทีใน 2 ลักษณะคือ เพื่อการชวยเหลือนักเรียนและเพื่อการปรับปรุงการสอนของครู จึงเปนการวัดประเมินที่ควรดําเนินการตลอดเวลา เชน การตรวจแบบฝกหัด ผลงานภาคปฏิบัติ โครงการ / โครงงานตาง ๆ เปนตน งานเหลานี้ควรมีลักษณะที่ครูสามารถประเมินพฤติกรรมระดับสูงของนักเรียนได เชน แบบฝกหัดที่เนนการเขียนตอบ เรียบเรียง สรางสรรค (ไมใชแบบฝกหัดที่เลียนแบบขอสอบเลือกตอบซึ่งมักประเมินไดเพียงความรู ความจํา) งาน โครงการ โครงงานที่เนนการใชความคิดขั้นสูง ในการวางแผนจัดการ ดําเนินการแกปญหา ส่ิงที่ควรประเมินควบคูไปดวยเสมอในการตรวจงาน (ทั้งงานเขียนตอบและงานปฏิบัติ) คือลักษณะนิสัย และคุณลักษณะที่ดีในการทํางาน

4. การรายงานตนเอง เปนการใหนักเรียนเขียนบรรยายหรือตอบคําถามสั้น ๆ หรือตอบแบบสอบถามที่ครูสรางขึ้นเพื่อสะทอนถึงการเรียนรูของนักเรียนทั้งความรู ความเขาใจ วิธีคิด วิธีการทํางาน ความพอใจในผลงาน ความตองการพัฒนาตนเองใหดีขึ้น ฯลฯ

5. การใชบันทึกจากผูเก่ียวของ เปนการรวบรวมขอมูลความคิดเห็นที่เกี่ยวของกับตัวนักเรียน ผลงานนักเรียน โดยเฉพาะความกาวหนาในการเรียนรูของนักเรียนจากแหลงตาง ๆ เชน จากเพื่อนครู จากเพื่อนนักเรียน จากผูปกครอง

6. การใชขอสอบแบบเนนการปฏิบัติจริง ในกรณีที่ครูตองการใชแบบทดสอบขอเสนอแนะใหใชแบบทดสอบภาคปฏิบัติที่เนนการปฏิบัติจริง ซ่ึงมีลักษณะดังตอไปนี้ 1) ปญหาตองมีความหมายตอผูเรียน และมีความสําคัญเพียงพอที่จะแสดงถึงภูมิรูของนักเรียนในระดับชั้นนั้น ๆ 2) เปนปญหาที่เลียนแบบสภาพจริงในชีวิตของนักเรียน 3) แบบสอบถามตองครอบคลุมทั่งความสามารถและเนื้อหาตามหลักสูตร 4) นักเรียนตองใชความรูความสามารถ ความคิดหลาย ๆ ดานมาผสมผสานและแสดงวิธีคิดไดเปนขั้นตอนที่ชัดเจน 5) ควรมีคําตอบถูกไดหลาย ๆ คําตอบ และมีวิธีการหาคําตอบไดหลายวิธี 6) มีเกณฑการใหคะแนนตามความสมบูรณของคําตอบอยางชัดเจน

7. การประเมินโดยใชแฟมสะสมงาน แฟมสะสมงานหมายถึง ส่ิงที่ใชสะสมงานของนักเรียนอยางมีจุดประสงค อาจเปนแฟม กลอง แผนดิสก อัลบั้ม ฯลฯ ที่แสดงใหเห็นถึงความพยายาม ความกาวหนา และผลสัมฤทธ์ิในเรื่องนั้น ๆ หรือหลาย ๆ เร่ือง การสะสมนั้นนักเรียนมีสวนในการเลือกเนื้อหา เกณฑการเลือก เกณฑการตัดสิน ความสามารถ / คุณสมบัติ หลักฐานการสะทอนตนเอง

การประเมินผลโดยใชแฟมสะสมงานเปนวิธีการประเมินผลการเรียนรูตามสภาพที่แทจริงซึ่งไดรับความนิยมใชกันอยางแพรหลายวิธีหนึ่ง เพราะใชการประเมินใหผูกติดอยูกับการ

Page 34: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

51

สอนและมีนักเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนการสอนอยางชัดเจน ซ่ึงจะไดกลาวถึงรายละเอียดของขั้นตอนการพัฒนาแฟมสะสมงาน ซ่ึงครอบคลุมขั้นตอนการประเมินผลอยูดวย

อยางไรก็ดี การจะไดมาซึ่งผลการเรียนรูที่แทจริงของนักเรียน ครูควรวางแผนและเก็บขอมูลโดยใชวิธีการตาง ๆ ที่ไดกลาวมาแลวขางตนหลาย ๆ วิธีผสมผสานกันเพื่อใหไดขอมูลที่หลากหลาย ครอบคลุมพฤติกรรมในทุก ๆ ดาน

เคร่ืองมือท่ีใชในการประเมินผลตามสภาพจริง เครื่องมือที่ใชประกอบการประเมินผลตามสภาพจริงจะมีรูปแบบที่แตกตางกันไปตาม

ลักษณะวิธีการประเมิน ดังนั้นผูประเมินตองคิดพิจารณาเลือกรูปแบบหรือลักษณะของเครื่องมือใหสอดคลองกับวิธีการประเมินตาง ๆ ดังที่ กรมวิชาการ (2544 : 19-20) กลาวไวดังนี้

1. แบบสังเกต ครูสามารถสังเกตนักเรียนแตละคนหรือเปนกลุมในเวลาใดเวลาหนึ่งก็ได ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการสังเกต ถาหากครูสังเกตบอย ๆ สม่ําเสมอและตอเนื่อง ครูจะสังเกตเห็นถึงความตั้งใจ ความขยันหมั่นเพียร ลักษณะการแสดงออกทางอารมณ และสุขภาพของนักเรียน การสังเกตของครูอาจทําในหองเรียน นอกหองเรียน ที่โรงอาหาร ที่สนามฟุตบอลก็ได แบบสังเกตที่นิยมใชจะมี 1) แบบสํารวจรายการ 2) แบบจัดอันดับ 3) แบบมาตราสวนประมาณคา ซ่ึงจะมีรูปแบบเปนแบบบรรยาย แบบตัวเลข แบบกราฟ และแบบเปรียบเทียบ

2. แบบสัมภาษณ เปนเครื่องมือที่ไดจากการซักถามพูดคุย ระหวางผูสัมภาษณและผูถูกสัมภาษณ การสัมภาษณนั้นมิใชการพูดคุยกันเพียงอยางเดียว หากแตเปนการประจันหนากัน จึงทําใหครูสามารถสังเกตกิริยาทาทาง ทวงทีการพูดโตตอบไดอีกดวย การสัมภาษณอาจทําในหรือนอกเวลาเรียน ในหรือนอกหองเรียน หรือโดยการนัดหมาย การสัมภาษณที่ดีตองมีจุดมุงหมายที่ชัดเจนวา ครูตองการอยากจะไดขอมูลเร่ืองอะไร แบบบันทึกการสัมภาษณที่มีลักษณะเปนแบบสอบถาม

3. แบบสอบถาม ประกอบดวยขอความแลวใหผูตอบเขียนตอบเอง ดังนั้นแบบสอบถามจึงตองมีคําชี้แจงในประเด็นที่ตองการ เพื่อให ผูตอบเขาใจตรงกัน เชน แบบสอบถามการใชเวลาที่บาน ก็จะประกอบดวยขอความหรือขอคําถามเกี่ยวกับการใชเวลาของนักเรียนที่บานเปนสวนใหญ แบบสอบถามมีหลายประเภท บางประเภทนิยมใหผูตอบทําเครื่องหมายตอบ บางประเภทเปนคําถามสั้น ๆ และบางประเภทเปนมาตราสวนประมาณคา เปนตน แบบสอบถามนี้อาจสงใหผูปกครองตอบเพื่อใหไดขอมูลเกี่ยวกับสภาพครอบครัว ประเภทของแบบสอบถามที่เปนขอความที่นิยมใชกันไดแก 1) แบบประมาณคา 2) แบบเติมคํา / วลี 3) แบบจัดอันดับ 4) แบบจับคู 5) แบบถูก-ผิด เอา-ไมเอา 6) แบบความเรียงบรรยายพรรณนา

Page 35: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

52

7) แบบซีเมนตา 8) แบบใหเหตุ-ระบุผล 9) แบบอนุกรม 10) แบบใหตอแบบรูปแบบ 11) แบบใหสถานการณนําแลวแกปญหา

4. แบบบันทึกท่ัว ๆ ไป ซ่ึงเปนการเก็บขอมูลจากรองรอยของการปฏิบัติ (ไมมีการสรางสถานการณ) พฤติกรรมทุกอยางของนักเรียนเปนไปตามธรรมชาติ เชน แบบบันทึกที่แสดงถึงการเขาชมนิทรรศการ การเขาหองสมุด การเลือกซื้อหนังสือ การยืมอุปกรณ เปนตน

5. แบบวัดเจตคติ มีวิธีการสรางแบบวัดเจตคติหลายวิธีดวยกัน แตวิธีที่นิยมใชมี 3 วิธี คือ 1) เทคนิคของเทอรสโตน 2) เทคนิคของลิเคอรท และ 3) เทคนิคนัยจําแนกของออสกูด

6. แบบทดสอบ มี 3 ประเภท คือ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 2) แบบทดสอบความถนัด และ 3) แบบทดสอบบุคคลกับสังคม

นอกจากการใชเครื่องมือวัดที่กลาวแลวขางตน ยังมีแหลงขอมูลอ่ืน ๆ ที่สามารถนํามาใชประกอบการประเมินผลตามสภาพจริงไดอีกดวย เชน ระเบียนสะสม หรือแฟมประวัติ อัตชีวประวัติ การทาํสังคมมิติ และเทคนิคการฉายภาพ เปนตน

ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช (2544 : 17-18) กลาววาครูควรมีเครื่องมือวัดผลที่หลากหลายและเปน ไปตามขอกําหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ที่กําหนดใหประเมินผูเรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการ ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรม การรวมกิจกรรม และการทดสอบ ซ่ึงเครื่องมือวัดผลที่ครูสามารถนําไปใชไดมี 3 กลุมดังนี้

กลุมที่ 1 แบบทดสอบ เปนเครื่องมือวัดผลที่ใชสําหรับการประเมินอยางเปนทางการ ซ่ึงครูควรพัฒนาใหมีคุณภาพเปนที่นาเชื่อถือและไดมาตรฐาน ส่ิงที่ช้ีวาแบบทดสอบนั้นไดมาตรฐานก็คือ มีความเที่ยงตรงสูง (Content Validity) และมีความเชื่อมั่นสูง (Reliability) เครื่องมือกลุมนี้ไดแก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดความคิดขั้นสูง แบบวัดความคิดเชิงจริยธรรม แบบวัดเจตคติทางการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมทั้งพฤติกรรมทางการเรียนและพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรม

กลุมที่ 2 เครื่องมือประเมินความสามารถจริงในองครวม เปนเครื่องมือสําหรับใชประเมินความสามารถของผูเรียนที่สรางขึ้นเพื่อใชควบคูกับวิธีการประเมินของครู ดังนี้

1) แบบประเมินคุณคาของชิ้นงาน กรณีวัดความสามารถจากชิ้นงาน 2) แบบประเมินคุณคาการปฏิบัติงาน กรณปีระเมนิจากการปฏิบัติงานจริง ซ่ึงครตูอง

กําหนดแนวทางในการประเมนิอยางชดัเจน โดยจดัทําเครื่องมือที่เรียกวา รูบริค (Rubrics) 3) แฟมสะสมงาน (Portfolio) เปนเครื่องมือที่นิยมในการประเมินความสามารถจรงิของ

ผูเรียน ครูควรเลือกใชใหเหมาะสมกับจุดประสงคการเรยีนรูและธรรมชาติวิชา โดยแฟมสะสมงานที ่ควรใชไดแก

Page 36: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

53

- แฟมสะสมงานเฉพาะเรื่อง ตามลกัษณะความสามารถที่ตองการประเมิน เชน แฟมสะสมงานการอาน แฟมสะสมงานการเขยีน แฟมสะสมงานการทดลอง เปนตน

- แฟมสะสมงานรวม เชน แฟมสะสมงานโครงงาน เปนตน

กลุมที่ 3 เครื่องมือที่ใชสําหรับการเปนเครื่องยืนยันการปฏิบัติจริง เครื่องมือในกลุมนี้เปนเครื่องมือสําหรับใชตรวจสอบยืนยันความสามารถ โดยดูจากพยานหลักฐานที่ยืนยันหรือบงชี้ เชน

1) แบบตรวจบันทึก เชน บันทึกประจําวัน บันทึกการอาน บันทึกการเขียน บันทึกการศึกษาดูงานนอกสถานที่ บันทึกการคนควา เพื่อพิจารณาความสามารถหรือคุณลักษณะบางประการของผูเรียนจากสิ่งที่ผูเรียนจดบันทึก เชน การทํางานอยางเปนระบบ อาจดูจากบันทึกประจําวันของนักเรียน การทํางานกลุมอาจดูจากบันทึกการประชุมกลุม ความสามารถในการคนควาอาจดูจากบันทึกการคนควา เปนตน

2) การใหผูเรียนรายงานตนเอง อาจอยูในรูปของการรายงานเปนลายลักษณอักษร หรือรายงานปากเปลาก็ได

นอกจากนั้น สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2542 : 62-65) ยังไดกลาวถึงเครื่องมือที่ใชในการประเมินผลตามสภาพจริงไววา เครื่องมือวัดผลมีหลายประเภท ทั้งการสังเกต การสัมภาษณ การตรวจผลงาน การรายงานตนเอง การบันทึกจากผูเกี่ยวของ แบบทดสอบที่เนนการปฏิบัติจริง และแฟมสะสมงาน ซ่ึงเครื่องมือวัดผลแตละประเภท มีจุดมุงหมาย วิธีการใช และลักษณะขอมูลที่ไดตางกัน กิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดขึ้นเปนสวนหนึ่งที่จะชวยช้ีวา ควรใชเครื่องมือวัดผลประเภทใด

เกณฑการประเมินหรือแนวทางการใหคะแนน (Scoring Rubric) กรมวิชาการ (2539 : 54-59) ไดกลาวไววาในการปฏิบัติงานใดๆในชีวิตจริงนั้นมีแนวทางไปสูความสําเร็จหลายแนวทาง และงานหรือคําตอบที่ไดก็มิใชคําตอบถูกเพียงคําตอบเดียว หรือมีผลอยางใดอยางหนึ่งเสมอไปในการทํางานภาคปฏิบัติที่สอดคลองกับสภาพชีวิตจริงของนักเรียนก็เชนเดียวกัน งานหรือสถานการณที่กําหนดใหนักเรียนทําจะมีแนวทางไปสูความสําเร็จของงาน และวิธีการหาคําตอบหลายแนวทาง คําตอบที่ไดก็อาจมิใชเปนไปตามแนวทางที่กําหนดไวเสมอไป จึงทําใหการตรวจใหคะแนนไมสามารถใหไดอยางชัดเจนแนนอนเหมือนการตรวจใหคะแนนขอสอบแบบเลือกตอบ ซ่ึงอาจตรวจใหคะแนนดวยเครื่องตรวจกระดาษคําตอบก็ได ดังนั้นการตรวจใหคะแนนการปฏิบัติที่ตัดสินใจโดยมนุษยจึงตองมีการกําหนดแนวทางเปนการให

Page 37: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

54

คะแนนอยางชัดเจนโดยอาจทําขึ้นจากครูเพียงหนึ่งคน หรือมากกวาหนึ่งคนก็ได ซ่ึงเปนแนวทางเดียวกับการใหคะแนนการแขงขันยิมนาสติกหรือกระโดดน้ํา เครื่องมือที่ใชเปนแนวทางประเมินการปฏิบัติงานของนักเรียนเรียกวา “รูบริค” (Rubric) มาจากภาษาลาตินวา “RUBRICATERRA” เปนคําที่ใชในสมัยโบราณเกี่ยวกับศาสนาซึ่งหมายถึงการทําเครื่องหมายสีแดงไวบนสิ่งสําคัญ ดังนั้นรูบริคก็คือแนวทางการใหคะแนน(Scoring Guideline) ซ่ึงจะตองกําหนดมาตรวัด(Scale) และรายการของคุณลักษณะที่บรรยายถึงความสามารถในการแสดงออกของแตละจุดในมาตรวัดไวอยางชัดเจน อนึ่งการที่รูบริคบรรยายถึงระดับความสามารถการแสดงออกของนักเรียนในแตละระดับ จึงเปนขอมูลที่สําคัญสําหรับครู ผูปกครองและผูสนใจอื่นๆไดทราบวานักเรียนรูอะไรและทําอะไรไดมากนอยแคไหน รูบริคมีสวนสําคัญในการสงเสริมการเรียนรูโดยสามารถทําใหเปาหมายขอบการแสดงออกของนักเรียนมีความชัดเจน อันจะนําไปสูการบรรลุจุดประสงคหรือสมรรถภาพที่สําคัญของมาตรฐานการศึกษาได การใหคะแนนของรูบริคก็คือการตอบคําถามวานักเรียนทําอะไรไดสําเร็จหรือวามีระดับความสําเร็จในขั้นตางๆกัน หรือมีผลงานเปนอยางไรนั่นเอง การใหคะแนนรูบริคมี 2 แบบ คือ 1. การใหคะแนนเปนภาพรวม (Holistic Score) คือการใหคะแนนงานชิ้นใดชิ้นหนึ่งโดยดูภาพรวมของชิ้นงานวามีความเขาใจความคิดรวบยอดการสื่อความหมาย กระบวนการที่ใชและผลงานเปนอยางไร แลวเขียนอธิบายคุณภาพของงานหรือความสําเร็จของงานเปนชิ้นๆ โดยอาจจะแบงระดับคุณภาพตั้งแต 0-4 หรือ 0-6 2. การใหคะแนนแบบแยกองคประกอบ (Analytic Score) เพื่อใหการมองคุณภาพงานหรือความสามารถของนักเรียนไดอยางชัดเจน จึงไดมีการแยกองคประกอบของการใหคะแนน และอธิบายคุณภาพของงานในแตละองคประกอบเปนระดับ โดยทั่วไปแลวจะมีการแยกองคประกอบของงานเปน 4 ดาน คือ 2.1 ความเขาใจในความคิดรวบยอด ขอเท็จจริง เปนการแสดงใหเห็นวานักเรียนเขาใจในความคิดรวบยอด หลักการในปญหาที่ถามกระจางชัด 2.2 การสื่อความหมาย ส่ือสาร คือความสามารถในการอธิบาย นําเสนอ การบรรยาย เหตุผล แนวคิด ใหผูอ่ืนเขาใจไดดีมีความคิดสรางสรรค 2.3 การใชกระบวนการและยทุธวิธี สามารถเลือกใชยุทธวิธีกระบวนการที่นําไปสูความสําเร็จไดอยางมีประสิทธิภาพ 2.4 ผลสําเร็จของงาน ความถูกตองแมนยําในผลสําเร็จของงาน หรืออธิบายที่มาและ ตรวจสอบผลงาน

Page 38: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

55

ครูจะตองใหนักเรียนทราบรูบริคเมื่อนักเรียนทํางานใดงานหนึ่ง ถางานนั้นไดรับการออกแบบใหสามารถวัดได 4 องคประกอบ ครูก็จะตองจัดทํารูบริคของทั้ง 4 องคประกอบ เมื่อครูกําหนดงานขึ้นมางานหนึ่งก็จะตองสรางรูบริคเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนในการบรรลุสมรรถภาพที่อยูในงานนั้นๆ เชน ความสามารถเขาใจ การสื่อสาร กระบวนการและผลงาน

เกณฑการประเมินแฟมผลงาน เกณฑเปนหัวใจสําคัญของการประเมิน จึงจําเปนตองกําหนดใหชัดเจนและสามารถ

สะทอนผลงานของนักเรียนได ในการสรางเกณฑสําหรับตัดสินแฟมผลงานนั้น ครูจําเปนตองมี ความชัดเจนในสิ่งตอไปนี้

1. จะประเมนิตัวอยางโดยรวม หรือแยกประเมินรายชิน้ 2. จะมีคุณลักษณะ หรือมิตใิดบางที่สามารถสะทอนภาพรวมของจุดประสงคของการประเมิน 3. ช้ินงานตาง ๆ ที่อยูในแฟมจะชวยใหประเมินความกาวหนาไดหรือไมและจะประเมินความกาวหนาอยางไร จะใหน้ําหนักชิ้นงานเทากันหรือไม 4. บทบาทของการประเมินตนเอง และการประเมินของผูปกครองจะเขามามีสวนรวม หรือเปนองคประกอบหนึ่งของการประเมนิหรือไม หรือเปนขอมูลประกอบการพิจารณาเทานัน้ กระบวนการสรางเกณฑการใหคะแนนแฟมผลงาน

ควรดําเนินการดังนี้ ศึกษานิยามคุณภาพของชิ้นงาน การกําหนดคุณภาพ มิติองคประกอบการประเมิน

1. รวบรวมการใหคะแนนที่ใชในการประเมินในดานตางๆ 2. รวบรวมตวัอยางงานของนักเรียนกับผูเชี่ยวชาญวามีลักษณะแตกตางกันจาก

คุณภาพสูงไปจนถึงต่ํา 3. นําคุณลักษณะหลักที่สําคัญ มาจําแนกคุณภาพงานเปนกลุมๆแลวเขียนคําอธิบาย

ลักษณะสําคัญเหลานั้น แลวกําหนดเกณฑการใหคะแนน (Rubric) 4. นําชิ้นงานของนักเรียนมารวมใหคะแนนกับเกณฑการใหคะแนนแลวปรับปรุง

แกไขจนเกิดความมั่นใจวาคะแนนที่ไดจากการรวมตามเกณฑความสามารถใชแทนการระบุคุณภาพของชิ้นงานได

ขั้นตอนการจัดทําเกณฑการประเมิน ขั้นท่ี 1 กําหนดนิยามคุณภาพ องคประกอบ มิติที่จะประเมินงาน รวมทั้งกําหนดสิ่งบงชี้

หรือส่ิงแสดงหลักฐานในทักษะยอย ขั้นท่ี 2 เลือกมาตรวัด เชน มาตราสวนประมาณคาเชิงตัวเลข คุณภาพ

Page 39: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

56

ขั้นท่ี 3 กําหนดมาตรฐานของคุณภาพของงาน โดยบรรยายเปนระดับจากงานยอดเยี่ยมไปจนถึงงานที่ตองปรับปรุงแกไข ไมมีคุณภาพ โดยสรุปแลวการประเมินแฟมผลงาน เปนไดทั้งประเมินผลยอย (Formative) เพื่อการพัฒนานักเรียน และเปนไดทั้งประเมินผลรวม (Summative) เพื่อประกอบการใหระดับผลการเรียน แตขอที่ครูพึงระลึกเสมอก็คือ การประเมินดังกลาวมีทั้งประเมินเพื่อดูความกาวหนา หาขอดี เปนการประเมินเชิงบวก และคนหาสิ่งที่จะตองใหความชวยเหลือปรับปรุง แกไข เพื่อใหนักเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพของเขา ใหบรรลุเกณฑมาตรฐานที่กําหนดไวรวมทั้งพัฒนาใหสูงสุดตามความสามารถของผูเรียนและนําไปสูการบรรลุจุดหมายของหลักสูตร และความคาดหวังของสังคมในที่สุด อนึ่งในความเปนจริงแฟมผลงานไมเพียงแตกอใหเกิดการผสมผสานระหวางการเรียนการสอนและการประเมินผลเทานั้น ยังมีสวนสําคัญในการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางบานและโรงเรียน วิทยาลัยและการทํางาน ซ่ึงการประเมินผลแบบเดิมจะมีขอจํากัดในดานการประยุกตใช และการเชื่อมโยงความรูที่จําเปนไปสูอนาคต แฟมผลงานจะเปนศูนยรวมท่ีแสดงออกถึงศักยภาพ ความกาวหนา และกระบวนการ รวมทั้งความรูสึกที่แสดงถึงความสําเร็จและความภาคภูมิใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อนักเรียนนั่งอยูทามกลางเพื่อน ครูและผูปกครองในการประชุมสัมมนาการประเมินผลดังกลาวจะเปนสื่อที่นําไปสูการเรียนรูตลอดชีวิต การประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544

การประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มีเปาหมายที่สําคัญคือการนําผลการประเมินไปพัฒนาผูเรียนใหบรรลุมาตรฐานการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ โดยการนําผลการประเมินไปใชเปนขอมูลปรับปรุงแกไข สงเสริมการเรียนรูและพัฒนาการของผูเรียนโดยตรงและนําผลไปปรับปรุงแกไขการจัดกระบวนการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การประเมินผลตามสภาพจริงเปนวิธีการประเมินผลอยางหนึ่งที่ผูสอนสามารถเลือกใชไดในการประเมินผลระหวางเรียน นอกจากนีแ้ลวสํานกังานทดสอบทางการศึกษา กรมวิชาการ(2544 : 16) กลาวไววา วิธีการประเมนิผลตามสภาพจริงไมมีความแตกตางจากการประเมินการปฏิบัติงานเพียงแตอาจมีความยุงยากในการประเมินมากกวา เนื่องจากเปนสถานการณจริงหรือตองจัดสถานการณใหใกลจริง แตจะเกิดประโยชนกับผูเรียนมาก เพราะจะทําใหทราบความสามารถที่ แทจริงของผูเรียนวามจีุดเดนหรือขอบกพรองในเรื่องใด อันจะนําไปสูการแกไขที่ตรงประเด็นที่สุด

Page 40: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

57

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ งานวิจัยเก่ียวกับชุดการเรียนรูดวยตนเอง งานวิจัยในประเทศ

สุระ สนั่นเสียง (2536) ไดทําการวิจัยเร่ืองการพัฒนาชุดการเรียนรูดวยตนเองเรื่องการใชคําถามที่สงเสริมการสอนแบบสืบสอบสําหรับครูกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิตไดกลาวถึงขั้นตอนในการสรางและพัฒนาชุดการเรียนรูดวยตนเอง คือ (1) ขั้นเตรียมการศึกษาคนควาแนวทางการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเองจากหนังสือ วารสาร บทความ วิทยานิพนธ และงานวิจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ (2) ขั้นการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง เร่ิมจากการกําหนดวัตถุประสงคของการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง กําหนดวัตถุประสงคเฉพาะของชุดการเรียนรูดวยตนเอง แตละเลมกําหนดเนื้อหา ขอบขายและกิจกรรม (3) ขั้นการทดลองใช หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูดวยตนเอง ผลการวิจัยพบวาชุดการเรียนรูดวยตนเองเรื่องการใชคําถามที่สงเสริมการสอนแบบสืบสอบมีประสิทธิภาพ 90.63/86.08 สูงกวาเกณฑที่กําหนดไว คือ 80/80 คาเฉลี่ยของคะแนนทดสอบผลสัมฤทธิ์หลังการศึกษาชุดการเรียนรูดวยตนเอง ครูผูสอนมีผลสัมฤทธิ์ในการใชคําถามที่สงเสริมการสอนแบบสืบสอบสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สวนคะแนนความพึงพอใจของครูในการศึกษาชุดการเรียนรูดวยตนเองอยูในระดับที่มีความพึงพอใจมาก บํารุง ใหญสูงเนิน (2537) ทําการวิจัยเร่ืองการพัฒนาชุดการเรียนรูดวยตนเองเพื่อเสริมความรูเกี่ยวกับการสอนทักษะการคิดวิเคราะหวิจารณของครูประถมศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางและหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูดวยตนเอง ผูวิจัยไดนําสาระความรูเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทักษะการคิดวิเคราะหวิจารณ สรางเปนชุดการเรียนรูดวยตนเอง จํานวน 6 เลม โดยใชครูประถมศึกษา จํานวน 46 คนเปนตัวอยางประชากรในการศึกษาชุดการเรียนรูดวยตนเองซึ่งเสนอขั้นตอนการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง คือ (1) กําหนดวัตถุประสงคของการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง (2) กําหนดเนื้อหาสาระวิชาที่จะนําเสนอ (3) กําหนดวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม (4) กําหนดแนวคิด (5) แบงเนื้อหาออกเปนตอนๆ (6) กําหนดกิจกรรมการสอน (7) กําหนดวิธีประเมินผล และสรางแบบทดสอบ (8) สรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง (9) สรางแบบประเมินความพึงพอใจของครูตอชุดการเรียนรูดวยตนเอง (10) นําชุดการเรียนรูดวยตนเอง แบบทดสอบ และแบบประเมินความพึงพอใจไปใหผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบ แลวนํามาปรับปรุงแกไข (11) นําไปทดลองใชกับครู 1 คน เพื่อทดสอบดานเวลา และสํานวนภาษา (12) นําแบบทดสอบไปทดสอบกับครูประถมศึกษา จํานวน 40 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบทดสอบ (13) นําชุดการเรียนรูดวยตนเองไปทดลองใชกับครูประถมศึกษา จํานวน 10 คน แลวปรับปรุงแกไขใหสมบูรณยิ่งขึ้น (14)

Page 41: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

58

นําชุดการเรียนรูดวยตนเองไปทดลองภาคสนามกับครูประถมศึกษา ที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 46 คน และ (15) หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูดวยตนเอง ผลการวิจัยพบวา ชุดการเรียนรูดวยตนเองที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 91.43/91.78 ซ่ึงสูงกวาเกณฑมาตรฐานที่ตั้งไว 80/80 แสดงวาชุดการเรียนรูดวยตนเองเพื่อเสริมความรูเกี่ยวกับการสอนทักษะการคิดวิเคราะหวิจารณ ของครูประถมศึกษาที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ กลุมตัวอยางมีความรูเกี่ยวกับการสอนทักษะการคิดวิเคราะหวิจารณเพิ่มขึ้นและมีความพึงพอใจในการศึกษาชุดการเรียนรูดวยตนเองที่สรางขึ้นนี้ สุรัตน โพธ์ิทอง (2543) ไดวิจัยเร่ืองการพัฒนาชุดการเรียนรูดวยตนเองเรื่องจิตวิทยาและพัฒนาการของเด็กระดับกอนประถมศึกษาสําหรับครูพี่เล้ียง ซ่ึงเปนการวิจัยเชิงทดลอง โดยมีขั้นตอนการพัฒนาชุดการเรียนรูดวยตนเองดังนี้ (1) กําหนดวัตถุประสงคของการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง (2) กําหนดวัตถุประสงคเฉพาะของชุดการเรียนรูดวยตนเองแตละเลม (3) กําหนดเนื้อหา ขอบขายและกิจกรรมในแตละเลม (4) สรางชุดการเรียนรูดวยตนเอง รวม 3 เลม (5) นําเสนออาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธและผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบเนื้อหาเพื่อปรับปรุงชุดการเรียน (6) ทดลองหาประสิทธิภาพของชุดการเรียน โดยแบงการทดลองเปน 3 ขั้นตอนคือ ขั้นที่ 1 ทดลองแบบ 1:1 กับครูพี่เล้ียง 3 คน ขั้นที่ 2 ทดลองกับกลุมเล็ก กับครูพี่เล้ียง 10 คน และขั้นที่ 3 ทดลองกลุมใหญกับครูพี่เล้ียง 30 คน ผลการวิจัยพบวา ชุดการเรียนรูที่สรางขึ้นรวมทั้ง 3 เลมมีประสิทธิภาพ 83.33 /92.94 ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว 80/80 จารุณี ลิมปนานนท (2539) ไดวิจัยเร่ืองการใชชุดฝกกิจกรรมนาฏศิลปดวยตนเองสําหรับครูช้ันประถมศึกษาปที่ 4 เพื่อเปรียบเทียบความรูและการปฏิบัติกิจกรรมนาฏศิลปกอนและหลังการศึกษาชุดฝกกิจกรรมนาฏศิลปดวยตนเอง และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูผูสอนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่มีตอชุดฝกกิจกรรมนาฏศิลปดวยตนเอง ผลการวิจัยพบวา การใชชุดฝกกิจกรรมนาฏศิลปดวยตนเองทําใหคะแนนภาคความรูความสามารถและภาคปฏิบัติกอนเรียนและหลังเรียนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอการใชชุดฝกกิจกรรมนาฏศิลปดวยตนเองพบวาผูเรียนสวนใหญเห็นดวยชุดฝกชุดนี้มีประโยชนสามารถเพิ่มพูนความรูและทักษะการปฏิบัติสําหรับผูที่สนใจเปนอยางดี และควรจะไดมีการเผยแพรไปยังโรงเรียนประถมศึกษาที่ขาดแคลนครูผูสอนที่วุฒิทางการศึกษาดานนาฏศิลป หทัยรัตน อันดี (2544 : ง) ไดวิจัยเร่ืองการพัฒนาชุดการเรียนรูเพื่อถายทอดภูมิปญญาทองถ่ิน สําหรับนักเรียนประถมศึกษา โดยมีขั้นตอนการสรางชุดการเรียนรูดังนี้ (1) สํารวจความตองการและขอมูลพื้นฐาน (2) การพัฒนาและหาประสิทธิภาพชุดการเรียนรู (3) การทดลองใชชุดการเรียนรู (4) การประเมินและปรับปรุงแกไขชุดการเรียนรู ผลการวิจัยพบวาชุดการเรียนรูที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 และนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับภูมิปญญา

Page 42: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

59

ทองถ่ิน โดยกอนและหลังการใชชุดการเรียนรูแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยหลังการใชชุดการเรียนรูมีคะแนนสูงกวากอนใชชุดการเรียนรู อัมพร เต็มดี (2545 : ง) ไดวิจัยเร่ืองการพัฒนาชุดการเรียนรูเร่ืองการอนุรักษแหลงทองเที่ยวในชุมชน สําหรับนักเรียนประถมศึกษา อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี โดยมีขั้นตอนการสรางชุดการเรียนรูดังนี้ (1) สํารวจความตองการและขอมูลพื้นฐาน (2) การพัฒนาและหาประสิทธิภาพ (3) การทดลองใช และ (4) การประเมินและปรับปรุงแกไข ผลการวิจัยพบวาชุดการเรียนรูที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 และนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษแหลงทองเที่ยว โดยกอนและหลังการใชชุดการเรียนรูแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถติิที่ระดับ 0.05 โดยหลังการใชชุดการเรียนรูมีคะแนนสูงกวากอนใชชุดการเรียนรู งานวิจัยตางประเทศ

บอดรัวซ (Boudreaux 1975 : 2119-A) ไดวิจัยเร่ืองการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการสอนวิทยาศาสตร ระดับ 9 ระหวางการสอนแบบบรรยาย แบบสื่อประสมและแบบชุดการสอน เพื่อหาประสิทธิภาพของการสอนแบบครูบรรยายกับแบบใชส่ือประสมและแบบการใชชุดการสอน โดยแบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม คือ กลุมที่รับการสอนแบบบรรยาย กลุมที่รับการสอนดวยส่ือประสม และกลุมที่รับการสอนดวยชุดการสอน ผลการวิจัยพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมที่รับการสอนแบบใชส่ือประสมกับแบบใชชุดการสอนดีกวากลุมที่รับการสอนแบบบรรยาย แตเมื่อทบทวนความรูอีกครั้งหนึ่ง พบวานักเรียนที่รับการสอนแบบบรรยายประสบผลสําเร็จเร็วกวานักเรียนที่รับการสอนแบบสื่อประสม สวนผลสัมฤทธิ์ของกลุมที่ใชชุดการสอนคงที่ ชอรเตอร (Shorter 1982 : 4695-A) ไดสรางชุดการเรียนรูใหผูเรียนศึกษาดวยตนเองเพื่อหาประสบการณดานวิชาชีพเกษตรกรรมเรื่องการใชจายของนักเรียนและเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใชชุดการเรียนรูดวยตนเองกับการสอนปกติ คะแนนผลการทดลองแตกตางกันอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ฟรานซิส (Francis 1997 : 2030-A) ไดศึกษาวิจัยการใชบทเรียนโปรแกรมกับนักศึกษาผูใหญเพื่อเตรียมความพรอมใหมีความรูความสามารถในการเปนลูกจาง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการรับรูและความคิดเห็นที่มีตอบทเรียนโปรแกรม โดยใชแบบสอบถามปลายเปดเปนเครื่องมือวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัยคือนักศึกษาผูใหญ จํานวน 150 คน ผลการศึกษาพบวานักศึกษาผูใหญที่ไดทําการศึกษาบทเรียนโปรแกรม มีความประทับใจ มีทัศนคติที่ดี และมีการรับรูในสิ่งที่ผูวิจัยตองการนําเสนอโดยผานบทเรียนโปรแกรม นอกจากนี้ยังพบวาระดับของการรับรูแตกตางกันขึ้นอยูกับสถานภาพของนักศึกษาผูใหญ ผูวิจัยเสนอใหใชบทเรียนโปรแกรม

Page 43: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

60

ในการเตรียมความพรอมดานความรูและทักษะแกผูที่ยังไมไดเปนลูกจางใหมีความสามารถในการเปนลูกจาง เช็น (Chen 1998 : Abstract) ไดศึกษาเรื่องการออกแบบและการพัฒนาแบบเรียนอิเลคทรอนิกสําหรับใหครูศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนสื่อการเรียนการสอน ซ่ึงเปนชุดวิดีโอกรณีศึกษาเกี่ยวกับบทเรียนอิเลคทรอนิก เนื้อหาประกอบไปดวยรายวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อใหบริการกับครูผูสอน มีขั้นตอนการวิจัยคือ การออกแบบ การพัฒนา และการประเมินผล โดยใชกรอบแนวคิดในการสรางตามรูปแบบของวิลลิสคือการนํามาเขียนใหม (Recursive) การสะทอนกลับ (Reflective) การออกแบบ (Design) และการพัฒนา (Development) ผลจากการใชชุดการเรียนรูนี้ประสบความสําเร็จและไดรับการยอมรับจากผูที่เกี่ยวของในการนําไปใช งานวิจัยเก่ียวกับการประเมินผลตามสภาพจริง งานวิจัยในประเทศ

ผูวิจัยไดทําการศึกษาผลงานวิจัยเกี่ยวกับการประเมินผลตามสภาพจริงในประเทศพบวามีผูทําการศึกษาวิจัยและปรากฏผลดังตอไปนี้

กระทรวงศกึษาธิการ (2540) โดยสํานักงานประสานงานโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยไดทําการทดลองใชแฟมสะสมงานในกลุมทักษะภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 และ 5 ดานทักษะการเขียน โดยมีโรงเรียนในสังกัดสํานักงานการประถมศกึษาจังหวดักระบี่เขารวมในการทดลอง จํานวน 8 โรงเรียน ปรากฏผลการทดลองดังนี้ 1) การประเมินโดยใชแฟมสะสมงานนี้มีความเปนไปได คือสามารถนําใชประเมินผลการผานจุดประสงคการเรียนรูที่กําหนดในเอกสาร ป.02 เร่ืองการเขียน เปนเครื่องมือที่ประเมินไดตรงกับสภาพการเรียนรู และสามารถใชแฟมสะสมงานมาประเมนิเพื่อเปนสวนหนึ่งของคะแนนภาคปฏิบัตใินการสอบปลายภาคได 2) นักเรยีนสวนใหญที่เปนกลุมทดลองกลาววา การประเมินผลการเรียนโดยใชแฟมสะสมงานชวยใหการเขยีนพัฒนาขึ้น และชวยใหนักเรียนรูจักการประเมินตนเองอยางมีจุดมุงหมายยิ่งขึ้น 3) ผูปกครองเหน็วาการประเมนิตนเองโดยใชแฟมสะสมงานมีประโยชนจริงสามารถใชพัฒนานกัเรยีนและเปนหลักฐานทีใ่ชตัดสินการเลื่อนชั้นได มีความเปนธรรมและยุติธรรม 4) นักเรียนที่มผีลการเรียนวชิาภาษาไทยสูงหรือปานกลางชอบการประเมนิผลวิธีนี้มากสวนนักเรียนที่มีผลการเรียนต่ํามีความชอบ ในระดับนอย แตจากการสมัภาษณครูผูสอนพบวาความสามารถทางการเขียนหรือการใชภาษาของนักเรียนที่มีผลการเรียนต่ําดีขึ้น และมีความมั่นใจในการเขียนสูงขึ้น 5) ปญหาสําคัญในการใชแฟม สะสมงานคือ เวลาในการจดักิจกรรมไมเพียงพอ คาใชจายทางการศึกษาสูงขึ้น และครูผูสอนมี

Page 44: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

61

ภาระถาเปนชั้นเรียนขนาดใหญ สมชาย มิ่งมิตร (2539) ไดทําการวิจัยเร่ือง ผลของการประเมินจากพอรตโฟลิโอที่มีตอ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จํานวน 40 คน ใชกลุมทดลองจํานวน 20 คน กลุมควบคุม 20 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยและแบบวัดเจตคติทางการเรียนวิชาภาษาไทย วิเคราะหขอมูลโดยใชคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคา t และการวิเคราะหความแปรปรวนรวม ผลการวิจัยปรากฏวานักเรียนที่ไดรับการประเมินผลโดยใชพอรตโฟลิโอมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติทางการเรียนสูงกวานักเรียนที่ไดรับการประเมินผลแบบเดิม นั่นคือการประเมินจากพอรตโฟลิโอมีผลตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5

ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช (2540) ไดทําการวิจัยเร่ือง การพัฒนาแฟมสะสมงานในการประเมินผลการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เพื่อพัฒนาแนวทางที่เหมาะสมในการใชแฟมสะสมงาน ประเมินผลการเรียนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โดยมีขั้นตอนการออกแบบการเรียนการสอนและการประเมินผล ดังนี้ 1) ขั้นเตรียมการ ไดแก ศึกษาสภาวะแวดลอม กําหนดจุดมุงหมายของแฟมสะสมงาน กําหนดเนื้อหาของแฟมสะสมงาน กําหนดวิธีการประเมิน(กําหนดผูประเมิน กําหนดกรอบเวลาในการพัฒนาแฟมสะสมงาน กําหนดกรอบงานในการประเมิน) 2) ขั้นพัฒนาแฟมสะสมงาน ไดแก การกําหนดชวงเวลาในการพัฒนาแฟมและจัดการเรียนการสอน และประเมินผลตามแผนการจัดกิจกรรมที่กําหนด 3) ขั้นสรุปผลการทดลอง ไดแก การจัดประชุมคณะกรรมการเพื่อประมวลสรุปการปฏิบัติงานทั้งหมด และหาคุณภาพของการประเมินผลโดยใชแฟมสะสมงาน ผลการศึกษาสรุปไดดังนี้ 1) การนําไปใชในการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลวิชาภาษาอังกฤษมีแนวทางในการดําเนินงานตามแบบจําลองการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลโดยใชแฟมสะสมงาน ซ่ึงประกอบดวยขั้นตอนในการดําเนินงานดังนี้ ศึกษาสภาวะแวดลอม กําหนดโครงสรางของแฟมสะสมงาน พัฒนาแฟมสะสมงาน ประเมินผลแฟมสะสมงาน และประสานสัมพันธรวมชื่นชม 2) กระบวนการของแฟมสะสมงานชวยทําใหนักเรียนมีความกาวหนาในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะ และสรางแรงจูงใจในการเรียนใหแกผูเรียนมาก 3) การประเมินผลโดยใชแฟมสะสมงานมีคุณภาพตามเกณฑตัดสินคุณภาพของลินนและคณะในระดับมากทุกรายการ ดังนี้ คือ มีความยุติธรรมในการประเมิน สามารถถายโยงและอางสรุปผลการประเมิน ประเมินระดับสติปญญาที่ซับซอน เนื้อหาแฟมสะสมงานมีคุณภาพ เนื้อหาแฟมสะสมงานครอบคลุม และการประเมินมีความหมายตอผูถูกประเมิน มีความเที่ยงตรงตาม

Page 45: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

62

สภาพ โดยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธที่แทนคาความเที่ยงตรงตามสภาพ เทากับ 0.94 คาความเชื่อมั่นของผูใหคะแนนจํานวน 2 คน เทากับ 0.97 คาความเชื่อมั่นของคะแนนที่ไดจากคาสัมประสิทธิ์การสรุปอางอิงเทากับ 0.6517 งานวิจัยตางประเทศ นิดี้และคนอื่น ๆ (Nidhi et al. 1995 : 80-86) ไดศึกษาผลการใชการประเมินผลการเรยีนตามสภาพที่เปนจริงโดยใชวธีิการตรวจเยีย่มโรงเรียนทั้งหมด 16 โรงเรียนในอเมริกาที่ใชการประเมินแบบนี้ทั้งในระดับชาติ ระดับรัฐ ระดับตําบลและระดับโรงเรยีน เก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณผูบริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ผูปกครอง คณะกรรมการศึกษา สังเกตการสอนในหองเรียน รวบรวมและตรวจสอบจากผลงานนักเรยีน ผลการศึกษามีดงันี้ 1) รูปแบบการประเมินแนวใหมที่ครูสวนมากใชคือการใชการประเมนิจากแฟมสะสมงาน 2) มีผลตอการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร ถาหากในระดับรัฐหรือเขตไมเขมงวดเกนิไป ในการกําหนดกรอบหลักสูตร 3) กิจกรรมตาง ๆ ของการประเมินมีมากเกนิไป บางครั้งสงผลกระทบตอความครอบคลุมในเนื้อหาหลักสูตร 4) ธรรมชาติของการประเมินสงผลตอการเปลี่ยนแปลงวิธีสอน โดยที่แฟมสะสมงาน 5) ครูสวนใหญใชแฟมสะสมงานของนักเรียนเปนเกณฑในการประเมิน และความ พึงพอใจที่ทําใหนักเรียนและเพื่อนรวมชั้นเรียน มีสวนรวมในการประเมินผลการเรียน เพราะทําใหนักเรียนเขาใจในกระบวนการประเมินและทราบขอบขายงานของตนเอง 6) ครูเปล่ียนแปลงบทบาทจากผูเผยแพรขอมูล เปนผูอํานวยความสะดวกในการเรียน และยังจําเปนตองไดรับการฝกในดานการประยุกตใช และการปรับยุทธวิธีการสอนใหมากขึ้น พีค (Peak 1995 : 101) ไดวิจยัเร่ืองการคัดเลือกงานเขียนโดยการหาคาความเที่ยงตรงจากการวัดผลตามสภาพจริงของกลุมนักเรยีนที่ไดเขียนกบัที่ไมไดเขยีน โดยสงผลงานการเขียนมาใหผูเชี่ยวชาญทําการประเมนิ ผลปรากฏวาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธที่เปนตัวช้ีทําใหไดความเที่ยงตรงสูง โดยกลุมที่ไดเรียนจะมีผลงานที่ดีโดยการประเมินตามสภาพที่แทจริง เปนวิธีการที่เปนพื้นฐานและเปนธรรมชาติในการจดัการเรียนการสอนอยูกอนแลว เมื่อนําทั้งสองกลุมมาเปรียบเทียบกนัปรากฏวาความเที่ยงตรงตางกัน อิเกลแลนด (Egeland 1996 : 253) ไดวัดผลนักเรียนที่เรียนวิชาวิทยาศาสตรในระดับเกรด 5 ในดานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทางเจตคติ โดยกอนทดลองเขาไดทดสอบกอนเรียนดวยแบบสังเกตของสถาบันวัดผลการศึกษาแหงชาติ โดยจัดกลุมควบคุมเปน 3 กลุม และกลุมทดลอง

Page 46: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

63

1 กลุม ที่ใชวิธีการวัดผลสภาพจริงจากการเรียนที่จัดในชั้นเรียน เมื่อเวลาผานไปใชแบบทดสอบมาตรฐานทดสอบหลังเรียน ผลปรากฏวานักเรียนกลุมทดลองที่ใชการวัดผลตามสภาพที่แทจริงในการจัดการเรียนการสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง และมีเจตคติที่ดีแตกตางจากกลุมควบคุมที่ใชวิธีการวัดและประเมินดั้งเดิม มารค (Mark 1993, อางถึงใน ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช 2540 : 45) ไดศึกษาความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรงของการประเมินผลการเขียนโดยใชแฟมสะสมงานจากผูประเมิน จํานวน 12 คน ผลการศึกษาไดใหขอเสนอแนะที่นาสนใจวา การกําหนดโครงสรางของแฟมสะสมงานใหชัดเจน และการใหคะแนนอยางระมัดระวังจะทําใหความเชื่อมั่นของการวัดสูง นอกจากนั้นยังไดย้ําวาครูไมตองกังวลมากเกี่ยวกับความเชื่อมั่นวาจะสูงหรือไม หากการวัดผลนั้นไดวัดผลตามที่สภาพที่เปนจริงและครอบคลุมแลว เคล็ม (Klem 1996 : 120) ทําการวิจัยเร่ืองการตรวจสอบความเที่ยงตรงตามโครงสรางที่ไดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน โดยใหผูประเมินเปนคนเลือกเนื้อหาที่มีความแตกตางกัน ผลปรากฏวา ความสัมพันธระหวางเนื้อหาวิชาตาง ๆ ที่ไดรวบรวมมากับการประเมินจากการเรียนในสภาพชีวิตจริงของผูเรียนมีความสัมพันธกันอยูในระดับสูง ซ่ึงหมายความวา ความเที่ยงตรงตามโครงสรางของการวัดผลตามสภาพจริงในการเรียนของผูเรียนนั้นขึ้นอยูกับวิธีการในการเลือกเนื้อหาที่มีความหมายตอชีวิตของผูเรียน มาบูรณาการกันเขาแลวทําการวัดผลสภาพจริงของนักเรียนซ่ึงอยูในขณะที่ทําการเรียนการสอนในโรงเรียน

สรุป จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของดังกลาวมาแลวทั้งหมด กลาวไดวาชุดการเรียนรูดวยตนเองเรื่องการประเมินผลตามสภาพจริงสําหรับครูประถมศึกษา หมายถึงนวัตกรรมที่ออกแบบไวเปนชุดเพื่อใหผูเรียนเรียนดวยตนเองตามลําดับขั้นจากงายไปยาก โดยที่ผูเรียนสามารถศึกษาและประเมินผลการเรียนไดดวยตนเองซึ่งใชเวลาเร็วชาตามความสามารถและศักยภาพของผูเรียนเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคตามที่กําหนดไว ซ่ึงประกอบดวย บทนํา หรือคําชี้แจง จุดประสงคเชิงพฤติกรรม การประเมินผลกอนเรียน กิจกรรมการเรียนและการประเมินผลหลังเรียน เพื่อใหผูเรียนสามารถนําไปเรียนดวยตนเอง ทั้งนี้ในการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเองนั้นตองนําแนวคิดหลักการทางจิตวิทยามาใชในการสรางชุดการเรียน และการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดองคประกอบของชุดการเรียนรูดวยตนเองโดยประยุกตมาจากรูปแบบของนิพนธ ศุขปรีดี วาสนา ชาวหา และชัยยงค พรหมวงศ ซ่ึงองคประกอบของชุดการเรียนรูดวยตนเองมีดังนี้ 1) คํานํา 2) คําชี้แจง 3) คําแนะนําการใชชุดการเรียนรูดวยตนเอง 4) สาระสําคัญ 5) จุดประสงค

Page 47: 2 ยวของ - thapra.lib.su.ac.th · พฤต 20 และความเห็นของแต ละบุคคล ส วน แอบบรุซ (Abbruzzese 1992 :

64

การเรียนรู 6) ขอบขายเนื้อหา 7) แบบทดสอบกอนศึกษา 8) เนื้อหาและกิจกรรมฝกปฏิบัติ 9) แบบทดสอบหลังศึกษา 10) เฉลยแบบทดสอบกอน-หลังศึกษา และ 11) เอกสารอางอิง โดยใชขั้นตอนการสรางชุดการเรียนรูดวยตนเองซึ่งประยุกตจากแนวทางการสรางชุดการเรียนรูของ วาสนา ชาวหา ชัยยงค พรหมวงศ นิพนธ ศุขปรีดี และชม ภูมิภาค เมื่อดําเนินการจัดทําชุดการเรียนรูฉบับรางแลว ตองนําชุดการเรียนรูไปทดลองหาประสิทธิภาพตามขั้นตอนดังนี้ 1) การทดลองแบบรายบุคคล (Individual Testing) คือนําชุดการเรียนรูดวยตนเองไปทดลองใชกับครู 3 คน จากครูประถมศึกษาที่ไมใชกลุมตัวอยาง 2) การทดลองแบบกลุมเล็ก (Small Group Testing) คือการนําชุดการเรียนรูดวยตนเองไปใชกับครูกลุมเล็กประมาณ 6-10 คน และ 3) การทดลองแบบภาคสนาม (Field Testing) คือการนําชุดการเรียนรูดวยตนเองไปทดลองใชกับครูที่เปนกลุมทดลอง 30 คน ซ่ึงในการวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยใชเกณฑการยอมรับประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูดวยตนเอง 80/80 นอกจากนี้จากการศึกษารายงานการวิจัยที่เกี่ยวกับการใชชุดการเรียนรูดวยตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถของผูเรียน สรุปไดวาชุดการเรียนรูดวยตนเองชวยใหผูเรียนที่ใชมีพัฒนาการทัง้ดานความรู ดานทักษะ บรรลุตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวในระดับที่นาพึงพอใจ อีกทั้งผูใชชุดการเรียนรูดวยตนเองก็มีเจตคติที่ดีตอการใชชุดการเรียนรูดวยตนเอง