Top Banner
บทที2 เอกสารที่เกี่ยวของ การวิเคราะหผลการทดสอบทางการศึกษาดานการศึกษานอกระบบ (N-NET) ปการศึกษา 2561 ระดับชั้นประถมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุมจังหวัดภาคเหนือ ตอนลาง 1 ไดศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี1. ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบสอง (2560 – 2564) 3. แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที12 5. นโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ 6. นโยบายการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 7. หลักการจัดการศึกษานอกระบบ 8. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) 9. การบริหารการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานการศึกษานอกระบบ (N-NET) 10. โครงสรางและรูปแบบของแบบทดสอบ N-NET 11. สภาพทั่วไปของสํานักงานศึกษาธิการภาค 17 12. สภาพทั่วไปของกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุ1 13. สภาพการศึกษาของกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุ1 1. ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579) คณะกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติไดดําเนินการจัดทํายุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561 -2580) เพื่อใชเปนกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ป โดยกําหนดวิสัยทัศน เปาหมายและยุทธศาสตร ดังนีวิสัยทัศน ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงหรือเปนคติพจนประจําชาติวา มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนความมั่นคง หมายถึง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปจเจกบุคคล และมีความมั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และการเมือง เชน ประเทศ มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตยมีการปกครองระบบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยมีความเขมแข็งเปนศูนยกลางและเปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของประชาชน มีระบบการเมืองที่มั่นคงเปนกลไกที่นําไปสูการบริหารประเทศที่ตอเนื่องและโปรงใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคม มีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกําลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเขมแข็ง ครอบครัว มีความอบอุประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายไดที่มั่นคง พอเพียงกับการดํารงชีวิต มีการออมสําหรับ วัยเกษียณ ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้ํา มีที่อยูอาศัย และความปลอดภัยในชีวิตทรัพยสิน
42

1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4....

Jan 24, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวของ

การวิเคราะหผลการทดสอบทางการศึกษาดานการศึกษานอกระบบ (N-NET) ปการศึกษา 2561 ระดับชั้นประถมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 1 ไดศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวของ ดังตอไปนี้

1. ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ีสิบสอง (2560 – 2564) 3. แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 5. นโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ 6. นโยบายการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 7. หลักการจัดการศึกษานอกระบบ 8. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) 9. การบริหารการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานการศึกษานอกระบบ (N-NET) 10. โครงสรางและรูปแบบของแบบทดสอบ N-NET 11. สภาพท่ัวไปของสํานักงานศึกษาธิการภาค 17 12. สภาพท่ัวไปของกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุม 1 13. สภาพการศึกษาของกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุม 1

1. ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) คณะกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติไดดําเนินการจัดทํายุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561-2580)

เพ่ือใชเปนกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ป โดยกําหนดวิสัยทัศน เปาหมายและยุทธศาสตร ดังนี้ วิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง” หรือเปนคติพจนประจําชาติวา “ม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน” ความม่ันคง หมายถึง หมายถึง การมีความม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ ยนแปลง

ท้ังภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปจเจกบุคคล และมีความม่ันคงในทุกมิติ ท้ังมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และการเมือง เชน ประเทศ มีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตยมีการปกครองระบบประชาธิปไตยท่ีมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยมีความเขมแข็งเปนศูนยกลางและเปนท่ียึดเหนี่ยวจิตใจ ของประชาชน มีระบบการเมืองท่ีม่ันคงเปนกลไกท่ีนําไปสูการบริหารประเทศท่ีตอเนื่องและโปรงใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคม มีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกําลังเพ่ือพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเขมแข็ง ครอบครัว มีความอบอุน ประชาชนมีความม่ันคงในชีวิต มีงานและรายไดท่ีม่ันคง พอเพียงกับการดํารงชีวิต มีการออมสําหรับวัยเกษียณ ความม่ันคงของอาหาร พลังงาน และน้ํา มีท่ีอยูอาศัย และความปลอดภัยในชีวิตทรัพยสิน

Page 2: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๒

ความม่ังคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยางตอเนื่องและมีความยั่งยืน จนเขาสูกลุมประเทศรายไดสูง ความเหลื่อมล้ําของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยูดีมีสุขไดรับผลประโยชนจากการพัฒนาอยางเทาเทียมกันมากข้ึน และมีการพัฒนาอยางท่ัวถึงทุกภาคสวนมีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐาน ขององคการสหประชาชาติ ไมมีประชาชนท่ีอยูในภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศมีความเขมแข็ง ขณะเดียวกันตองมีความสามารถในการแขงขันกับประเทศตางๆ ท้ังในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศ เพ่ือใหสามารถสรางรายไดท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสรางฐานเศรษฐกิจและสังคม แหงอนาคตเพ่ือใหสอดรับกับบริบทการพัฒนาท่ีเปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทยมีบทบาทท่ีสําคัญในเวทีโลก และมีความสัมพันธทางเศรษฐกิจและการคาอยางแนนแฟนกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย เปนจุดสําคัญของ การเชื่อมโยงในภูมิภาคท้ังการคมนาคมขนสง การผลิต การคา การลงทุนและการทําธุรกิจ เพ่ือใหเปนพลัง ในการพัฒนา นอกจากนั้น ยังมีความสมบูรณในทุนท่ีจะสามารถสรางการพัฒนาตอเนื่องไปได ไดแก ทุนมนุษย ทุนทางปญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเปนเครื่องมือเครื่องจักรทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ความย่ั งยืน หมายถึ ง การพัฒนาท่ีสามารถสร างความเจริญ รายได และคุณภาพชี วิ ต ของประชาชนใหเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่อง ซ่ึงเปนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีอยูบนหลักการใช การรักษา และการฟนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ไมใชทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไมสรางมลภาวะ ตอสิ่งแวดลอมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภค เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดม สมบูรณมากข้ึน และสิ่งแวดลอมมีคุณภาพดีข้ึน คนมีความรับผิดชอบตอสังคม มีความเอ้ืออาทร เสียสละ เพ่ือผลประโยชนสวนรวม รัฐบาลมีนโยบายท่ีมุงประโยชนสวนรวมอยางยั่งยืน และใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของประชาชน และทุกภาคสวนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการพัฒนาอยางสมดุล มีเสถียรภาพและยั่งยืน

โดยมีเปาหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยางต อเนื่ อง สั งคมเป นธรรม ฐานทรั พยากรธรรมชาติ ยั่ งยื น” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศ ในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคุณภาพ สรางโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม สรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และมีภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชนสวนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตรชาติ ประกอบดวย

1) ความอยูดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย 2) ขีดความสามารถในการแขงขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได 3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ 4) ความเทาเทียมและความเสมอภาคของสังคม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดลอม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 6) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเขาถึงการใหบริการของภาครัฐ

ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ.2561-2580) มี 6 ยุทธศาสตร ซ่ึงเก่ียวของกับภารกิจของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 6 ยุทธศาสตร ดังนี้

1. ยุทธศาสตรชาติดานความม่ันคง มีเปาหมายการพัฒนาท่ีสําคัญ คือ ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เนนการบริหารจัดการสภาวะแวดลอมของประเทศใหมีความม่ันคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบรอยในทุกระดับตั้งแตระดับชาติ สังคม ชุมชน มุงเนนการพัฒนาคน เครื่องมือ

Page 3: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๓

เทคโนโลยี และระบบฐานขอมูลขนาดใหญ ใหมีความพรอมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคูไปกับการปองกันและแกไขปญหาดานความม่ันคงท่ีมีอยูในปจจุบัน และท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใชกลไกการแกไขปญหาแบบบูรณาการท้ังกับสวนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองคกรท่ีไมใชรัฐ รวมถึงประเทศเพ่ือนบานและมิตรประเทศ ท่ัวโลกบนพ้ืนฐานของหลักธรรมาภิบาล เพ่ือเอ้ืออํานวยประโยชนตอการดําเนินการของยุทธศาสตรชาติ ดานอ่ืนๆ ใหสามารถขับเคลื่อนไปได ตามทิศทางและเปาหมายท่ีกําหนด

2. ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน มี เปาหมายการพัฒนา ท่ีมุงเนนการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพ้ืนฐานแนวคิด 3 ประการ ไดแก

1) “ตอยอดอดีต” โดยมองกลับไปท่ีรากเหงาทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเดนทางทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลาย รวมท้ังความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศ ในดานอ่ืนๆ นํามาประยุกตผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือใหสอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจ และสังคมโลกสมัยใหม

2) “ปรับปจจุบัน” เพ่ือปูทางสูอนาคต ผานการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานของประเทศ ในมิติตางๆ ท้ังโครงขายระบบคมนาคมและขนสง โครงสรางพ้ืนฐานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดลอมใหเอ้ือตอการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต

3) “สรางคุณคาใหมในอนาคต” ดวยการเพ่ิมศักยภาพของผูประกอบการ พัฒนาคนรุนใหม รวมถึง ปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองตอความตองการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตรท่ีรองรับอนาคต บนพ้ืนฐานของการตอยอดอดีตและปรับปจจุบัน พรอมท้ังการสงเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ใหประเทศไทยสามารถสรางฐานรายไดและการจางงานใหม ขยายโอกาสทางการคาและการลงทุนใน เวทีโลก ควบคูไปกับ การยกระดับรายไดและการกินดีอยูดี รวมถึงการเพ่ิมข้ึนของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมล้ําของคนในประเทศไดในคราวเดียวกัน

3. ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย มีเปาหมายการพัฒนาท่ี สํ า คัญเ พ่ื อพัฒนาคนในทุกมิ ติ และในทุ กช วงวั ย ให เป นคนดี เก ง และมี คุณภาพ โดยคนไทย มีความพรอมท้ังกาย ใจ สติปญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบดานและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคมและผูอ่ืน มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกตอง มีทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และอนุรักษ ภาษาทองถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิตสูการเปน คนไทยท่ีมีทักษะสูง เปนนวัตกร นักคิด ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหมและอ่ืนๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง

4. ยุทธศาสตรชาติด านการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มี เป าหมาย การพัฒนาท่ีสําคัญท่ีใหความสําคัญการดึงเอาพลังของภาคสวนตางๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ทองถ่ิน มารวมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชน ในการรวมคิดรวมทําเพ่ือสวนรวม การกระจายอํานาจและความรับผิดชอบไปสูกลไกบริหารราชการแผนดินในระดับทองถ่ิน การเสริมสราง ความเขมแข็ง ของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพรอมของประชากรไทยท้ังในมิติ สุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดลอมใหเปนประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพ่ึงตนเองและทําประโยชนแกครอบครัว ชุมชน และสังคมใหนานท่ีสุด โดยรัฐใหหลักประกันการเขาถึงบริการและสวัสดิการท่ีมีคุณภาพอยางเปนธรรมและท่ัวถึง

5. ยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม มีเปาหมายการพัฒนาท่ีสําคัญเพ่ือนําไปสูการบรรลุเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนในทุกมิติ ท้ังมิติดาน สังคม

Page 4: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๔

เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม ธรรมาภิบาล และความเปนหุนสวนความรวมมือระหวางกันท้ังภายในและภายนอกประเทศอยางบูรณาการ ใชพ้ืนท่ีเปนตัวตั้งในการกําหนดกลยุทธและแผนงาน และการใหทุกฝายท่ีเก่ียวของไดเขามา มีสวนรวมในแบบทางตรงใหมากท่ีสุดเทาท่ีจะเปนไปไดโดยเปนการดําเนินการ บนพ้ืนฐานการเติบโตรวมกัน ไมวาจะเปนทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และคุณภาพชีวิต โดยใหความสําคัญกับการสรางสมดุลท้ัง 3 ดาน อันจะนําไปสูความยั่งยืนเพ่ือคนรุนตอไปอยางแทจริง

6. ยุทธศาสตรชาติด านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครั ฐ มีเปาหมายการพัฒนาท่ีสําคัญเพ่ือปรับเปลี่ยนภาครัฐท่ียึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชน และประโยชนสวนรวม” โดยภาครัฐตองมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หนวยงานของรัฐ ท่ีทําหนาท่ีในการกํากับหรือในการใหบริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการแขงขันมีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทํางานใหมุงผลสัมฤทธิ์และผลประโยชนสวนรวมมีความทันสมัยและพรอมท่ีจะปรับตัว ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกอยูตลอดเวลา โดยเฉพาะอยางยิ่งการนํานวัตกรรม เทคโนโลยีขอมูลขนาดใหญ ระบบการทํางานท่ีเปนดิจิทัลเขามาประยุกตใชอยางคุมคา และปฏิบัติงานเทียบไดกับมาตรฐานสากล รวมท้ัง มีลักษณะเปดกวาง เชื่อมโยงถึงกันและเปดโอกาสใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวม เพ่ือตอบสนองความตองการ ของประชาชนไดอยางสะดวก รวดเร็ว และโปรงใส โดยทุกภาคสวนในสังคมตองรวมกันปลูกฝงคานิยม ความซ่ือสัตยสุจริต ความมัธยัสถ และสรางจิตสํานึกในการปฏิเสธไมยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอยางสิ้นเชิง นอกจากนั้น กฎหมายตองมีความชัดเจน มีเพียงเทาท่ีจําเปนมีความทันสมัย มีความเปนสากล มีประสิทธิภาพ และนําไปสูการลดความเหลื่อมล้ําและเอ้ือตอการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ เปนธรรม ไมเลอืกปฏิบัติและการอํานวยความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม

2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบสอง (2560 – 2564) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ. 2560-2564 สําหรับใชเปนแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ป ซ่ึงเปนการแปลงยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป สูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม เพ่ือเตรียมความพรอมและวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยใหเปนประเทศท่ีพัฒนาแลว มีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน ดวยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึ งการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) มีหลักการท่ีสําคัญ คือ

1) ยึ ด “หลั กปรั ชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เ พ่ื อให เ กิ ดบู รณาการการพัฒนาในทุกมิติ อยางสมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุมกันและการบริหารจัดการความเสี่ยงท่ีดี ซ่ึงเปนเง่ือนไขท่ีจําเปนสําหรับการพัฒนาท่ียั่งยืนซ่ึงมุงเนนการพัฒนาคน มีความเปนคนท่ีสมบูรณ สังคมไทยเปนสังคมคุณภาพ มีท่ียืนและเปดโอกาสใหกับทุกคนในสังคมไดดําเนินชีวิตท่ีดีมีความสุข และอยูรวมกัน อยางสมานฉันท

2) ยึด “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา”มุงสรางคุณภาพชีวิต และสุขภาวะท่ีดี สําหรับคนไทย พัฒนาคนใหมีความเปนคนท่ีสมบูรณ มีวินัย ใฝรู มีความรู มีทักษะ มีความคิดสรางสรรค มีทัศนคติท่ีดี รับผิดชอบตอสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกชวงวัยและเตรียมความพรอมเขาสูสังคมผูสูงอายุอยางมีคุณภาพ ร ว ม ถึ ง ก า ร ส ร า ง ค น ใ ห ใ ช ป ร ะ โ ย ช น แ ล ะ อ ยู กั บ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม อ ย า ง เ ก้ื อ กู ล อ นุ รั ก ษ ฟ น ฟู ใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางเหมาะสม

3) ยึด “วิสัยทัศนภายใตยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป” มาเปนกรอบของวิสัยทัศนประเทศไทยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 วิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน

Page 5: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๕

เปนประเทศพัฒนาแลวดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเปนคติพจนประจําชาติวา “ม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน”

4) ยึด “เปาหมายอนาคตประเทศไทย ป 2579” ท่ีเปนเปาหมายในยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป มาเปนกรอบในการกําหนดเปาหมายท่ีจะบรรลุใน 5 ปแรกและเปาหมายในระดับยอยลงมา ควบคูกับ กรอบเปาหมายท่ียั่งยืน (SDGs)

5) ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีลดความเหลื่อมลาและขับเคลื่อนการเจริญเติบโต จากการเพ่ิมผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใชภูมิปญญาและนวัตกรรม”

6) ยึด “หลักการนําไปสูการปฏิบัติใหเกิดผลสัมฤทธิ์อยางจริงจังใน 5 ปท่ีตอยอดไปสูผลสัมฤทธิ์ ท่ีเปนเปาหมายระยะยาว”

วัตถุประสงค 1. เพ่ือวางรากฐานใหคนไทยเปนคนท่ีสมบูรณ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัยคานิยมท่ีดี มี

จิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพท่ีดี ครอบครัวอบอุน ตลอดจนเปนคนเกงท่ีมีทักษะความรูความสามารถและพัฒนาตนเองไดตอเนื่องตลอดชีวิต

2. เพ่ือใหคนไทยมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม ไดรับความเปนธรรมในการเขาถึงทรัพยากรและบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ ผูดอยโอกาสไดรับการพัฒนาศักยภาพ รวมท้ังชุมชนมีความเขมแข็งพ่ึงพาตนเองได

3. เพ่ือใหเศรษฐกิจเขมแข็ง แขงขันได มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืน สรางความเขมแข็งของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหมโดยการใชนวัตกรรมท่ีเขมขนมากข้ึน สรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจฐานราก และสรางความม่ันคงทางพลังงาน อาหาร และน้ํา

4. เพ่ือรักษาและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอมใหสามารถสนับสนุน การเติบโตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและการมีคุณภาพชีวิตท่ีดีของประชาชน

5. เพ่ือใหการบริหารราชการแผนดินมีประสิทธิภาพ โปรงใส ทันสมัย และมีการทํางานเชิงบูรณาการของภาคีการพัฒนา

6. เพ่ือใหมีการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพ่ือรองรับ การพัฒนายกระดับฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานการผลิตและบริการใหม

7. เพ่ือผลักดันใหประเทศไทยมีความเชื่อมโยง (Connectivity) กับประเทศตางๆ ท้ังในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาชาติไดอยางสมบูรณและมีประสิทธิภาพ รวมท้ังใหประเทศไทยมีบทบาทนําและสรางสรรคในดานการคา การบริการ และการลงทุนภายใตกรอบความรวมมือตางๆ ท้ังในระดับ อนุภูมิภาค ภูมิภาค และโลก

เปาหมายรวม เพ่ือใหเปนไปตามวัตถุประสงคดังกลาว ไดกําหนดเปาหมายรวมการพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ประกอบดวย

1. คนไทยมีคุณลักษณะเปนคนไทยท่ีสมบูรณ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานท่ีด ีของสังคม มีความเปนพลเมืองตื่นรู มีความสามารถในการปรับตัวไดอยางรูเทาทันสถานการณมีความรับผิดชอบและทําประโยชนตอสวนรวม มีสุขภาพกายและใจท่ีดี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณมีวิถีชีวิตท่ีพอเพียง และมีความเปนไทย

2. ความเหลื่อมล้ําทางดานรายไดและความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมีความเขมแข็งประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเขาถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ อยางท่ัวถึงและเปนธรรม

Page 6: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๖

3. ระบบเศรษฐกิจมีความเขมแข็งและแขงขันได โครงสรางเศรษฐกิจปรับสูเศรษฐกิจฐานบริการและดิจิทัล มีผูประกอบการรุนใหมและเปนสังคมผูประกอบการ ผูประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กท่ีเขมแข็งสามารถใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสรางสรรคคุณคาสินคาและบริการมีระบบ การผลิตและใหบริการจากฐานรายไดเดิมท่ีมีมูลคาเพ่ิมสูงข้ึน และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรูชั้นสูงใหมๆ ท่ีเปนมิตร กับสิ่งแวดลอมและชุมชน รวมท้ังกระจายฐานการผลิตและการใหบริการสูภูมิภาคเพ่ือลดความเหลื่อมล้ํา โดยเศรษฐกิจไทยมีเสถียรภาพ

4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอมสามารถสนับสนุนการเติบโตท่ีเปนมิตร กับสิ่งแวดลอม มีความม่ันคงทางอาหาร พลังงาน และน้ํา

ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ ประกอบดวย 10 ยุทธศาสตร ซ่ึงเ ก่ียวของกับภารกิจ ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 9 ยุทธศาสตร ดังนี้

ยุทธศาสตร ท่ี 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย ใหความสําคัญกับการวางรากฐาน การพัฒนาคนใหมีความสมบูรณ เริ่มตั้งแตกลุมเด็กปฐมวัยท่ีตองพัฒนาใหมีสุขภาพกายและใจท่ีดี มีทักษะ ทางสมอง ทักษะการเรียนรู และทักษะชีวิต เพ่ือใหเติบโตอยางมีคุณภาพ ควบคูกับการพัฒนาคนไทย ในทุกชวงวัยใหเปนคนดี มีสุขภาวะท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสํานึกท่ีดีตอสังคมสวนรวม มีทักษะความรู และความสามารถปรับตัวเทาทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัวท่ีรวดเร็ว บนพ้ืนฐานของการมีสถาบันทางสังคมท่ีเขมแข็งท้ังสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนท่ีรวมกันพัฒนาทุนมนุษยใหมีคุณภาพสูง อีกท้ังยังเปนทุนทางสังคมสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ

ยุทธศาสตร ท่ี 2 การสรางความเปนธรรมลดความเหล่ือมลํ้าในสังคม ใหความสําคัญกับ การดําเนินการยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมใหท่ัวถึงโดยเฉพาะอยางยิ่งดานการศึกษาและสาธารณสุข รวมท้ังการปดชองวางการคุมครองทางสังคมในประเทศไทยซ่ึงเปนการดําเนินงานตอเนื่องจากท่ีไดขับเคลื่อนและผลักดันในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 และมุงเนนมากข้ึนในเรื่องการเพ่ิมทักษะแรงงานและการใชนโยบายแรงงาน ท่ีสนับสนุนการเพ่ิมผลิตภาพแรงงานและเสริมสรางรายไดสูงข้ึน และการสรางโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอยางยิ่งการสนับสนุนในเรื่องการสรางอาชีพ รายได และใหความชวยเหลือท่ีเชื่อมโยง การเพ่ิมผลิตภาพสําหรับประชากรกลุมรอยละ 40 รายไดต่ําสุด ผูดอยโอกาสสตรี และผูสูงอายุ อาทิ การสนับสนุนธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดยอม วิสาหกิจชุมชนและวิสาหกิจเพ่ือสังคม การพัฒนาองคกรการเงิน ฐานรากและ การเขาถึงเงินทุนเพ่ือสรางอาชีพ และการสนับสนุนการเขาถึงปจจัยการผลิตคุณภาพดีท่ีราคาเปนธรรม เปนตน และในขณะเดียวกันก็ตองเพ่ิมประสิทธิภาพการใชงบประมาณเชิงพ้ืนท่ีและบูรณาการเพ่ือการลดความเหลื่อมล้ํา

ยุทธศาสตรท่ี 3 การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางย่ังยืน เนนใหเศรษฐกิจเติบโตไดตามศักยภาพและมีเสถียรภาพ ภาคสงออกมีการพัฒนาจนสามารถขยายตัวและเปนกลไกสําคัญ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ผลิตภาพการผลิตของประเทศเพ่ิมข้ึน การลงทุนภาครัฐและเอกชนมีการขยายตัวอยางตอเนื่องและมาจากความรวมมือกันมากข้ึน ประชาชนและผูประกอบการเขาสูระบบภาษีมากข้ึน และประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจสูงข้ึน นอกจากนี้ ยังเนนใหเศรษฐกิจรายสาขา มีการเติบโตอยางเขมแข็ง ภาคการเกษตรเนนเกษตรกรรมยั่งยืนและใหเกษตรกรมีรายไดเพ่ิมข้ึน มีการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมนิเวศ การทองเท่ียวสามารถทารายไดและแขงขันไดมากข้ึน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม มีบทบาทตอระบบเศรษฐกิจมากข้ึน ภาคการเงินมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน และใชวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมข้ันกาวหนาท่ีเขมขนมากข้ึน การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล การพัฒนาและยกระดับคุณภาพของกําลังคน และความคิดสรางสรรคในการขยายฐานเศรษฐกิจ การพัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจใหมและการพัฒนาตามแนวระเบียง

Page 7: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๗

เศรษฐกิจ การผสมผสานภาคบริการเขากับการคาและการเตรียมความพรอมของภาคบริการ ใหสามารถรองรับ การแขงขันท่ีเสรีข้ึน

ยุทธศาสตร ท่ี 4 การเติบโตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมเพ่ือการพัฒนาอยางย่ังยืน ประเด็นทาทาย ท่ีตองเรงดําเนินการในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ไดแก การสรางความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและยกระดับคุณภาพสิ่งแวดลอม เพ่ือสนับสนุนการเติบโตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิต ของประชาชน เรงแกไขปญหาวิกฤติสิ่งแวดลอมเพ่ือลดมลพิษท่ีเกิดจากการผลิต และการบริโภค พัฒนาระบบบริหารจัดการท่ีโปรงใสเปนธรรม สงเสริมการผลิตและการบริโภคท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเปนวงกวางมากข้ึนตองเรงเตรียมความพรอมในลดการปลอยกาซเรือนกระจกและเพ่ิมขีดความสามารถในการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมท้ังบริหารจัดการเพ่ือลดความเสี่ยงดานภัยพิบัติทางธรรมชาติ

ยุทธศาสตร ท่ี 5 การเสริมสรางความม่ันคงแหงชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสูความม่ันคั่ง และย่ังยืน ใหความสําคัญตอการฟนฟูพ้ืนฐานดานความม่ันคงท่ีเปนปจจัยสําคัญตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะการอยูรวมกันในสังคมอยางสันติของผูมีความเห็นตางทางความคิดและอุดมการณบนพ้ืนฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุขและการเตรียมการรับมือกับภัยคุกคามขามชาติซ่ึงจะสงผลกระทบอยางมีนัยยะสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระยะ 20 ปขางหนา

ยุทธศาสตรท่ี 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล ในสังคมไทย เปนชวงเวลาสําคัญท่ีตองเรงปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐใหเกิดผลสัมฤทธิ์อยางจริงจัง เพ่ือใหเปนปจจัยสนับสนุนสําคัญท่ีจะชวยสงเสริมการพัฒนาประเทศในทุกดานใหประสบผลสําเร็จบรรลุเปาหมาย ท้ังการบริหารจัดการภาครัฐใหโปรงใส มีประสิทธิภาพ รับผิดชอบ ตรวจสอบไดอยางเปนธรรม และประชาชนมีสวนรวม มีการกระจายอํานาจ และแบงภารกิจรับผิดชอบท่ีเหมาะสม ระหวางสวนกลาง ภูมิภาค และทองถ่ิน และวางพ้ืนฐานเพ่ือใหบรรลุตามกรอบเปาหมายอนาคตในป 2579

ยุทธศาสตร ท่ี 7 การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส มุ งเนนการขยาย ขีดความสามารถและพัฒนาคุณภาพการใหบริการ เพ่ือรองรับการขยายตัวของเมืองและพ้ืนท่ีเศรษฐกิจหลักและสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกกลุมในสังคม สนับสนุนใหเกิดความเชื่อมโยงในอนุภูมิภาคและในอาเซียนอยางเปนระบบ โดยมีโครงขายเชื่อมโยงภายในประเทศท่ีสนับสนุนการพัฒนาพ้ืนท่ีตามแนวระเบียงเศรษฐกิจตางๆ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการกํากับดูแลใหสอดคลองกับมาตรฐานสากลเพ่ือเพ่ิมประสิทฺธิภาพ การดําเนินการสรางความเปนธรรมในการเขาถึงบริการพ้ืนฐาน และการคุมครองผูบริโภคการพัฒนาอุตสาหกรรมตอเนื่องเพ่ือสรางโอกาสทางเศรษฐกิจให กับประเทศ และการพัฒนาผูประกอบการ ในสาขาโลจิสติกส และหนวยงานท่ีมีศักยภาพเพ่ือไปทําธุรกิจในตางประเทศ

ยุทธศาสตรท่ี 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ใหความสําคัญกับการใชองคความรูทางวิทยาศาสตร ผลงานวิจัยและพัฒนา ความกาวหนาทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสรางสรรคอยางเขมขนท้ังในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม รวมท้ังใหความสําคัญกับการพัฒนาสภาวะแวดลอมหรือปจจัยพ้ืนฐานท่ีเอ้ืออํานวยท้ังการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากรวิจัย โครงสรางพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการ เพ่ือชวยขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศใหกาวสูเปาหมาย

ยุทธศาสตรท่ี 9 การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ ประเทศไทยตองใชประโยชนจากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพ้ืนท่ี และการดําเนินยุทธศาสตรเชิงรุกเพ่ือเสริมจุดเดนในระดับภาคและจังหวัดในการเปนฐานการผลิตและบริการท่ีสําคัญ ประกอบกับการขยายตัวของประชากรในเขตเมือง จะเปน

Page 8: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๘

โอกาสในการกระจายความเจริญและยกระดับรายไดของประชาชนโดยการพัฒนาเมืองใหเปนเมืองนาอยูและมีศักยภาพในการรองรับการคาการลงทุน รวมท้ังลดแรงกดดันจากการกระจุกตัวของการพัฒนาในกรุงเทพฯ และภาคกลางไปสูภูมิภาค นอกจากนี้ การเปนสวนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนยังเปนโอกาสในการเปดพ้ืนท่ีเศรษฐกิจใหมบริเวณชายแดนเชื่อมโยงการคาการลงทุนในภูมิภาคของไทยกับประเทศเพ่ือนบานอีกดวย

3. แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 การจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ ไดใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของทุกภาคสวนเพ่ือสรางการ

รับรู ความเขาใจ การยอมรับ และเขามามีสวนรวมในกระบวนการจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ เพ่ือใหสามารถขับเคลื่อนแผนไปสูการปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไดศึกษาสถานการณและบริบทแวดลอมท่ีมีผลกระทบตอการพัฒนาการศึกษาประเทศ ท้ังดานความกาวหนาของเทคโนโลยีดิจิทัลแบบกาวกระโดดท่ีสงผลตอระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภูมิภาค และโลก การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรไปสูสังคมสูงวัย และทักษะของประชากรในศตวรรษท่ี 21 ท่ีท่ัวโลกตองเผชิญกับความทาทายและมุงพัฒนาประเทศไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมยุค 4.0 และนําผลการติดตามประเมินผลแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 – 2559 ซ่ึงครอบคลุมประเด็นท่ีเก่ียวกับบริบทการจัดการศึกษา โอกาสทางการศึกษา คุณภาพการศึกษา ประสิทธิภาพการจัด การเรียนการสอน การบริหารจัดการสถานศึกษา และการใชจายงบประมาณ รวมท้ังการพัฒนาการศึกษากับขีดความสามารถในการแขงขับของประเทศ นอกจากนี้ ยังไดศึกษาปญหาและความ ทาทายของระบบการศึกษา ท้ังท่ีเกิดจากปญหาของระบบการศึกษา และจากสภาวการณของโลกท่ีตองเผชิญ เพ่ือนํามากําหนดแนวคิดของการจัดการศึกษา วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมายการพัฒนาการศึกษา บทบาทของผูมีสวนเก่ียวของ ยุทธศาสตร เปาหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการพัฒนา รวมท้ังโครงการเรงดวนท่ีสําคัญ และการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแหงชาติสูการปฏิบัติ โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้

ความจําเปนในการจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ ความทาทายท่ีเปนพลวัตของโลกศตวรรษท่ี ๒๑ ท้ังในสวนท่ีเปนแรงกดดันภายนอก ไดแก การเปลี่ยนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก อันเนื่องจากการปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) การเปลี่ยนแปลงสูอุตสาหกรรม ๔.๐ (The Fourth Industrial Revolution) การดําเนินงานเพ่ือบรรลุเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนขององคการสหประชาชาติ๒๕๗๓ (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ท่ีประเทศไทยไดใหสัตยาบัน รวมท้ังผลกระทบของการเปนประชาคมอาเซียน และความตองการกําลังคนท่ีมีทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ประกอบกับแรงกดดันจากภายในประเทศจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรท่ีสงผลใหประเทศเขาสูสังคมสูงวัยอยางสมบูรณในอนาคตอันใกลการติดกับดักประเทศท่ีมีรายไดปานกลางทัศนคติความเชื่อ คานิยม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของประชากรท่ีปรับเปลี่ยนไปตามกระแสโลกาภิวัตนการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศท่ีสงผลใหทรัพยากรธรรมชาติถูกทําลายและเสื่อมโทรมอยางรวดเร็ว รวมท้ังระบบการศึกษาท่ียังมีปญหาหลายประการ นับต้ังแตปญหาคุณภาพของคนไทยทุกชวงวัย ปญหาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับ จุดออนของระบบการศึกษาและการพัฒนาบุคลากรดานวิทยาศาสตร ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีและการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ียังไมเหมาะสม ขาดความคลองตัว ยังมีความเหลื่อมล้ําในดานโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา รวมท้ังปญหาดานคุณธรรม จริยธรรม และการขาดความตระหนักถึงความสําคัญของการมีวินัย ความซ่ือสัตยสุจริต และการมีจิตสาธารณะของคนไทยสวนใหญ สงผลกระทบตอระบบการศึกษา ท่ีตองปรับเปลี่ยนใหสนองและรองรับความทาทายดังกลาว จึงมีความจําเปนท่ีประเทศไทยตองปฏิรูปการศึกษา เพ่ือใหระบบการศึกษาเปนกลไกหลักของการขับเคลื่อนประเทศ ภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฉบับใหม กรอบยุทธศาสตรชาติ ระยะ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) และกรอบทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

Page 9: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๙

และสังคมแหงชาติฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) เพ่ือใหสามารถนําพาประเทศไปสูความม่ันคง ม่ังค่ังและยั่งยืนในอีก ๒๐ ปขางหนา

ผลการพัฒนาการศึกษาในชวงป 2552 – 2559 พบวา ไทยประสบความสําเร็จในหลายดาน และมีอีกหลายดานยังเปนปญหาท่ีตองไดรับการพัฒนาอยางเรงดวนในระยะตอไป

ดานโอกาสทางการศึกษา รัฐมีนโยบายสงเสริมสนับสนุนโอกาสทางการศึกษาคอนขางมากสงผลใหประชากรในวัยเรียน รวมท้ังเด็กดอยโอกาสและผูมีความตองการจําเปนพิเศษมีโอกาสไดรับการศึกษาสูงข้ึน แตยังเขาเรียนไดไมครบทุกคนและมีปญหาการออกกลางคันอยูบาง นอกจากนี้ประชากรท่ีอยูในวัยกําลังแรงงานแมจะไดรับการศึกษาเพ่ิมข้ึน แตจํานวนแรงงานท่ีมีการศึกษาต่ํากวาระดับมัธยมศึกษาตอนตนยังมีอยูจํานวนมาก จึงตองเรงดําเนินการสนับสนุนสงเสริมการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต และมีมาตรการตาง ๆ ใหเด็กและประชาชนทุกชวงวัยสามารถเขาถึงโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพมาตรฐานเพ่ิมข้ึน เพ่ือยกระดับการศึกษาของคนไทยใหเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

ดานคุณภาพการศึกษา ผลการพัฒนายังไมเปนท่ีนาพึงพอใจ เนื่องจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีคะแนนตํ่ากวาคาเฉลี่ยมาก และตํ่ากวาหลายประเทศในแถบเอเชีย สวนประเด็นคุณธรรม จริยธรรมของเด็กและเยาวชนยังตองมีการพัฒนาเพ่ิมข้ึน นอกจากนี้คุณภาพของกําลังแรงงานอายุ ๑๕ ปข้ึนไป ยังไมตรงกับความตองการของตลาดงาน และผูเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษามีสัดสวนนอยกวาประเภทสามัญศึกษา ทําใหมีการขาดแคลนแรงงานระดับกลาง สวนแรงงานท่ีสําเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษามีจํานวนเพ่ิมข้ึนทุกปแตไมตรงกับความตองการของตลาดงาน และยังมีสมรรถนะหรือคุณลักษณะอ่ืน ๆ ท่ีไมตรงตามความตองการของสถานประกอบการ ทําใหมีผูวางงานอยูจํานวนมาก จึงจําเปนตองใหความสําคัญกับการพัฒนาผูเรียนและกําลังแรงงานท่ีมีทักษะ และคุณลักษณะท่ีพรอมเพ่ือตอบสนองตอความตองการของภาคสวนตาง ๆ โดยจะตองมีการวิเคราะหความตองการกําลังคน เพ่ือวางเปาหมายการจัดการศึกษา ท้ังเพ่ือการผลิตกําลังคนเขาสูตลาดงานและการพัฒนากําลังคนเพ่ือยกระดับคุณภาพกําลังแรงงานใหสูงข้ึน

ดานประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ และการใชจายงบประมาณทางการศึกษา ซ่ึงเปนปญหาเชิงโครงสรางและระบบการจัดการท่ีตองไดรับการปรับปรุงเปนลําดับแรก โดยเฉพาะการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กซ่ึงมีอยูจํานวนมาก เพ่ือเพ่ิมคุณภาพการศึกษาและลดภาระงบประมาณ การใชจายงบประมาณเพ่ือการศึกษาซ่ึงไดรับคอนขางสูงเม่ือเทียบกับประเทศอ่ืน ๆ แตใชจายเพ่ือพัฒนาผูเรียน พัฒนาการเรียนการสอน และพัฒนาครูคอนขางนอย การพัฒนาระบบขอมูลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีเชื่อมโยงกันเพ่ือใชในการบริหารจัดการ เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยเฉพาะสถานศึกษาขนาดเล็กการสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการจัดและสนับสนุนการศึกษาเพ่ือลดภาระคาใชจายของภาครัฐ และปฏิรูประบบการเงินเพ่ือการศึกษา

แนวคิดการจัดการศึกษา แนวคิดการจัดการศึกษา (Conceptual Design) ตามแผนการศึกษาแหงชาติยึดหลักสําคัญในการจัดการศึกษา ประกอบดวย หลักการจัดการศึกษาเพ่ือปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพ่ือความเทาเทียมและท่ัวถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีสวนรวมของทุกภาคสวนของสังคม (All for Education) อีกท้ังยึดตามเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิคุณภาพของคนทุกชวงวัย การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรของ

Page 10: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๑๐

ประเทศ ความเหลื่อมล้ําของการกระจายรายไดและวิกฤตดานสิ่งแวดลอม โดยนํายุทธศาสตรชาติ (National Strategy)มาเปนกรอบความคิดสําคัญในการจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ

วิสัยทัศน จุดมุงหมาย เปาหมาย ตัวช้ีวัด และยุทธศาสตรของแผนการศึกษาแหงชาติ จากแนวคิดการจัดการศึกษาดังกลาวขางตน แผนการศึกษาแหงชาติฉบับนี้จึงไดกําหนดวิสัยทัศน

(Vision) ไวดังนี้ “คนไทยทุกคนไดรับการศึกษาและเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดํารงชีวิตอยางเปนสุข

สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี ๒๑” โดยมีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษา ๔ ประการ คือ

๑) เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ๒) เพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคลองกับ

บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติและยุทธศาสตรชาติ ๓) เพ่ือพัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมแหงการเรียนรู และคุณธรรม จริยธรรม รูรักสามัคคี และ

รวมมือผนึกกําลังมุงสูการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ ๔) เพ่ือนําประเทศไทยกาวขามกับดักประเทศท่ีมีรายไดปานกลาง และความเหลื่อมล้ํา

ภายในประเทศลดลง เพ่ือใหบรรลุวิสัยทัศนและจุดมุงหมายในการจัดการศึกษาดังกลาวขางตน แผนการศึกษาแหงชาติ

ไดวางเปาหมายไว ๒ ดาน คือ เปาหมายดานผูเรียน (Learner Aspirations) โดยมุงพัฒนาผูเรียนทุกคนใหมีคุณลักษณะและ

ทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ (3Rs8Cs) ประกอบดวย ทักษะและคุณลักษณะตอไปนี้ 3Rs ไดแก การอานออก (Reading) การเขียนได(Writing) และการคิดเลขเปน(Arithmetics) 8Cs ไดแก ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณ และทักษะในการแกปญหา (Critical Thinking

and Problem Solving) ทักษะดานการสรางสรรคและนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทัศน (Cross – cultural Understanding) ทักษะดานความรวมมือ การทํางานเปนทีม และภาวะผูนํา (Collaboration Teamwork and Leadership) ทักษะดานการสื่อสาร สารสนเทศ และการรูเทาทันสื่อ(Communications, Information and Media Literacy) ทักษะดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู(Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

เปาหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) ๕ ประการ ซ่ึงมีตัวชี้วัดเพ่ือการบรรลุเปาหมาย ๕๓ ตัวชี้วัด ประกอบดวย เปาหมายและตัวชี้วัดท่ีสําคัญ ดังนี้

๑) ประชากรทุกคนเขาถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีมาตรฐานอยางท่ัวถึง (Access) มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน ประชากรกลุมอายุ ๖ - ๑๔ ปทุกคนไดเขาเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทาท่ีรัฐตองจัดใหฟรีโดยไมเก็บคาใชจาย ผูเรียนพิการไดรับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาท่ีเหมาะสมทุกคน และประชากรวัยแรงงานมีการศึกษาเฉลี่ยเพ่ิมข้ึน เปนตน

๒) ผูเรียนทุกคน ทุกกลุมเปาหมายไดรับบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานอยางเทาเทียม (Equity) มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน ผูเรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกคนไดรับการสนับสนุนคาใชจายในการศึกษา ๑๕ ปเปนตน

Page 11: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๑๑

๓) ระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพ สามารถพัฒนาผูเรียนใหบรรลุขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ (Quality) มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) แตละวิชาผานเกณฑคะแนนรอยละ ๕๐ ข้ึนไปเพ่ิมข้ึน และคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบโครงการประเมินผลนักเรียนรวมกับนานาชาติ (Programme for International Student Assessment : PISA) ของนักเรียนอายุ๑๕ ปสูงข้ึน เปนตน

๔) ระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือการลงทุนทางการศึกษาท่ีคุมคาและบรรลุเปาหมาย (Efficiency) มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน รอยละของสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีไมผานเกณฑการประเมินคุณภาพภายนอกลดลง มีระบบการบริหารงานบุคคล ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพและเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน รวมท้ังมีกลไกสงเสริมใหทุกภาคสวนสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการจัดการศึกษา เปนตน

๕) ระบบการศึกษาท่ีสนองตอบและกาวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีเปนพลวัตและบริบทท่ีเปลี่ยนแปลง (Relevancy) มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน อันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศดานการศึกษาดีข้ึน สัดสวนผูเรียนอาชีวศึกษาสูงข้ึนเม่ือเทียบกับผูเรียนสามัญศึกษา และจํานวนสถาบันอุดมศึกษาท่ีติดอันดับ ๒๐๐ อันดับแรกของโลกเพ่ิมข้ึน เปนตน

ยุทธศาสตร เปาหมาย และตัวช้ีวัด แผนการศึกษาแหงชาติไดกําหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาการศึกษาภายใต๖ ยุทธศาสตรหลักท่ีสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป เพ่ือใหแผนการศึกษาแหงชาติบรรลุเปาหมายตามจุดมุงหมาย วิสัยทัศนและแนวคิดการจัดการศึกษาดังกลาวขางตน ดังนี้

ยุทธศาสตรท่ี ๑ : การจัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ มีเปาหมาย ดังนี้ 1.๑ คนทุกชวงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน การจัดกิจกรรมของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีสงเสริมการเรียนรูท่ีสะทอนความรักและการธํารงรักษาสถาบันหลักของชาติและการยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education) และสงเสริมการอยูรวมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม เปนตน

1.๒ คนทุกชวงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีพิเศษไดรับการศึกษาและเรียนรูอยางมีคุณภาพ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน นักเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีพิเศษมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) แตละวิชาผานเกณฑคะแนนรอยละ ๕๐ ข้ึนไปเพ่ิมข้ึน สถานศึกษาจัดการศึกษาสําหรับกลุมชนตางเชื้อชาติศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม กลุมชนชายขอบ และแรงงานตางดาวเพ่ิมข้ึน และสถานศึกษาในพ้ืนท่ีพิเศษท่ีจัดอยูในมาตรการจูงใจ มีระบบเงินเดือนคาตอบแทนท่ีสูงกวาระบบปกติเพ่ิมข้ึน เปนตน

1.๓ คนทุกชวงวัยไดรับการศึกษา การดูแลและปองกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน สถานศึกษาท่ีจัดกระบวนการเรียนรูและปลูกฝงแนวทางการจัดการความขัดแยงโดยแนวทางสันติวิธีเพ่ิมข้ึน มีการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพ่ือเสริมสรางความรูความเขาใจท่ีถูกตองเก่ียวกับภัยคุกคามในรูปแบบใหมเพ่ิมข้ึน มีระบบ กลไก และมาตรการท่ีเขมแข็งในการปองกันและแกไขปญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม และผูเรียนในสถานศึกษาท่ีมีคดีทะเลาะวิวาทลดลง เปนตน

โดยไดกําหนดแนวทางการพัฒนา คือ พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรางความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ยกระดับคุณภาพและสงเสริมโอกาสในการเขาถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ี

Page 12: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๑๒

พิเศษ ท้ังท่ีเปนพ้ืนท่ีสูง พ้ืนท่ีตามแนวตะเข็บชายแดนและพ้ืนท่ีเกาะแกง ชายฝงทะเล ท้ังกลุมชนตางเชื้อชาติศาสนา และวัฒนธรรม กลุมชนชายขอบและแรงงานตางดาว พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือการจัดระบบการดูแลและปองกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม อาทิอาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบตาง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติใหม ภัยจากไซเบอร เปนตน และมีแผนงานและโครงการสําคัญ เชน โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีพิเศษ เปนตน

ยุทธศาสตร ท่ี ๒ : การผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรรม เพ่ือสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ มีเปาหมาย ดังนี้

๒.๑ กําลังคนมีทักษะท่ีสําคัญจําเปนและมีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน มีฐานขอมูลความตองการกําลังคน (Demand) จําแนกตามกลุมอุตสาหกรรมอยางครบถวน สัดสวนผูเรียนอาชีวศึกษาสูงข้ึนเม่ือเทียบกับผูเรียนสามัญศึกษา และสัดสวนผูเรียนวิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสูงข้ึนเม่ือเทียบกับผูเรียนสังคมศาสตรกําลังแรงงานในสาขาอาชีพตาง ๆ ท่ีไดรับการยกระดับคุณวุฒิวิชาชีพเพ่ิมข้ึน เปนตน

๒.๒ สถาบันการศึกษาและหนวยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเชี่ยวชาญและเปนเลิศเฉพาะดาน มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน สัดสวนการผลิตกําลังคนระดับกลางและระดับสูง จําแนกตามระดับ/ประเภทการศึกษา ในสาขาวิชาท่ีสอดคลองกับความตองการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศเพ่ิมข้ึน รอยละของสถาบันการศึกษาจัดการศึกษารูปแบบทวิภาคี/สหกิจศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนในโรงงานตามมาตรฐานท่ีกําหนดเพ่ิมข้ึน จํานวนหลักสูตรของสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาทวิวุฒิ(Dual Degree) เพ่ิมข้ึน จํานวนสถาบันอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาท่ีจัดหลักสูตรสําหรับผูมีความสามารถพิเศษเพ่ิมข้ึน และมีภาคีเครือขายความรวมมือระหวางรัฐ เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพและหนวยงานท่ีจัดการศึกษาเพ่ิมข้ึน เปนตน

๒.๓ การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสรางองคความรู และนวัตกรรมท่ีสรางผลผลิตและมูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน สัดสวนเงินลงทุนวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนเม่ือเทียบกับภาครัฐเพ่ิมข้ึน สัดสวนคาใชจายการลงทุนเพ่ือการวิจัยและพัฒนาเม่ือเทียบกับผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศเพ่ิมข้ึน โครงการ/งานวิจัยเพ่ือสรางองคความรู/นวัตกรรมท่ีนําไปใชประโยชนในการพัฒนาประเทศเพ่ิมข้ึน บุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาตอประชากร ๑๐,๐๐๐ คน เพ่ิมข้ึน นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ ท่ีไดจดสิทธิบัตรและทรัพยสินทางปญญาเพ่ิมข้ึน และผลงานวิจัยท่ีไดรับการตีพิมพในระดับนานาชาติเพ่ิมข้ึน เปนตน

โดยไดกําหนดแนวทางการพัฒนา คือ ผลิตและพัฒนากําลังคนใหมีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความตองการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สงเสริมการผลิตและพัฒนากําลังคนท่ีมีความเชี่ยวชาญและเปนเลิศเฉพาะดาน สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพ่ือสรางองคความรูและนวัตกรรมท่ีสรางผลผลิตและมูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจ และมีแผนงานและโครงการสําคัญ เชน โครงการจัดทําแผนผลิตและพัฒนากําลังคนใหตรงกับความตองการของตลาดงานในกลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย เปนตน

ยุทธศาสตรท่ี ๓ : การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู มีเปาหมาย ดังนี้

๓.๑ ผูเรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะท่ีจําเปนในศตวรรษท่ี ๒๑ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน ผูเรียนท่ีมีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ิมข้ึน ผูเรียนทุกระดับการศึกษามีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความมีวินัย และมีจิตสาธารณะเพ่ิมข้ึน สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทาข้ึนไปท่ีจัดกิจกรรมสะทอนการสรางวินัย จิตสาธารณะ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงคเพ่ิมข้ึน เปนตน

Page 13: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๑๓

๓.๒ คนทุกชวงวัยมีทักษะ ความรูความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตไดตามศักยภาพ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน เด็กแรกเกิด – ๕ ป มีพัฒนาการสมวัยเพ่ิมข้ึน นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) แตละวิชาผานเกณฑคะแนนรอยละ ๕๐ ข้ึนไปเพ่ิมข้ึน ผูสูงวัยท่ีไดรับบริการการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพและทักษะชีวิตเพ่ิมข้ึน และมีสาขาและวิชาชีพท่ีเปดโอกาสใหผูสูงวัยไดรับการสงเสริมใหทํางานและถายทอดความรู/ประสบการณเพ่ิมข้ึน เปนตน

๓.๓ สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรอยางมีคุณภาพและมาตรฐาน มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน ศูนยเด็กเล็ก/สถานศึกษาระดับกอนประถมศึกษาท่ีจัดกิจกรรมการเรียนรูไดคุณภาพและมาตรฐานเพ่ิมข้ึน สถานศึกษา/สถานพัฒนา เด็กปฐมวัยจัดกิจกรรมท่ีสอดคลองกับหลักสูตรปฐมวัย และสมรรถนะของเด็กท่ีเชื่อมโยงกับมาตรฐานคุณภาพเด็กปฐมวัยของอาเซียนเพ่ิมข้ึน สถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรท่ีมุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ิมข้ึน และสถาบันการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรท่ีมุงพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะท่ีสอดคลองกับยุทธศาสตรประเทศไทย ๔.๐ เพ่ิมข้ึน เปนตน

๓.๔ แหลงเรียนรู สื่อตําราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรูมีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขาถึงไดโดยไมจํากัดเวลาและสถานท่ี มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชนแหลงเรียนรูท่ีไดรับการพัฒนาใหสามารถจัดการศึกษา/จัดกิจกรรมการเรียนรูตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพเพ่ิมข้ึน สื่อสารมวลชนท่ีเผยแพรหรือจัดรายการเพ่ือการศึกษาเพ่ิมข้ึน สื่อตําราเรียน และสื่อการเรียนรู ท่ีผานการรับรองมาตรฐานคุณภาพจากหนวยงานท่ีรับผิดชอบ และไดรับการพัฒนา โดยการมีสวนรวมจากภาครัฐและเอกชนเพ่ิมข้ึน เปนตน

๓.๕ ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมินผลมีประสิทธิภาพ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน มีระบบและกลไกการทดสอบ การวัดและประเมินความรู ทักษะ และสมรรถนะของผูเรียนทุกระดับการศึกษา และทุกกลุมเปาหมายท่ีมีประสิทธิภาพ มีระบบติดตามประชากรวัยเรียนท่ีขาดโอกาสหรือไมไดรับการศึกษา และผูเรียนท่ีมีแนวโนมจะออกกลางคัน เปนตน

๓.๖ ระบบการผลิตครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ไดมาตรฐานระดับสากล มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน มีฐานขอมูลความตองการใชครู แผนการผลิตครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาในระยะ ๑๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙) จําแนกตามสาขาวิชา ขนาดสถานศึกษา และจังหวัด สัดสวนของการบรรจุครูท่ีมาจากการผลิตครูในระบบปดเพ่ิมข้ึนมีหลักเกณฑและเง่ือนไขท่ีเอ้ือใหผูสําเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาอ่ืนและพัฒนาเพ่ิมเติมเพ่ือเขาสูวิชาชีพครู เปนตน

๓.๗ ครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน ครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษาไดรับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพ และสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพรวมท้ังไดรับการพัฒนาใหสอดคลองกับความตองการและยุทธศาสตรของหนวยงานเพ่ิมข้ึน และระดับความพึงพอใจของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีตอการพัฒนาและการใชประโยชนจากการพัฒนาเพ่ิมข้ึน เปนตน โดยไดกําหนดแนวทางการพัฒนา คือ สงเสริมและพัฒนาแหลงเรียนรู สื่อตําราเรียนและสื่อการเรียนรูตาง ๆ ใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูไดโดยไมจํากัดเวลาและสถานท่ี สรางเสริมและปรับเปลี่ยนคานิยมของคนไทยใหมีวินัย จิตสาธารณะและพฤติกรรมท่ีพึงประสงค และพัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัด และ

Page 14: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๑๔

ประเมินผลผูเรียนใหมีประสิทธิภาพ และมีแผนงานและโครงการท่ีสําคัญ เชน โครงการผลิตครูเพ่ือพัฒนาทองถ่ิน เปนตน

ยุทธศาสตรท่ี ๔ : การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา มีเปาหมาย ดังนี้

๔.๑ ผูเรียนทุกคนไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน ดัชนีความเสมอภาคของอัตราการเขาเรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามฐานะทางเศรษฐกิจและพ้ืนท่ีลดลง ความแตกตางระหวางคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนระหวางพ้ืนท่ี/ภาคการศึกษาในวิชาคณิตศาสตรและภาษาอังกฤษลดลง เปนตน

๔.๒ การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาผานเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาสําหรับคนทุกชวงวัย มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน มีระบบเครือขายเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาท่ีทันสมัยสนองตอบความตองการของผูเรียนและผูใชบริการอยางท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพ และสถานศึกษาทุกแหงมีอินเทอรเน็ตความเร็วสูงและมีคุณภาพ เปนตน

๔.๓ ระบบขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกตองเปนปจจุบัน เพ่ือการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล

มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน มีระบบฐานขอมูลรายบุคคลท่ีอางอิงจากเลขท่ีบัตรประจําตัวประชาชน ๑๓ หลัก ท่ีสามารถเชื่ อมโยง และแลกเปลี่ ยนฐานขอมูล รวม ท้ัง ใชประโยชนร วม กันระหว า งกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานอ่ืน ดานสาธารณสุข สังคม ภูมิสารสนเทศ แรงงาน และการศึกษา และมีระบบสารสนเทศดานการศึกษาและดานอ่ืนท่ีเก่ียวของ ท่ีเปนระบบเดียวกันท้ังประเทศ ครอบคลุม ถูกตอง และเปนปจจุบัน สามารถอางอิงได เปนตนโดยไดกําหนดแนวทางการพัฒนา คือ เพ่ิมโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาสําหรับคนทุกชวงวัย พัฒนาฐานขอมูลดานการศึกษาท่ีมีมาตรฐาน เชื่อมโยงและเขาถึงได และมีแผนงานและโครงการสําคัญเชน โครงการจัดทําฐานขอมูลรายบุคคลทุกชวงวัย ท้ังดานสาธารณสุข สังคม ภูมิสารสนเทศแรงงาน และการศึกษา เปนตน

ยุทธศาสตรท่ี ๕ : การจัดการศึกษาเพ่ือสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม มีเปาหมาย ดังนี้

๕.๑ คนทุกชวงวัย มีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม และนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ไดรับการอบรมพัฒนาในเรื่องการสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพ่ิมข้ึน ผูเรียนทุกระดับการศึกษามีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความตระหนักในความสําคัญของการดํารงชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ความมีคุณธรรม จริยธรรม และการประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินชีวิตเพ่ิมข้ึน และสถาบันอุดมศึกษาท่ีติดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียวของโลกเพ่ิมข้ึน เปนตน

๕.๒ หลักสูตร แหลงเรียนรู และสื่อการเรียนรูท่ีสงเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม คุณธรรม จริยธรรม และการนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน สถานศึกษา/สถาบันการศึกษาจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเพ่ือปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม และการนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติเพ่ิมข้ึน และสื่อสารมวลชนท่ีเผยแพรหรือใหความรูเก่ียวกับการสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพ่ิมข้ึน เปนตน

Page 15: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๑๕

๕.๓ การวิจัยเพ่ือพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานการสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน มีฐานขอมูลดานการศึกษาท่ีเก่ียวของกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในสาขาตางๆ เพ่ิมข้ึน เปนตนโดยไดกําหนดแนวทางการพัฒนา คือ สงเสริม สนับสนุนการสรางจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม และนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติในการดําเนินชีวิต สงเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู แหลงเรียนรู และท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และมีแผนงานและโครงการสําคัญ เชน โครงการนอมนําศาสตรพระราชาสูการพัฒนาและเพ่ิมศักยภาพคนทุกชวงวัย โครงการโรงเรยีนคุณธรรม โครงการโรงเรียนสีเขียว เปนตน

ยุทธศาสตรท่ี ๖ : การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา มีเปาหมาย ดังนี้ ๖.๑ โครงสราง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคลองตัวชัดเจน และ

สามารถตรวจสอบได มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน มีการปรับปรุงโครงสรางและระบบบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสถานศึกษาใหมีเอกภาพ สอดคลองกับบริบทของพ้ืนท่ีและการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เปนตน

๖.๒ ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสงผลตอคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน สถานศึกษาขนาดเล็ก/สถานศึกษาท่ีตองการความชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษอยางเรงดวน ท่ีไมผานเกณฑการประเมินคุณภาพภายนอกลดลง คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐานของผูเรียนท่ีเรียนในกลุมสถานศึกษาท่ีเขาสูระบบการบริหารจัดการแนวใหมสูงข้ึน เปนตน

๖.๓ ทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความตองการของประชาชนและพ้ืนท่ี มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน จํานวนองคกร สมาคม มูลนิธิ หรือหนวยงานอ่ืนท่ีเขามาจัดการศึกษาหรือรวมมือกับสถานศึกษา ท้ังของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถ่ินเพ่ิมข้ึน และสัดสวนการมีสวนรวมสนับสนุนการศึกษาของภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคีเครือขายเม่ือเทียบกับรัฐ จําแนกตามระดับการศึกษาสูงข้ึน เปนตน

๖.๔ กฎหมายและรูปแบบการบริหารจดัการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะท่ีแตกตางกันของผูเรียน สถานศึกษา และความตองการกําลังแรงงานของประเทศมีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน มี กฎหมาย กฎ ระเบียบ และระบบการจัดสรรเงินเพ่ือการศึกษาท่ีเอ้ือและสนองตอบคุณลักษณะท่ีแตกตางกันของผูเรียน ความตองการกําลังแรงงานและสภาพปญหาท่ีแทจริงของประเทศ มีรูปแบบ/แนวทาง กลไกการจัดสรรงบประมาณผานดานอุปสงคและอุปทานในสัดสวนท่ีเหมาะสม เปนตน

๖.๕ ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษามีความเปนธรรม สรางขวัญกําลังใจ และสงเสริมใหปฏิบัติงานไดอยางเต็มตามศักยภาพ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ เชน สถานศึกษาท่ีมีครูเพียงพอตอการจัดการเรียนการสอนเพ่ิมข้ึน ครู/ผูทรงคุณวุฒิจากภาคเอกชน/ผูประกอบการท่ีปฏิบัติงานสนับสนุนการเรียนการสอนเพ่ิมข้ึน และสถานศึกษามีบุคลากรทางการศึกษาทําหนาท่ีปฏิบัติงานสนับสนุนการเรียนการสอนเพ่ิมข้ึน เปนตน

โดยกําหนดแนวทางการพัฒนา คือ ปรับปรุงโครงสรางการบริหารจัดการศึกษา เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา สงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการจัดการศึกษา ปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษา พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของคร ูอาจารย และบุคลากรทางการศึกษา และมีแผนงานและโครงการสําคัญ เชน โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก

Page 16: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๑๖

โครงการพัฒนาระบบจัดสรรงบประมาณเพ่ือการศึกษา และโครงการทดลองนํารองระบบการจัดสรรเงินผานดานอุปสงคและอุปทาน เปนตน

การขับเคล่ือนแผนการศึกษาแหงชาติสูการปฏิบัติ ความสําเร็จของการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ สูการปฏิบัติข้ึนอยูกับปจจัยสําคัญหลายประการ ประกอบดวย สาระของแผนการศึกษาแหงชาติท่ีมีความชัดเจน ครบถวน และครอบคลุมทุกกลุมเปาหมายและทุกระดับการศึกษา การมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาแผนการศึกษาแหงชาติ ของผูเก่ียวของทุกภาคสวน ตั้งแตระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติ ผูมีสวนไดสวนเสีย และสาธารณชน การเผยแพร ประชาสัมพันธแกผูเก่ียวของและสาธารณชนเพ่ือสรางความตระหนักในความสําคัญของแผนการศึกษาแหงชาติ การสรางความรูความเขาใจเก่ียวกับแผนการศึกษาแหงชาติ และการนําแผนการศึกษาแหงชาติ สูการปฏิบัติท่ีชัดเจนแกผูปฏิบัติทุกระดับ เพ่ือใหทุกภาคสวนไดเขามามีสวนรวมในการพัฒนาการจัดการศึกษาของชาติ

แนวทางการขับเคล่ือนแผนการศึกษาแหงชาติสูการปฏิบัติ ประกอบดวย ๑) การสรางความรูความเขาใจใหทุกภาคสวนไดตระหนักถึงความสําคัญและพรอมเขารวมในการ

ผลักดันแผนการศึกษาแหงชาติสูการปฏิบัติ การสรางความเขาใจกับหนวยงานองคกร และภาคีทุกภาคสวน ถึงวิสัยทัศนและเปาหมายของแผนการศึกษาแหงชาติ

๒) การสรางความเชื่อมโยงระหวางแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ยุทธศาสตรชาติระยะ ๒๐ ปนโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาการศึกษาระยะ ๕ ป แผนปฏิบัติราชการระยะ ๔ ป และแผนปฏิบัติการประจําปของหนวยงาน โดยสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา และหนวยงานท่ีเก่ียวของรวมจัดทําและติดตามประเมินผลแผนดังกลาว

๓) การปรับปรุงกฎ ระเบียบ และกฎหมายตาง ๆ ใหเอ้ือตอการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาในระดับตาง ๆ และ

๔) การสรางชองทางใหประชาสังคมมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและมีสวนรวมในการจัดการศึกษาอยางกวางขวาง ท้ังระดับนโยบายและระดับพ้ืนท่ี

การดําเนินการการขับเคล่ือนแผนการศึกษาแหงชาติสูการปฏิบัติ แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ไดเสนอรายละเอียดการดําเนินการขับเคลื่อนสูการปฏิบัติ โดยไดระบุบทบาทของหนวยงานในระดับต าง ๆ อาทิ หนวยงานสวนกลาง ซ่ึงประกอบดวย กระทรวงศึกษาธิการ หนวยงานในกระทรวงศึกษาธิการ เชน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา และหนวยงานอ่ืนนอกกระทรวงศึกษาธิการท่ีรับผิดชอบจัดการศึกษา เปนตน สวนระดับภูมิภาค ประกอบดวย สํานักงานศึกษาธิการภาค สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เปนตน รวมท้ังระดับสถานศึกษาและระดับหองเรียน โดยไดกําหนดแนวทางในการขับเคลื่อนการดําเนินงานท้ัง๖ ยุทธศาสตรของหนวยงานในแตละระดับอยางชัดเจน ซ่ึงจะทําใหการดําเนินงานตามแผน เปนไปอยางสอดคลอง รองรับในกรอบทิศทางเดียวกัน และการจัดการศึกษาเปนไปตามยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาในชวงเวลาท่ีกําหนด

การติดตามประเมินผลแผนการศึกษาแหงชาติ แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผล เปนการติดตามประเมินผลท่ีเปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียกับการจัดการศึกษาเขามามีสวนรวมในการประเมิน ท้ังการประเมินผลผลิตผลลัพธ และผลกระทบ โดยแตละหนวยงานประเมินการดําเนินงานของตนควบคูไปกับการ

Page 17: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๑๗

ใหหนวยงานกลางประเมิน มีหลักเกณฑการติดตามและประเมินผลตัวชี้วัดท่ีชัดเจน โปรงใสมีมาตรฐาน และถูกตองตามหลักวิชาการแนวทางการติดตามประเมินผลแผนการศึกษาแหงชาติ ประกอบดวย

๑) การประเมินบริบทกอนเริ่มโครงการ ประเมินระหวางดําเนินงาน และประเมินหลังการดําเนินงานตามแผนเสร็จสิ้น

๒) วางระบบการประเมินระดับกระทรวง สวนกลาง สวนภูมิภาค จังหวัด และเขตพ้ืนท่ีเพ่ือเชื่อมโยงแผนปฏิบัติการแตละระดับกับแผนการศึกษาแหงชาติ

๓) สงเสริมใหเกิดการประสานความรวมมือระหวางกระทรวงศึกษาธิการ หนวยงานดานการประเมินคุณภาพการศึกษา ดานงบประมาณ และหนวยงานท่ีเก่ียวของท้ังในสวนกลางและในพ้ืนท่ี เพ่ือใหการติดตามประเมินผลมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

๔) จัดใหหนวยงานหรือองคกรท่ีมีความเชี่ยวชาญและเปนกลางเปนผูประเมิน ๕) จัดเวทีสาธารณะเพ่ือใหผูมีสวนไดสวนเสียไดแสดงความคิดเห็น และ ๖) นําเสนอผลการติดตามและประเมินผลแผนการศึกษาแหงชาติใหทุกฝายท่ีเก่ียวของไดรับ

ทราบ (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2560. แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579)

4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 ประเทศไทยอยูในชวงเวลาท่ีตองเผชิญกับสถานการณทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี

พลังงาน และสิ่งแวดลอมท่ีเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและสงผลกระทบอยางรุนแรงมากข้ึนกวาชวงท่ีผานมา เชน การเปลี่ยนแปลงของบริบทเศรษฐกิจ และสังคมโลก จากการปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) สูอุตสาหกรรม 4.0 โครงสรางของประชากรเปลี่ยนแปลงเขาสูสังคมผูสูงวัย วาระการพัฒนาของโลกภายหลัง ค.ศ.2015 มุงพัฒนาระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีความเทาเทียมทางเพศ สงเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจแบบยั่งยืน การบริหารจัดการหนวยงานภาครัฐมุงขจัดการทุจริตคอรรัปชั่น ดวยหลักธรรมาภิบาล ดังนั้น สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการในชวงป 2560 – 2564 ตองมีการปรับปรุง และพัฒนาอยางกาวกระโดด เพ่ือเปนหนวยงานท่ีมีการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ ผูเรียนไดรับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพอยางท่ัวถึง เทาเทียม และมีคุณธรรม จริยธรรม ความเปนพลเมือง พลโลก โดยทุกภาคสวนสังคมมีสวนรวมรับผิดชอบผลลัพธการพัฒนาศักยภาพผูเรียน ดวยระบบเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมีประสิทธิภาพในการบริหาร การบริการ และการเรียนรู และคุณภาพ มาตรฐานของขาราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาท่ีสอดคลองกับสมรรถนะวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ความกาวหนาของผูเรียน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางการขับเคลื่อนท่ีสําคัญ โดยไดจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ซ่ึงมีสาระสําคัญ ดังนี้

1. วิสัยทัศน “การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ ผูเรียนไดรับการเรียนรูตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

2. เปาประสงครวม คือ 1. ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ 2. ผูเรียนไดรับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพ อยางท่ัวถึง และเทาเทียม

3. ตัวชี้วัดเปาประสงครวม คือ 1. คะแนนของผลการประเมินการปฏิบัติราชการตามคารับรอง การปฏิบัติราชการของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 2. รอยละของคะแนนการประเมินคุณธรรมและ ความโปรงใสของการดาเนินงานของหนวยงาน 3. รอยละของกาลังแรงงานท่ีสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา

Page 18: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๑๘

ตอนตนข้ึนไป 4. รอยละท่ีเพ่ิมข้ึนของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) 5. รอยละคะแนนเฉลี่ยของผูเรียนท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม ความเปนพลเมืองและพลโลก

4. ประเด็นยุทธศาสตรและกลยุทธ 1) ประเด็นยุทธศาสตรพัฒนาระบบบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ กลยุทธ

1. พัฒนากลไกการบริหารจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ 2. เรงรัด ปรับปรุง แกไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ และขอบังคับใหเอ้ือตอการปฏิบัติงาน 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการงบประมาณใหมีประสิทธิภาพสูง

2) ประเด็นยุทธศาสตรพัฒนาและสงเสริมการนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการบริหาร การบริการ และการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ

กลยุทธ 1. พัฒนาระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพ่ือการศึกษาใหครอบคลุมและมีเสถียรภาพ ตอบสนอง

ความตองการใชงาน 2. พัฒนาระบบฐานขอมูลกลางดานการศึกษาของประเทศใหเปนเอกภาพ เปนปจจุบันและ

ทันตอการใชงาน 3. สรางสื่อ คลังสื่อ และแหลงเรียนรูดิจิทัลท่ีสามารถเขาถึงไดงายและสะดวก 4. พัฒนาและสงเสริมการใชเทคโนโลยีดิจิทัลในกระบวนการทางานและการบริการใหมี

ประสิทธิภาพ 5. จัดหาทรัพยากรพ้ืนฐานดานเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือใชในการบริหาร การบริการ และการ

เรียนรู อยางพอเพียง ท่ัวถึงและเหมาะสมกับการแสวงหาความรูและจัดการองคความรูอยางตอเนื่อง 3) ประเด็นยุทธศาสตรพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ

การศึกษาตามอัธยาศัย กลยุทธ

1. พัฒนาหลักสูตร เนื้อหาสาระ สื่อการเรียนการสอน กระบวนการจัดการเรียนการสอน การนิเทศ การวัด ประเมินผลใหทันกับความกาวหนาและการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาการ สอดคลองกับความตองการของกลุมเปาหมาย และทิศทางการพัฒนาประเทศ

2. สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความเปนพลเมืองและพลโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3. ยกระดับคุณภาพการศึกษา สรางอาชีพ สรางความสมานฉันท และเสริมสรางความม่ันคงในจังหวัดชายแดนภาคใต

4. พัฒนางานวิจัยเพ่ือสรางองคความรูสูการพัฒนาการศึกษา 4) ประเด็นยุทธศาสตรสงเสริมการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการกระจายโอกาสทางการศึกษา

และการเรียนรูตลอดชีวิต กลยุทธ

1. สงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัด และสนับสนุนการจัดการศึกษา 2. สนับสนุนใหผูเรียนไดรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท้ังในระบบและนอกระบบใหผูเรียนตามสิทธิ

ท่ีกําหนดไว

Page 19: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๑๙

3. เพ่ิมและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหผูเรียนสามารถเขาถึงโอกาสทางการเรียนรูไดอยางหลากหลาย ครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี และเปาหมาย

5) ประเด็นยุทธศาสตรพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของขาราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ

กลยุทธ 1. พัฒนากฎ ระเบียบหลักเกณฑการบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากรทางการ

ศึกษาใหสอดคลองกับบริบทท่ีเปลี่ยนแปลงไป 2. ปรับปรุงระบบการประเมินวิทยฐานะและสมรรถนะครูใหสัมพันธกับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน

3. พัฒนาขาราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหมีประสิทธิภาพดวยรูปแบบท่ีหลากหลาย รวมท้ังนาเทคโนโลยีมาใชในกระบวนการพัฒนา (กระทรวงศึกษาธิการ. 2560. แผนพัฒนาการศึกษาของ สป. ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564))

5. นโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศนโยบายและจุดเนนการจัดการศึกษาของ

กระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ 2562 ดังนี้ หลักการ

1. ประชาชนทุกกลุมทุกวัน ไดรับการศึกษาในระบบตางๆ และการเรียนรูตลอดชีวิต 2. เด็ก เยาวชน ผูเรียนมีทัศนคติท่ีถูกตอง มีพ้ืนฐานชีวิตท่ีเขมแข็ง (สุขภาพและอุปนิสัย) 3. จัดการศึกษาใหสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก

ระดับกอนอนุบาล เนนประสานหนวยงานอ่ืน ในการเตรียมความพรอมผูเรียนในดานสุขภาพและโภชนาการ

ระดับอนุบาล เนนความรวมมือ รัฐ ทองถ่ิน เอกชน พอแมและผูปกครองในการจัดการศึกษาระดับอนุบาล

โดยมีจุดเนน 1. พัฒนาผูเรียนใหมีความพรอม ท้ังดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณและสังคม 2. จัดประสบการณการเรียนรู เนนการเรียนปนเลน เรียนรูอยางมีความสุข และสรางกิจกรรม

เสริม ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผูเรียนสรางกระบวนการเรียนรูรวมกันและจัดการเรียนรูแบบองครวมจัดแหลงเรียนรูเพ่ือ

พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพ โดยมีจุดเนน 1. เรียนภาษาไทย เนนเพ่ือการสื่อสาร และใชเปนเครื่องมือเพ่ือเรียนวิชาอ่ืน 2. เรียนภาษาอังกฤษ เนนเพ่ือการสื่อสาร 3. เรียนรูดวยวิธีการ Active Learning เนนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรูจาก

สถานการณจริง สถานการณจําลอง กิจกรรมการเรียนรูจากปญหาและการลงมือปฏิบัติ สามารถเรียนรูไดทุกท่ีทุกเวลา และเรียนรูอยางมีความสุข

4. เรียนรู Digital และใช Digital เปนเครื่องมือการเรียนรู 5. สงเสริมการเรียนวิทยาศาสตรเพ่ือสรางนวัตกรรม 6. จัดการเรียนรูท่ีหลากหลาย ท่ีเชื่อมโยงสูอาชีพและการมีงานทํา

Page 20: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๒๐

7. พัฒนาครูตามความตองการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) 8. จัดใหมีโครงการ 1 ตําบล 1 โรงเรียนคุณภาพ ระดับอาชีวศึกษา จัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทําใหสอดคลองกับนโยบายรัฐบาลและความตองการของสังคมท้ัง

ภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม บริการ และเปนผูประกอบการเอง โดยมีจุดเนน 1. จัดการศึกษาระบบทวิภาคี พัฒนาผูเรียนใหมีทักษะและความเชี่ยวชาญในอาชีพเฉพาะดาน

เรียนรูจากสถานการณจริงและสถานการณจําลอง และเรียนรูจากกิจกรรม 2.เรียนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร และใชเพ่ือประกอบอาชีพ 3. เรียนรู Digital และใช Digital เปนเครื่องมือการเรียนรู 4. จัดตั้งศูนยประสานงานการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาในภูมิภาค ระดับอุดมศึกษา เนนการวิจัยและคนหาแนวทางการพัฒนา การสรางนวัตกรรมเพ่ือใหเกิดองคความรูใหมและมีการ

เชื่อมโยงองคความรูท่ีหลายหลายท้ังภายในประเทศและตางประเทศ เพ่ือพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยมีจุดเนน

1. เรียนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร และมีทักษะภาษาในระดับสูง ใชเปนเครื่องมือในการเรียนรูเพ่ือสรางองคความรู และเปนเครื่องมือในการเชื่อมโยงความรูท้ังในและตางประเทศ

2. เรียนรู Digital และใช Digital เปนเครื่องมือการเรียนรู 3. ผูเรียนรูมีศักยภาพและมีองคความรูท่ีหลากหลายท้ังในและตางประเทศ สามารถสรางนวัตกรรม

เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศและทันตอการเปลีย่นแปลงของสังคมโลก การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เนนเพ่ิมอัตราการอานและการมีทักษะดานอาชีพ ใหแกประชาชน โดยมีจุดเนน 1. สงเสริมและพัฒนาทักษะการฟง – พูดภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร ตามบริบทของพ้ืนท่ี 2. ขยายผลการอบรมหลักสูตรการคาออนไลน โดยบูรณาการรวมกับหนวยอ่ืน การขับเคล่ือนสูการปฏิบัติ 1. ใชกระบวนการพัฒนาคุณธรรม บูรณาการในทุกกระบวนการเรียนรู 2. สอดแทรกเรื่องความโปรงใส ยุติธรรม และปองกันการทุจริต ใหมีในทุกมิติท้ังการเรียนการสอน

การนิเทศ และการบริหาร 3. ใหองคกรหลักนําไปกําหนดนโยบายขององคกรสูการพัฒนาท่ียั่งยืน และขับเคลื่อนสูการปฏิบัติ

ขององคกร 4. เนนการสรางโอกาสทางการศึกษาใหกับทุกกลุมบุคคล ทุกระดับ ทุกประเภทสูการลดความ

เหลื่อมล้ําในการรับการศึกษาท่ีมีคุณภาพในทุกหนวยงาน 5. ใหศึกษาธิการจังหวัด นําเสนอคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด จัดทําแผนและขับเคลื่อนสูการ

ปฏิบัติในการจัดการศึกษาในแตละจังหวัดใหเปนรูปธรรม 6. ใชเทคโนโลยีเชื่อมโยงขอมูล (Big Data) สําหรับเปนเครื่องมือในการเรียนรู และเครื่องมือในการ

บริหาร 7. ใหหนวยงานทางการศึกษา จัดใหมีการพัฒนาหลักสูตรใหมีความเชื่อมโยง ท้ังระดับการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา

Page 21: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๒๑

8. ใหสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ เปนหนวยงานประสานงาน ดูแลเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษในทุกระดับ เพ่ือใหเด็กพิเศษไดรับการพัฒนา สามารถเรียนรู และพ่ึงพาตนเองได

9. ใหสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เปนหนวยงานหลัก และประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ ดูแลเด็กท่ีตกหลนจากระบบการศึกษา และการศึกษาของผูสูงอายุ

10. ใหสถาบัน กศน.ภาค มีสวนรวมในการบูรณาการจัดทําแผนดําเนินงานดานการศึกษาระดับภาค ในพ้ืนท่ีท่ีไดรับการแตงตั้งเปนพ้ืนท่ีนํารองนวัตกรรมการศึกษา

11. ใหผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาธิการภาค มีบทบาทและหนาท่ีตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลท้ังในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2562. นโยบายและจุดเนนการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 )

6. นโยบายการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 นโยบายการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ดังนี้ 1. การตรวจราชการกรณีปกติ

1. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2. การลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา 3. การสรางความเปนเลิศและสรางขีดความสามารถในการแขงข้ัน 4. การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 5. การบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 6. การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

2. การตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 รวมกับผูตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรี และผูตรวจราชการกระทรวงท่ีเก่ียวของ

3. การตรวจราชการกรณีพิเศษ ประกอบดวยการสืบสวน สอบสวน ขอเท็จจริง ปญหาการรองเรียน รองทุกข กลาวโทษ ของประชาชนอันเกิดจากการดําเนินงานของหนวยงาน/สถานศึกษา หรือเจาหนาท่ีของรัฐ รวมถึงวาระแหงชาติ ยาเสพติด อุบัติภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแลง และเหตุการณตางๆ ท่ีเปนภัย และมีผลกระทบตอการจัดการศึกษา/นักเรียน/นักศึกษา และกรณีท่ีไดรับมอบหมายอ่ืนๆ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2561. นโยบายการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 )

7. หลกัการจัดการศกึษานอกระบบ 1. ปรัชญา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ยึดปรัชญา

“คิดเปน” มาใชในการจัดการศึกษา ปรัชญา “คิดเปน” อยูบนพ้ืนฐานความคิดท่ีวา ความตองการของแตละบุคคลไมเหมือนกัน แตทุกคนมีจุดรวมของความตองการท่ีเหมือนกัน คือ ทุกคนตองการความสุข คนเราจะมีความสุขเม่ือตัวเรา ความรูทางวิชาการ สังคมและสิ่งแวดลอม ผสมกลมกลืนกันไดก็จะมีความสุข โดยคิดแบบพอเพียง พอประมาณ ไมมากไมนอย เปนทางสายกลาง สามารถอธิบายไดดวยเหตุผล

กระบวนการเรียนรู ตามปรัชญา “คิดเปน” มีผูเรียนสําคัญท่ีสุด โดยครูจะเปนเพียงผูจัดโอกาส กระตุนใหผูเรียนคิด วิเคราะห ปญหาหรือความตองการ มีการเรียนรูจากขอมูลจริงและตัดสินใจบน

Page 22: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๒๒

ฐานขอมูลท่ีเพียงพอและเชื่อถือได คือ ขอมูลตนเอง วิชาการ ชุมชน สังคมและสิ่งแวดลอม ถาหากสามารถทําใหปญหาหายไป กระบวนการก็ยุติลง ถายังไมพอใจแสดงวายังมีปญหาอยู ก็จะเริ่มกระบวนการพิจารณาทางเลือกใหมอีกครั้ง กระบวนการนี้ก็จะยุติลงเม่ือบุคคลพอใจและมีความสุข

2. หลักการ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนด

หลักการไวดังนี้ 1. เปนหลักสูตรท่ีมีโครงสรางยืดหยุนดานสาระการเรียนรู เวลาเรียน และการจัดการ

เรียนรูโดยเนนการบูรณาการเนื้อหาใหสอดคลองกับวิถีชีวิต ความแตกตางระหวางบุคคล และชุมชน สังคม 2. สงเสรมิใหมีการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ

และการศึกษาตามอัธยาศัย 3. สงเสริมใหผูเรียน ไดพัฒนาและเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต โดยตระหนักวา

ผูเรียนมีความสําคัญ สามารถพัฒนาตนเองไดตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ 4.สงเสริมใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

3. จุดหมาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาให

ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและการเรียนรูอยางตอเนื่อง ซ่ึงเปนคุณลักษณะอันพึงประสงคท่ีตองการ จึงกําหนดจุดหมายดังตอไปนี้

1. มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมท่ีดีงามและสามารถอยูรวมกันในสังคมอยางสันติสุข 2.มีความรูพ้ืนฐานสําหรับการดํารงชีวิต และการเรียนรูตอเนื่อง 3.มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชีพใหสอดคลองกับความสนใจ ความถนัด

และตามทันความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง 4. มีทักษะการดําเนินชีวิตท่ีดี และสามารถจัดการกับชีวิต ชุมชน สังคมไดอยางมี

ความสุขตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. มีความเขาใจประวัติศาสตรชาติไทย ภูมิใจในความเปนไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ

วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปญญาไทย ความเปนพลเมืองดี ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

6. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 7. เปนบุคคลแหงการเรียนรู มีทักษะในการแสวงหาความรู สามารถเขาถึงแหลงเรียนรู

และบูรณาการความรูมาใชในการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคมและประเทศชาต ิ4. กลุมเปาหมาย

ประชาชนท่ัวไปท่ีไมอยูในระบบโรงเรียน 5. โครงสราง

เพ่ือใหการจัดการศึกษาเปนไปตามหลักการ จุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู ท่ีกําหนดไวใหสถานศึกษาและภาคีเครือขายมีแนวปฏิบัติในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา จึงไดกําหนดโครงสรางของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไวดังนี้

1. ระดับการศึกษา ระดับการศึกษา แบงออกเปนออกเปน 3 ระดับ ดังนี้คือ

Page 23: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๒๓

1.1 ระดับประถมศึกษา 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

2. สาระการเรยีนรู สาระการเรยีนรูประกอบดวย 5 สาระ ดังนี้ 1. สาระทักษะการเรียนรู เปนสาระเก่ียวกับการเรียนรูดวยตนเอง การใชแหลง

เรียนรู การจัดการความรู การคิดเปนและการวิจัยอยางงาย 2. สาระความรูพ้ืนฐาน เปนสาระเก่ียวกับภาษาและการสื่อสาร คณิตศาสตร

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3. สาระการประกอบอาชีพ เปนสาระเก่ียวกับการมองเห็นชองทางและการ

ตัดสินใจประกอบอาชีพ ทักษะในอาชีพ การจัดการอาชีพอยางมีคุณธรรมและการพัฒนาอาชีพใหม่ันคง 4. สาระทักษะการดําเนินชีวิต เปนสาระเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สุขภาพ

อนามัยและความปลอดภัยในการดําเนินชีวิต ศิลปะและสุนทรียภาพ 5. สาระการพัฒนาสังคม เปนสาระท่ีเก่ียวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร

เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนาท่ีพลเมือง และการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม

3. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตเปนกิจกรรมท่ีจัดข้ึนเพ่ือใหผูเรียนพัฒนาตนเอง ครอบครัว

ชุมชน สังคม 4. มาตรฐานการเรียนรู หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

กําหนดมาตรฐานการเรียนรู ตามสาระการเรียนรูท้ัง 5 สาระ ท่ีเปนขอกําหนดคุณภาพของผูเรียน ดังนี้ 1. มาตรฐานการเรียนรูการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เปน

มาตรฐานการเรียนรูในแตละสาระการเรียนรูเม่ือผูเรียนเรียนจบหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

2. มาตรฐานการเรียนรูระดับ เปนมาตรฐานการเรียนรูในแตละสาระการเรียนรู เม่ือผูเรียนเรียนจบในแตละระดับ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

5. เวลาเรียน ในแตละระดับใชเวลาเรียน 4 ภาคเรียน ยกเวนกรณีท่ีมีการเทียบโอนผลการเรียน

ท้ังนี้ ผูเรียนตองลงทะเบียนเรียนในสถานศึกษาอยางนอย 1 ภาคเรียน 6. หนวยกิต ใชเวลาเรียน 40 ชั่วโมง มีคาเทากับ 1 หนวยกิต

ท่ีมา อัญชลี ธรรมะวิธีกุล. การจัดการศึกษานอกระบบ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551. สืบคนเม่ือวันท่ี 14 กุมภาพันธ 2561 จาก https://panchalee.wordpress.com

Page 24: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๒๔

8. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) เรียกโดยยอได วา “สทศ.” ใชชื่อ

เปนภาษาอังกฤษวา “National Institute of Educational Testing Service (Public Organization)” เรียกโดยยอได วา “NIETS” เปนหนวยงานทดสอบระดับชาติอยูในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งข้ึนตามพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งสถาบันการทดสอบแหงชาติ (องคการมหาชน) พ.ศ. 2548 โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือบริหารจัดการและดําเนินการเก่ียวกับการศึกษา วิจัย พัฒนาและใหบริการทางดานการประเมินผลทางการศึกษาและทดสอบทางการศึกษาอยางตอเนื่อง รวมท้ังเปนศูนยกลางความรวมมือดานการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติและนานาชาติ

1. วิสัยทัศนองคกร “To be a world-class education testing service center” องคกรสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) เปนสถาบันทางวิชาการและ

วิชาชีพ และเปนแหลงอางอิงระดับชาติและนานาชาติท่ีเชี่ยวชาญดานการทดสอบและการประเมินผลทางการศึกษา เพ่ือใหคนไทยมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาในทุกระดับและทุกประเภทการศึกษาสูระดับสากล

2. พันธกิจ 1. ดําเนินการเก่ียวกับการจัดทําระบบ วิธีการทดสอบและพัฒนาเครื่องมือวัดและ

ประเมินผลตามมาตรฐานการศึกษา 2. ดําเนินการเก่ียวกับการประเมินผลการจัดการศึกษาและการทดสอบทางการศึกษา

ระดับชาติ ตลอดจนใหความรวมมือและสนับสนุนการทดสอบท้ังระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษา 3. ดําเนินการเก่ียวกับการทดสอบทางการศึกษา บริการสอบวัดความรูความสามารถ

และการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เพ่ือนําผลไปใชเปนสวนหนึ่งในการเทียบระดับและการเทียบโอนผลการเรียนท่ีมาจากการศึกษาในระบบเดียวกันหรือการศึกษาตางระบบ

4. ดําเนินการเก่ียวกับการศึกษาวิจัย และเผยแพรนวัตกรรมเก่ียวกับการทดสอบทางการศึกษาตลอดจนเผยแพรเทคนิคการวัดและประเมินผลการศึกษา

5. เปนศูนยกลางขอมูลการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนสนับสนุน และใหบริการผลการทดสอบแกหนวยงานตางๆ ไดท้ังในประเทศและตางประเทศ

6. พัฒนาและสงเสริมวิชาการดานการทดสอบและประเมินผลทางการศึกษา รวมถึงการพัฒนาบุคลากรดานการทดสอบและประเมินผล ดานการติดตามและประเมินผลคุณภาพบัณฑิต รวมท้ังการใหการรับรองมาตรฐานของระบบ วิธีการ เครื่องมือวัด ของหนวยงานการประเมินผลและทดสอบทางการศึกษา

7. เปนศูนยกลางความรวมมือดานการทดสอบทางการศึกษาท้ังในระดับประเทศและระดับนานาชาติ

9. การบริหารการจัดการทดสอบทางการศกึษาระดับชาตดิานการศึกษานอกระบบ (N-NET) 1. การจัดสอบ N-NET การจัดสอบ N-NET (Non-Formal National Education Test) หมายถึง การทดสอบทาง

การศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรียน เปนการทดสอบเพ่ือวัดความรูใหแกนักเรียนท่ีกําลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.2551 ท่ีคาดวาจะสําเร็จการศึกษาในภาคเรียนท่ี 1 และภาคเรียนท่ี 2 ของ ปการศึกษา

Page 25: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๒๕

2. วัตถุประสงคของการสอบ N-NET 1. เพ่ือทดสอบความรู และความคิดของนักเรียนในระดับประถมศึกษา ระดับ

มัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

2. เพ่ือนําผลการสอบไปใชในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียน 3. เพ่ือประกอบการสําเร็จการศึกษา 4. เพ่ือนําผลการทดสอบไปใชในวัตถุประสงคอ่ืน

(สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ . 2558. การจัดสอบ. ขอมูลการจัดสอบเบื้องตน. สืบคนจาก www.niets.or.th เม่ือวันท่ี 6 กันยายน 2562)

ในปการศึกษา 2560 สทศ. จัดสอบ N-NET ใหกับนักเรียนท่ีกําลังศึกษาอยู ใน ชั้นประถมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุม 1 ดังนี้

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนของนักเรียนสังกัด กศน. ตามระดับช้ันจําแนกรายจังหวัด

ท่ี จังหวัด/กลุมจังหวัด ประถม ศึกษา

มัธยมศึกษา ตอนตน

มัธยมศึกษา ตอนปลาย

รวม

1 จังหวัดตาก 2,405 2,402 3,107 10,396

2 จังหวัดพิษณุโลก 326 3,215 5,066 8,607

3 จังหวัดเพชรบูรณ 1,062 4,605 6,739 12,406

4 จังหวัดสุโขทัย 416 2,443 3,705 6,564

5 จังหวัดอุตรดิตถ 523 2,006 3,608 6,137

6 กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 1 4,732 14,671 22,225 44,110 (สํานักงานศึกษาธิการภาค 17. 2562. ขอมูลพ้ืนฐานทางการศึกษา ประจําป พ.ศ. 2562)

10. โครงสรางและรูปแบบขอสอบของแบบทดสอบ N-NET แบบทดสอบท่ีใชสําหรับการทดสอบ N-NET ใชเนื้อหาสาระการเรียนรูจากหลักสูตรการศึกษา

นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ท้ังในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยจัดสอบครอบคลุมเนื้อหา 5 กลุมสาระการเรียนรู ไดแก สาระทักษะการเรียนรู สาระการประกอบอาชีพ สาระทักษะการดําเนินชีวิต สาระความรูพ้ืนฐาน และสาระการพัฒนาสังคม และแบบทดสอบของแตละระดับจะมีจํานวน 2 ฉบับ

Page 26: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๒๖

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที่ 1 ช้ันประถมศึกษา ปการศึกษา 2561

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

ทักษะการเรียนรู ทักษะการเรียนรู 30

1. การเรียนรูดวยตนเอง

2. การใชแหลงเรียนรู

3. การจัดการความรู

4. การคิดเปน

5. การวิจัยอยางงาย

การประกอบอาชพี ชองทางการเขาสูอาชีพ 10

1. การงานอาชีพ

2. ชางทางการเขาสูอาชีพ

3. การตัดสินใจเลือกอาชีพ

ทักษะการประกอบอาชพี

1. ทักษะในการเขาสูอาชีพ

2. การทําแผนธุรกิจเพ่ือการเขาสูอาชีพ

3. การจัดการผลิตหรือการบริการ

4. การจัดการการตลาด

5. การขับเคล่ือนสรางธุรกิจเพ่ือการสูอาชีพ

6. โครงการเขาสูอาชีพ

พัฒนาอาชพีใหมีอยูมกีนิ 10

1. ศักยภาพธุรกิจ

2. การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด

3. การจัดทําแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ

4. การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก

5. โครงการพัฒนาอาชีพใหมีอยูมีกิน

ทักษะการดําเนนิชีวติ เศรษฐกิจพอเพียง 10

1. ความพอเพียง

2. ครอบครัวพอเพียง

Page 27: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๒๗

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที่ 1 ช้ันประถมศึกษา ปการศึกษา 2561 (ตอ)

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

ทักษะการดําเนนิชีวติ สุขศึกษา พลศึกษา 10

1. รางกายของเรา

2. การวางแผนครอบครัวและพัฒนาการทางเพศ

3. การดูแลสุขภาพ

4. โรคติดตอ

5. ยาสามัญประจําบาน

6. สารเสพติด

7. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

8. ทักษะชีวิตเพ่ือสุขภาพจิต

ศิลปศกึษา 10

1. ทัศนศิลปพ้ืนบาน

2. ดนตรีพ้ืนบาน

3. นาฏศิลปพ้ืนบาน

รวมทั้งฉบบั 100

Page 28: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๒๘

ตารางที่ 3 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที่ 2 ช้ันประถมศึกษา ปการศึกษา 2561

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

ความรูพืน้ฐาน ภาษาไทย 20

1. การฟง-การดู

2. การพูด

3. การอาน

4. การเขียน

5. หลักการใชภาษา

6. วรรณคดีและวรรณกรรม

ภาษาอังกฤษ 20

1. การทักทายและการตอบรับการทักทาย (Greeting)

2. การแนะนะตนเองและการแนะนําผูอื่น (Introducing yourself and other)

3. การกลาวลาและการตอนรับการกลาวลา (Leave Taking)

4. การเขียน การอานพยัญชนะ สระ และการประสมคํา

5. จํานวนนับและลําดับท่ี

6. ลักษณะคํานามและวิธีการใชคํานามและคําศัพทหมวดตางๆ

7. สัญลักษณ

8. การขอรอง การออกคําส่ัง และการขอโทษ

9. ประโยคความเดียว (Simple Sentence)

10. ประโยคคําถาม ประโยคคําตอบ คําสรรพนาม คําบุพบท และคําคุณศัพท

คณติศาสตร 15

1. จํานวนและการดําเนินการ

2. เศษสวน

3. ทศนิยม

4. รอยละ

5. การวัด

6. เรขาคณิต

7. สถิติ

8. ความนาจะเปนเบ้ืองตน

วิทยาศาสตร 15

1. กระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

2. ส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดลอม

3. สารเพ่ือชีวิต

4. แรงและพลังงานเพ่ือชีวิต

5. ดาราศาสตรเพ่ือชีวิตความสัมพันธระหวางดวงอาทิตย โลก และดวงจันทร

Page 29: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๒๙

ตารางที่ 3 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที่ 2 ช้ันประถมศึกษา ปการศึกษา 2561 (ตอ)

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

วิทยาศาสตร 15

1. กระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

2. ส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดลอม

3. สารเพ่ือชีวิต

4. แรงและพลังงานเพ่ือชีวิต

5. ดาราศาสตรเพ่ือชีวิตความสัมพันธระหวางดวงอาทิตย โลก และดวงจันทร

การพฒันาสังคม สังคมศึกษา 10

1. ภูมิศาสตรกายภาพประเทศไทย

2. ประวัติศาสตรชาติไทย

3. เศรษฐศาสตร

4. การเมืองการปกครอง

ศาสนาและหนาทีพ่ลเมือง 10

1. ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี

2. หนาท่ีพลเมือง

การพฒันาตนเอง ชุมชน สังคม 10

รวมทั้งฉบบั 100

Page 30: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๓๐

ตารางที่ 4 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที่ 1 ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2561

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

ทักษะการเรียนรู ทักษะการเรียนรู 30

1. การเรียนรูดวยตนเอง

2. การใชแหลงเรียนรู

3. การจัดการความรู

4. การคิดเปน

5. การวิจัยอยางงาย

การประกอบอาชพี ชองทางการเขาสูอาชีพ 10

1. การงานอาชีพ

2. ชางทางการเขาสูอาชีพ

3. การตัดสินใจเลือกอาชีพ

ทักษะการพัฒนาอาชพี 20

1. ทักษะในการพัฒนาอาชีพ

2. การทําแผนธุรกิจเพ่ือการเขาสูอาชีพ

3. การจัดการความเส่ียง

4. การจัดการผลิตหรือการบริการ

5. การจัดการตลาด

6. การขับเคล่ือนเพ่ือพัฒนาธุรกิจ

6. โครงการพัฒนาอาชีพ

พัฒนาอาชพีใหมีความเขมแข็ง 10

1. ศักยภาพธุรกิจ

2. การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด

3. การจัดทําแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ

4. การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก

5. โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง

ทักษะการดําเนนิชีวติ เศรษฐกิจพอเพียง 10

1. ความพอเพียง

2. ประกอบอาชีพอยางพอเพียง

3. การวางแผนประกอบอาชีพแบบพอเพียง

4. สรางเครือขายดําเนินชีวิตแบบพอเพียง

Page 31: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๓๑

ตารางที่ 4 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที่ 1 ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2561 (ตอ)

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

สุขศึกษา พลศึกษา 10

1. พัฒนาการของรางกาย

2. การดูแลสุขภาพ

3. สารอาหาร

4. โรคระบาด

5. ยาโบราณและสมุนไพร

6. การปองกันสารเสพติด

7. อุบัติเหตุ อุบัติภัย

8. ทักษะชีวิตเพ่ือการส่ือสาร

ศิลปศกึษา 10

1. ทัศนศิลปไทย

2. ดนตรีไทย

3. นาฎศิลปไทย

รวมทั้งฉบบั 100

Page 32: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๓๒

ตารางที่ 5 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที่ 2 ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2561

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

ความรูพืน้ฐาน ภาษาไทย 20

1. การฟง-การดู

2. การพูด

3. การอาน

4. การเขียน

5. หลักการใชภาษา

6. วรรณคดีและวรรณกรรม

ภาษาอังกฤษ 20

1. ภาษาทาทางในการส่ือสารในชีวิตประจําวัน (Language in daily life)

2. การโตตอบทางโทรศัพท (Telephone Conversation)

3. การแสดงความรูสึกตางๆ (Expression of feel)

4. การแสดงความคิดรปูแบบตางๆ (Expression of opinions, ider/wishs/offering help, etc.)

5. ประโยคตางๆ ในภาษาอังกฤษ (Different Types of English)

6. ประโยคความรวม (Compound Sentence)

7. Past Tense

คณติศาสตร 15

1. จํานวนและการดําเนินการ

2. เศษสวน

3. เลขยกกําลัง

4. อัตราสวนและรอยละ

5. การวัด

6. ปริมาตรและพ้ืนท่ีผล

7. คูอันดับและกราฟ

8. ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ

9. สถิติ

10. ความนาจะเปนเบ้ืองตน

วิทยาศาสตร 15

1. กระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

2. ส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดลอม

3. สารเพ่ือชีวิต

4. แรงและพลังงานเพ่ือชีวิต

5. ดาราศาสตรเพ่ือชีวิตดวงดาวกับชีวิต

Page 33: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๓๓

ตารางที่ 5 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที่ 2 ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2561 (ตอ)

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

การพฒันาสังคม สังคมศึกษา 10

1. ภูมิศาสตรกายภาพทวีปเอเชีย

2. ประวัติศาสตรทวีปเอเชีย

3. เศรษฐศาสตร

4. การเมืองการปกครอง

ศาสนาและหนาทีพ่ลเมือง 10

1. ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี

2. หนาท่ีพลเมือง

การพฒันาตนเอง ชุมชน สังคม 10

รวมทั้งฉบบั 100

Page 34: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๓๔

ตารางที่ 6 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที ่1 ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ปการศึกษา 2561

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

ทักษะการเรียนรู ทักษะการเรียนรู 30

1. การเรียนรูดวยตนเอง

2. การใชแหลงเรียนรู

3. การจัดการความรู

4. การคิดเปน

5. การวิจัยอยางงาย

การประกอบอาชพี ชองทางการขยายอาชีพ 10

1. การงานอาชีพ

2. ชางทางการขยายอาชีพ

3. การตัดสินใจเลือกอาชีพ

ทักษะการขยายอาชพี 20

1. ทักษะในการขยายอาชีพ

2. การทําแผนธุรกิจเพ่ือการขยายอาชีพ

3. การจัดการความเส่ียง

4. การจัดการผลิตหรือการบริการ

5. การจัดการตลาด

6. บัญชี

7. การขับเคล่ือนสรางธุรกิจเพ่ือขยายอาชีพ

8. โครงการขยายอาชีพ

พัฒนาอาชพีใหมีความมั่งคง 10

1. ศักยภาพธุรกิจ

2. การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด

3. การจัดทําแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ

4. การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก

5. โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความม่ันคง

ทักษะการดําเนนิชีวติ เศรษฐกิจพอเพียง 10

1. ความพอเพียง

2. ชุมชนพอเพียง

3. การแกปญหาชุมชน

4. สถานการณของประเทศกับความพอเพียง

Page 35: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๓๕

ตารางที่ 6 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที ่1 ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ปการศึกษา 2561 (ตอ)

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

ทักษะการดําเนนิชีวติ สุขศึกษา พลศึกษา 10

1. ระบบตางๆของรางกาย

2. ปญหาเพศศึกษา

3. อาหารและโภชนา

4. เสริมสรางสุขภาพ

5. โรคท่ีถายทอดทางพันธุกรรม

6. ปลอดภัยจากการใชยา

7. ผลกระทบจากสารเสพติด

8. ทักษะชีวิตเพ่ือสุขภาพจิต

ศิลปศกึษา 10

1. ทัศนศิลปไทย

2. ดนตรีสากล

3. นาฏศิลปสากล

รวมทั้งฉบบั 100

Page 36: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๓๖

ตารางที่ 7 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที ่2 ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ปการศึกษา 2561

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

ความรูพืน้ฐาน ภาษาไทย 20

1. การฟง-การดู

2. การพูด

3. การอาน

4. การเขียน

5. หลักการใชภาษา

6. วรรณคดีและวรรณกรรม

7. ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ (บูรณาการ)

ภาษาอังกฤษ 20

1. Everday English

2. What should you do ?

3. Hallo, could you tell mw…….?

4. Cultural Difference

5. News & News Headline

6. Self-Sufficiency Economy

7. Have you exercised today?

8. Shall we save the energy?

คณติศาสตร 15

1. จํานวนและการดําเนินการ

2. เลขยกกําลังท่ีมีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกะ

3. เซต

4. การใหเหตุผล

5. อัตราสวนตรีโกณมิติและการนําไปใช

6. การใชเครื่องมือและการออกแบบผลิตภัณฑ

7. สถิติเบ้ืองตน

8. ความนาจะเปน

วิทยาศาสตร 15

1. กระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

2. ส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดลอม

3. สารเพ่ือชีวิต

4. แรงและพลังงานเพ่ือชีวิต

5. ดาราศาสตรเพ่ือชีวิต เทคโนโลยีอวกาศ

Page 37: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๓๗

ตารางที่ 7 แสดงจํานวนขอสอบ จําแนกกลุมสาระวิชาหลัก ฉบับที ่2 ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย (ตอ)

สาระ วิชา/หัวเรื่อง จํานวนขอ

การพฒันาสังคม สังคมศึกษา 10

1. ภูมิศาสตรกายภาพ

2. ประวัติศาตร

3. เศรษฐศาสตร

4. การเมืองการปกครอง

ศาสนาและหนาทีพ่ลเมือง 10

1. ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี

2. หนาท่ีพลเมือง

การพฒันาตนเอง ชุมชน สังคม 10

รวมทั้งฉบบั 100

Page 38: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๓๘

ตารางที่ 8 แสดงกําหนดการสอบ (N-NET) ปการศกึษา 2561 คร้ังที่ 1

N-NET วันสอบ ประกาศผล

1. ชั้นประถมศึกษา 26 สิงหาคม 2561 26 กันยายน 2561

2. ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน 26 สิงหาคม 2561 26 กันยายน 2561

3. ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 26 สิงหาคม 2561 26 กันยายน 2561

ตารางที่ 9 แสดงกําหนดการสอบ (N-NET) ปการศกึษา 2561 คร้ังที่ 2

N-NET วันสอบ ประกาศผล

1. ชั้นประถมศึกษา 10 กุมภาพันธ 2562 11 มีนาคม 2562

2. ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน 10 กุมภาพันธ 2562 11 มีนาคม 2562

3. ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 10 กุมภาพันธ 2562 11 มีนาคม 2562

ท่ีมา: (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ. 2562. การจัดสอบ. ขอมูลการจัดสอบเบื้องตน. สืบคนจาก www.niets.or.th เม่ือวันท่ี 6 กันยายน 2562)

จากการศึกษาหลักการจัดการศึกษานอกระบบ การบริหารจัดการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานการนอกระบบ (N-NET) นั้นแลว เพ่ือใหใชเปนขอมูลในการขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด จึงกําหนด ดังนี้ การกําหนดเกณฑการใหคะแนน

1. ผลการวิเคราะหการทดสอบระดับชาติดานการศึกษานอกระบบ (N-NET) ปการศึกษา 2561 ใชคาเฉลี่ยคะแนนเทากันหรือสูงกวารอยละ 50 ผานเกณฑ

2. เปรียบเทียบผลการวิเคราะหการทดสอบระดับชาติดานการศึกษานอกระบบ (N-NET) ปการศึกษา 2561

ใชคาเฉลี่ยคะแนนปการศึกษา 2560 นํามากําหนดเปนคาคะแนนท่ี 3

Page 39: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๓๙

เกณฑการใหคะแนน ชวงการปรับระดับการใหคะแนน +/- 1.5 ตอ 1 คะแนนโดยกําหนดการใหคะแนน ดังนี ้ระดับท่ี 5 X5 ⟩ (A + 1.5 คะแนน)

ระดับท่ี 4 A ⟨ X4 ≤ (A + 1.5 คะแนน)

ระดับท่ี 3 A=X3=คาเฉลี่ยคะแนนปการศึกษา 2560

ระดับท่ี 2 A ⟩ X2 ≥ (A - 1.5 คะแนน)

ระดับท่ี 1 X1 ⟨ (A - 1.5 คะแนน)

คําช้ีแจงเกณฑ ระดับท่ี 5 มากกวา คาเฉลี่ยคะแนนปการศึกษา 2560 บวก 1.5 คะแนน หรือ

คาเฉลี่ยคะแนนมากกวา รอยละ 50 ระดับท่ี 4 มากกวา คาเฉลี่ยคะแนนปการศึกษา 2560 แตนอยกวาหรือเทากับ

คาเฉลี่ยคะแนนปการศึกษา 2560 บวก 1.5 คะแนน ระดับท่ี 3 คาเฉลี่ยคะแนนปการศึกษา 2560 ระดับท่ี 2 นอยกวา คาเฉลี่ยคะแนนปการศึกษา 2560 แตมากกวาหรือเทากับ

คาเฉลี่ยคะแนนปการศึกษา 2560 ลบ 1.5 คะแนน ระดับท่ี 1 นอยกวา คาเฉลี่ยคะแนนปการศึกษา 2560 ลบ 1.5 คะแนน

เกณฑการใหคะแนน แบงเปน 5 ระดับ ดังนี ้ระดับท่ี 5 ดีกวาเปาหมายมาก สวนราชการตองแสดงใหเห็นวาสามารถบรรลุผลลัพธ

(Outcome) หรือมีการเทียบกับมาตรฐาน (Benchmarking) ระดับท่ี 4 ดีกวาเปาหมาย สวนราชการตองแสดงใหเห็นวาจะสามารถบรรลุเปาหมาย

ของตัวชี้วัดนั้นในเชิงคุณภาพ หรือนวัตกรรมทางการบริหารจัดการ หรือผลการดําเนินการทําใหเกิดผลลัพธ (Outcome) อยางไร เปนตน

ระดับท่ี 3 เปนไปตามเปาหมาย เปนการวางเปาหมายท่ีจะทําสําเร็จตามแผนงานประจําป หรือจะพัฒนาตอเนื่องจากผลการดําเนินการในปกอนเปน Continuous Improvement หรือถาตัวชี้วัดใดท่ีมีผลการดําเนินการไดสูงสุดและไมสามารถปรับปรุงไดอีกแลวก็อาจจะถอดตัวชี้วัดนั้นออก หรือใหลดน้ําหนักตัวชี้วัดนั้นลง เปนตน

ระดับท่ี 2 ต่ํากวาเปาหมาย ระดับท่ี 1 ต่ํากวาเปาหมายมาก

11. สภาพทั่วไปของสํานักงานศึกษาธิการภาค 17 สํานักงานศึกษาธิการภาค 17 เปนหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ๑. สถานท่ีตั้ง สํานักงานศึกษาธิการภาค 17 ตั้งสํานักงานอยูท่ีจังหวัดพิษณุโลกสถานท่ีต้ัง 311 หมู 5

ตําบลหัวรอ อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก รับผิดชอบดําเนินการในพ้ืนท่ีกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุม 1 ไดแก เขตตรวจราชการท่ี 17 ประกอบดวยจังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ

Page 40: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๔๐

2. ภารกิจ ทําหนาท่ี ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด โดยการอํานวยการ สงเสริม สนับสนุน

และพัฒนาการศึกษาแบบรวมมือและบูรณาการกับหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และหนวยงานอ่ืนหรือภาคสวนท่ีเก่ียวของในพ้ืนท่ีนั้น

3. อํานาจหนาท่ี 1. กําหนดยุทธศาสตรและบทบาทการพัฒนาภาคตางๆใหเชื่อมโยงและสอดคลองกับ

ทิศทางการพัฒนาประเทศ ทิศทางการดํ า เนินงานตามขอ 3 (1) นโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการ และยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด รวมท้ังการพัฒนาดานอ่ืนๆ ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบตามศักยภาพและโอกาสของบุคคลและชุมชนในแตละพ้ืนท่ี

2. สนับสนุนการพัฒนาจังหวัดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับงานดานวิชาการ การวิจัยและพัฒนา

3. กํากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

4. สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

5. ประสานการบริหารงานระหวางราชการสวนกลางและสวนภูมิภาคใหเกิดการพัฒนาอยางบูรณาการในระดับพ้ืนท่ีของหลายจังหวัด โดยยึดการมีสวนรวมและประโยชนสุขของประชาชนเปนหลัก

6. ปฏบิัติรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของหรือท่ีไดรับมอบหมาย

แผนภูมิที่ 2 แผนที่พ้ืนที่รับผิดชอบของสํานักงานศกึษาธิการภาค 17

12. สภาพทั่วไปของกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 1 1. สถานท่ีตั้ง กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุม 1 ตั้งอยูบริเวณตอนลางของภาคเหนือ ซ่ึงประกอบดวย

จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดตาก จังหวัดเพชรบูรณ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ มีพ้ืนท่ีท้ังหมด 54,527.05 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดและประเทศใกลเคียง ดังนี้

ทิศเหนือ เขตติดตอกับจังหวัดนาน แพร ลําปาง ลําพูน เชียงใหม และแมฮองสอน ทิศใต เขตติดตอกับ จังหวัดลพบุรี พิจิตร กําแพงเพชร นครสวรรค อุทัยธานี และกาญจนบุรี ทิศตะวันออก เขตติดตอกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จังหวัดเลย ขอนแกน

และชัยภูมิ

Page 41: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๔๑

ทิศตะวันตก เขตติดตอกับประเทศสหภาพเมียนมาร 2. ลักษณะภูมิประเทศ พ้ืนท่ีจะเปนภูเขาทางดานทิศเหนือทางทิศตะวันตก ต้ังแตจังหวัดอุตรดิตถ สุโขทัย และตาก

ดานทิศตะวันออก จะเปนแนวเขาเชนกันต้ังแตอุตรดิตถ ถึงเพชรบูรณ และพ้ืนท่ีตอนกลางของกลุมนี้ สวนใหญเปนท่ีราบลุมแมน้ํา และท่ีราบสูงดานทิศตะวันออกและดานทิศตะวันตก

3. ลักษณะภูมิอากาศ กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุม 1 จะไดรับอิทธิพลนของลมมรสุมตะวันออกเฉียงใตและ

ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงจะแบงออกเปน 3 ฤดู ไดแก ฤดูรอน ประมาณเดือน กุมภาพันธ-เมษายน อุณหภูมิเฉลี่ย 32 องศาเซลเซียส ฤดูฝน ประมาณเดือน พฤษภาคม-ตุลาคม ปริมาณน้ําฝน เฉลี่ยประมาณปละ 1375

มิลลิเมตร ฤดูหนาว ตั้งแตเดือน พฤศจิกายน-มกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 19 องศาเซลเซียล 4. การปกครองและประชากร กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุม 1 แบงการปกครองสวนภูมิภาค ออกเปน 47 อําเภอ

424 ตําบล 4,428 หมูบาน และการปกครองสวนทองถ่ิน 5 อบจ. 80 เทศบาล 387 อบต. โดยจําแนกเปนรายจังหวัด ดังนี้

ตารางที่ 10 แสดงจํานวนประชากร จําแนกรายจังหวัด กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 1

จังหวัด ประชากร ตาก 654,676 พิษณุโลก 866,891 เพชรบูรณ 994,540 สุโขทัย 597,257 อุตรดิตถ 455,403 กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 1 3,568,767 ท่ีมา กรมการปกครอง . สํ านั กบริหารการทะเบียน . 2562. ส ถิติประชากรและบ าน . สืบคนจาก http://stat.dopa.go.th เม่ือวันท่ี 6 กันยายน 2562

จํานวนประชากร กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 1 มีประมาณ 3,568,767 คน เม่ือจําแนกรายจังหวัด พบวา จังหวัดท่ีมีประชากรมากท่ีสุด คือ จังหวัดเพชรบูรณ (ประชากร = 994,540 คน) รองลงมา คือ จังหวัดพิษณุโลก (ประชากร = 866,891 คน) และจังหวัดท่ีมีประชากรนอยท่ีสุด คือ จังหวัดอุตรดิตถ (ประชากร = 455,403 คน)

Page 42: 1. ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 2579)บทที่ 2. ... 4. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

2-๔๒

13. สภาพการศึกษาของกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 1 กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 1 มีการจัดการศึกษานอกระบบ โดยสํานักงานสงเสริม

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ รายละเอียดปรากฏตามตารางท่ี 12

ตารางที่ 11 แสดงจํานวนสถานศึกษา สังกัด กศน. จําแนกรายจังหวัด กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุม 1

ท่ี จังหวัด/กลุมจังหวัด จํานวนศูนย กศน. (แหง) หมายเหตุ

1 จังหวัดตาก 73

2 จังหวัดพิษณุโลก 103

3 จังหวัดเพชรบูรณ 98

4 จังหวัดสุโขทัย 77

5 จังหวัดอุตรดิตถ 127

6 กลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุม 1 478

(สํานักศึกษาธิการภาค 17. 2562. ขอมูลพ้ืนฐานทางการศึกษาประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562)