Top Banner
แผนการจัดการเรียนรูที1 หนวยการเรียนรูที1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง วิชา 22202 คณิตศาสตรเพิ่มเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ชั้น มัธยมศึกษาปที2 ภาคเรียนที2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ชั่วโมง ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ ผลการเรียนรู แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองได จุดประสงคการเรียนรู นักเรียนสามารถ 1. สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใชสมบัติการแจงแจงได สาระสําคัญ การเขียนพหุนามที่กําหนดให ในรูปการคูณกันของพหุนามที่มีดีกรีต่ํากวาตั้งแตสองพหุนามขึ้นไป เรียกวา การแยกตัวประกอบของพหุนาม (Factoring of polynomials) สมบัติการแจกแจง (Distributive property) กลาววา ถา a , b และ c แทนจํานวนเต็มใดๆ แลว ( ) ab c ab ac + = + หรือ ( ) b ca ba ca + = + อาจเขียนสมบัติการแจกแจงใหมไดดังนี( ) ab ac ab c + = + หรือ ( ) ba ca b ca + = + ถา a , b และ c เปนพหุนาม สามารถใชสมบัติการแจกแจงขางตนได และเรียก a วา ตัวประกอบรวม (Common factor) ของ ab และ ac หรือ ตัวประกอบรวม ของ ba และ ca สาระการเรียนรู
63

1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

Aug 29, 2019

Download

Documents

nguyenthuan
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1

หนวยการเรียนรูท่ี 1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถ

1. สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใชสมบัติการแจงแจงได

สาระสําคัญ

การเขียนพหุนามท่ีกําหนดให ในรูปการคูณกันของพหุนามท่ีมีดีกรีต่ํากวาตั้งแตสองพหุนามข้ึนไป

เรียกวา การแยกตัวประกอบของพหุนาม (Factoring of polynomials)

สมบัติการแจกแจง (Distributive property) กลาววา

ถา a , b และ c แทนจํานวนเต็มใดๆ แลว

( )a b c ab ac+ = +

หรือ ( )b c a ba ca+ = + อาจเขียนสมบัติการแจกแจงใหมไดดังนี้

( )ab ac a b c+ = +

หรือ ( )ba ca b c a+ = + ถา a , b และ c เปนพหุนาม สามารถใชสมบัติการแจกแจงขางตนได

และเรียก a วา ตัวประกอบรวม (Common factor) ของ ab และ ac หรือ ตัวประกอบรวม ของ ba

และ ca

สาระการเรียนรู

Page 2: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

ดานความรู

1. การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใชสมบัติการแจงแจง

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู ขอตกลงในหองเรียน รวมท้ังเวลาในการสงงาน

2. ครูทบทวนเรื่องตัวประกอบรวมของจํานวนนับ ดังนี้

จํานวนนับท่ีสามารถหารจํานวนนับท่ีกําหนดใหตั้งแต 2 จํานวนลงตัว เรียกวา ตัวประกอบรวม

(Common factor) เชน

จงหาตัวประกอบรวมของ 8 และ 12

ตัวประกอบของ 8 คือ 1, 2, 4, 8

ตัวประกอบของ 12 คือ 1, 2, 3, 4, 6, 12

ดังนั้น ตัวประกอบรวมของ 8 และ 12 คือ 1, 2, 4

3. ครูทบทวนเรื่องสมบัติการแจกแจงของจํานวนเต็ม ดังนี้

สมบัติการแจกแจง (Distributive property) กลาววา

ถา a , b และ c แทนจํานวนเต็มใดๆ แลว

( )a b c ab ac+ = +

หรือ ( )b c a ba ca+ = + อาจเขียนสมบัติการแจกแจงใหมไดดังนี้

( )ab ac a b c+ = +

หรือ ( )ba ca b c a+ = +

4. ครูใหนักเรียนพิจารณาการคูณของพหุนาม ดังนี้

2 102x x+ 2 ( 5)x x= +

Page 3: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

6 3 273 2x x x+ − 3 (2 9)2x x x= + −

7 102x x+ + ( 2)( 5)x x= + +

9 12 42x x− + (3 2)2x= −

โดยครูไดสรุปรวมกับนักเรียนดังนี้“การเขียนพหุนามท่ีกําหนดให ในรูปการคูณกันของพหุนามท่ีมีดีกรี

ต่ํากวาตั้งแตสองพหุนามข้ึนไป เรียกวา การแยกตัวประกอบของพหุนาม (Factoring of polynomials)”

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

5. ครูชี้แจงกับนักเรียนวา ถา a , b และ c เปนพหุนาม สามารถใชสมบัติการแจกแจงในการแยก

ตัวประกอบไดดังนี้

23 6 (3 )( ) (3 )(2)x x x x x− = −

3 ( 2)x x= −

หลักการคือ พิจารณาวาพหุนามท่ีกําหนดมีก่ีพจน และแตละพจนมีสิ่งใดเปนตัวประกอบรวม ซ่ึงใน

ท่ีนี้ 23x กับ 6x มี 3x เปนตัวประกอบรวม ก็ใชการตั้ง 3x ไวขางหนาวงเล็บ สวนในวงเล็บก็เปนตัว

ประกอบท่ีเหลือของแตละพจน

ตัวอยางท่ี 1 จงแยกตัวประกอบของ 7 14x −

วิธีทํา 7 14x − = 7( 2)x −

ตัวอยางท่ี 2 จงแยกตัวประกอบของ 25 20y y+

วิธีทํา 25 20y y+ = (5 )( ) (5 )(4)y y y+

= 5 ( 4)y y +

ตัวอยางท่ี 3 จงแยกตัวประกอบของ 2 3 3 2 3 330 36 6x y x y x y+ −

วิธีทํา 2 3 3 2 3 330 36 6x y x y x y+ − = 2 2 2 2 2 2(6 )(5 ) (6 )(6 ) (6 )( )x y y x y x x y xy+ −

= 2 26 (5 6 )x y y x xy+ −

Page 4: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

สรุปไดวา ในการแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใชสมบัติการแจกแจง จะใชวิธีการดังนี้

1. หา ห.ร.ม. ของแตละพจนในพหุนาม

2. ใชสมบัติการแจกแจง โดยนํา ห.ร.ม. ออกมาไวหนาวงเล็บ สวนท่ีเหลือในวงเล็บจะเปนผลลัพธ

จากการนํา ห.ร.ม. ไปหารแตละพจนนั้นๆ

ในบางครั้งตัวประกอบรวมอาจอยูในรูปของผลบวกหรือผลตางของพหุนามก็ได ซ่ึงการแยกตัว

ประกอบก็ยังใชหลักการเดิม คือ ดึงตัวรวม แตอาจจะมีการแบงกลุมดึงตัวรวม 2 ครั้งก็ได ดังตัวอยาง

ตัวอยางท่ี 1 จงแยกตัวประกอบของ 2 ( 3) 5( 3)m n n+ + +

วิธีทํา 2 ( 3) 5( 3)m n n+ + + = ( 3)(2 5)n m+ +

ตัวอยางท่ี 2 จงแยกตัวประกอบของ 3 22 14 7x x x− + −

วิธีทํา 3 22 14 7x x x− + − = 3 2(2 ) (14 7)x x x− + −

= 2 2(2 1) 7(2 1)x x x− + −

= 2(2 1)( 7)x x− +

ตัวอยางท่ี 3 จงแยกตัวประกอบของ 2 2 2 28 6 4 3ax ay bx by+ − −

วิธีทํา 2 2 2 28 6 4 3ax ay bx by+ − − = 2 2 2 2(8 6 ) (4 3 )ax ay bx by+ − +

= 2 2 2 22 (4 3 ) (4 3 )a x y b x y+ − +

= 2 2(4 3 )(2 )x y a b+ −

กิจกรรมรวบยอด

6. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1.1 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่องการแยกตัวประกอบของ

พหุนามดีกรีสอง

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียนเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

Page 5: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เลม

2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบของ

พหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 1.1 แบบฝกหัด 1.1 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึงประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 1.1 แบบฝกหัด 1.1 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 6: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 2

หนวยการเรียนรูท่ี 1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถ

1. สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวท่ีมีสัมประสิทธิ์ของแตละพจนเปน

จํานวนเต็ม และมีสัมประสิทธิ์ของแตละพจนในพหุนามตัวประกอบเปนจํานวนเต็มได

สาระสําคัญ

พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว (Quadratic polynomial with one variable) คือ พหุนามท่ี

เขียนไดในรูป 2ax bx c+ + เม่ือ a , b และ c เปนคาคงตัว (Constant) ท่ี 0a ≠ และ x เปนตัวแปร

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว เม่ือ

1. a , b เปนจํานวนเต็ม และ 0c =

ในกรณีท่ี 0c = การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว โดยใชสมบัติการแจกแจง

(Distributive property) ดังนี้

( )2ax bx c x ax b+ + = + เม่ือ x เปนตัวประกอบรวม

2. 1a = ; b และ c เปนจํานวนเต็ม และ 0c ≠

พิจารณาการคูณพหุนามตอไปนี้

( )( )x p x q+ + 2x px qx pq= + + +

( )2x p q x pq= + + +

Page 7: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

เม่ือเทียบกับรูป 2ax bx c+ + พบวา b p q= + และ c pq=

นั่นคือ 2ax bx c+ + สามารถแยกตัวประกอบไดเปน ( )( )x p x q+ + โดยท่ี p q b+ = และ

pq c=

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว เม่ือ a , b , c เปนจํานวนเต็ม และ 0a ≠ ,

1a ≠ , 0c ≠ ทําไดดังนี้

ข้ันท่ี 1 หาพหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนามท่ีคูณกันแลวไดพจนหนา โดยเขียนสองพหุนามนั้น เปนพจน

หนาในวงเล็บสองวงเล็บ

ข้ันท่ี 2 หาจํานวนเต็มสองจํานวนท่ีคูณกันแลวไดพจนหลัง แลวเขียนจํานวนท้ังสองนี้เปนพจนหลัง

ของพหุนามแตละวงเล็บท่ีไดจากข้ันท่ี 1 ซ่ึงอาจเกิดไดหลายกรณีท่ีตองพิจารณา

ข้ันท่ี 3 นําผลท่ีไดจากข้ันท่ี 2 มาหาพจนกลางทีละกรณี จนกวาจะไดพจนกลางเปนไปตามโจทยท่ี

กําหนด

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูทบทวนการแยกตัวประกอบโดยใชสมบัติการแจกแจงท่ีเรียนในชั่วโมงท่ีแลว โดยการถามตอบ

นักเรียน และครูไดแนะนําพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวท่ีเขียนอยูในรูป 2ax bx c+ + เม่ือ a , b และ c เปน

คาคงตัว ท่ี 0a ≠ และ x เปนตัวแปร

2. ครูใหนักเรียน แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว เม่ือ a , b เปนจํานวนเต็ม และ

0c = โดยใหนักเรียนรวมกันอภิปราย จนไดขอสรุปรวมกันวา “ในการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

ตัวแปรเดียวนั้น เม่ือ a , b เปนจํานวนเต็ม และ 0c = สามารถใชสมบัติการแจกแจง และมีตัวประกอบรวม

Page 8: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

เปนเอกนาม”

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

3. ครูใหนักเรียนพิจารณาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว ในรูป 2ax bx c+ +

เม่ือ 1a = ; b และ c เปนจํานวนเต็ม และ 0c ≠ ซ่ึงอาศัยแนวคิดจากการหาผลคูณของพหุนาม ดังนี้

( )( )x p x q+ + 2x px qx pq= + + +

( )2x p q x pq= + + +

เม่ือเทียบกับรูป 2x bx c+ + จะพบวา b p q= + และ c pq=

นั่นคือ พหุนาม 2x bx c+ + จะสามารถแยกตัวประกอบไดเปน ( )( )x p x q+ + เม่ือ p q b+ =

และ pq c=

ตัวอยาง เชน พหุนาม 2 5 6x x+ +

5p q+ = และ 6pq =

เพ่ือท่ีจะแยกตัวประกอบของ 2 5 6x x+ + ตองหาใหไดวา 2 ตัวใดเปน p และ q ท่ีมีผลบวก

เทากับ 5 และผลคูณเทากับ 6

2 5 6x x+ + = ( ............)( ............)x x

แยกตัวประกอบของ 6 หาผลบวกของตัวประกอบ

2, 3 5

พบวาตัวเลข 2 ตัวท่ีคูณกันได 6 บวกกันได 5 คือ 2 และ 3

ดังนั้น 2 5 6x x+ + = ( 2)( 3)x x+ +

ขอสังเกต ถาพหุนามดีกรีสองมีท้ังสามพจนเปนบวก ตัวประกอบท่ีแยกออกมาก็จะเปนบวกท้ังหมด

นั่นคือ + + = (……+…..)(…..+…..)

ตัวอยางท่ี 1 จงแยกตัวประกอบของ 2 3 18x x− −

วิธีทํา 2 3 18x x− − = ( ............)( ............)x x (แยกตัวประกอบของ 2x เปน x กับ x )

หาตัวประกอบของ -18 มา 2 ตัวท่ีมีผลบวกเปน -3

ตัวประกอบของ -18 ผลบวกของตัวประกอบ

3, -6 -3

Page 9: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

จํานวน 2 จํานวนท่ีบวกกันได -3 และคูณกันได -18 คือ 3 และ -6

ดังนั้น 2 3 18x x− − = ( 6)( 3)x x− +

ตัวอยางท่ี 2 จงแยกตัวประกอบของ 2 6 72y y+ −

วิธีทํา 2 6 72y y+ − = ( ............)( ............)y y (แยกตัวประกอบของ 2y เปน y กับ y )

หาตัวประกอบของ -72 มา 2 ตัวท่ีมีผลบวกเปน 6

ตัวประกอบของ -72 ผลบวกของตัวประกอบ

-6, 12 6

จํานวน 2 จํานวนท่ีบวกกันได 6 และคูณกันได -72 คือ 12 และ -6

ดังนั้น 2 6 72y y+ − = ( 6)( 12)y y− +

ขอสังเกต ถาพหุนามดีกรีสองท่ีมีพจนท่ีสามเปนลบ จะไดการแยกตัวประกอบออกมาเปน 2 พหุนามท่ีมี

วงเล็บหนึ่งเปนบวกและอีกวงเล็บหนึ่งเปนลบ

- - = (……+…..)(…..-…..)

+ - = (……+…..)(…..-…..)

ตัวอยางท่ี 3 จงแยกตัวประกอบของ 2 10 21x x− +

วิธีทํา 2 10 21x x− + = ( ............)( ............)x x (แยกตัวประกอบของ 2x เปน x กับ x )

หาตัวประกอบของ 21 มา 2 ตัวท่ีมีผลบวกเปน -10

ตัวประกอบของ 21 ผลบวกของตัวประกอบ

-3 , -7 -10

จํานวน 2 จํานวนท่ีบวกกันได -10 และคูณกันได 21 คือ -3 และ -7

ดังนั้น 2 10 21x x− + = ( 3)( 7)x x− −

ขอสังเกต ถาพหุนามดีกรีสองมีพจนท่ีสองเปนลบ และพจนท่ีเปนคาคงท่ีเปนบวก แลวจะแยกตัวประกอบ

ไดสองวงเล็บท่ีเปนลบท้ังคู

- + = (……-…..)(…..-…..)

Page 10: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

กิจกรรมรวบยอด

4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

5. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1.2 ขอ 1–2 ในเอกสารประกอบการเรียน

เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียนเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เลม

2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบของ

พหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 1.2 ขอ 1–2 แบบฝกหัด 1.2 ขอ 1–2 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึงประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 1.2 ขอ 1–2 แบบฝกหัด 1.2 ขอ 1–2 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 11: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 3

หนวยการเรียนรูท่ี 1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถ

1. สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวท่ีมีสัมประสิทธิ์ของแตละพจนเปน

จํานวนเต็ม และมีสัมประสิทธิ์ของแตละพจนในพหุนามตัวประกอบเปนจํานวนเต็มได

สาระสําคัญ

พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว (Quadratic polynomial with one variable) คือ พหุนามท่ี

เขียนไดในรูป 2ax bx c+ + เม่ือ a , b และ c เปนคาคงตัว (Constant) ท่ี 0a ≠ และ x เปนตัวแปร

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว เม่ือ

1. a , b เปนจํานวนเต็ม และ 0c =

ในกรณีท่ี 0c = การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว โดยใชสมบัติการแจกแจง

(Distributive property) ดังนี้

( )2ax bx c x ax b+ + = + เม่ือ x เปนตัวประกอบรวม

2. 1a = ; b และ c เปนจํานวนเต็ม และ 0c ≠

พิจารณาการคูณพหุนามตอไปนี้

( )( )x p x q+ + 2x px qx pq= + + +

( )2x p q x pq= + + +

เม่ือเทียบกับรูป 2ax bx c+ + พบวา b p q= + และ c pq=

Page 12: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

นั่นคือ 2ax bx c+ + สามารถแยกตัวประกอบไดเปน ( )( )x p x q+ + โดยท่ี p q b+ = และ

pq c=

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว เม่ือ a , b , c เปนจํานวนเต็ม และ 0a ≠ ,

1a ≠ , 0c ≠ ทําไดดังนี้

ข้ันท่ี 1 หาพหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนามท่ีคูณกันแลวไดพจนหนา โดยเขียนสองพหุนามนั้น เปนพจน

หนาในวงเล็บสองวงเล็บ

ข้ันท่ี 2 หาจํานวนเต็มสองจํานวนท่ีคูณกันแลวไดพจนหลัง แลวเขียนจํานวนท้ังสองนี้เปนพจนหลัง

ของพหุนามแตละวงเล็บท่ีไดจากข้ันท่ี 1 ซ่ึงอาจเกิดไดหลายกรณีท่ีตองพิจารณา

ข้ันท่ี 3 นําผลท่ีไดจากข้ันท่ี 2 มาหาพจนกลางทีละกรณี จนกวาจะไดพจนกลางเปนไปตามโจทยท่ี

กําหนด

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1.ครูและนักเรียนทบทวนการคูณพหุนามดวยพหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองใน

รูป 2ax bx c+ + เม่ือ 1a = และ b , c ปนจํานวนเต็ม และ 0c ≠

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

2. ครูกําหนดพหุนาม 22 7 6x x+ + บนกระดานดําแลวใหนักเรียนชวยกันแยกตัวประกอบ จากนั้น

ครูถามนักเรียนวา นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบตามท่ีเคยเรียนมาจากคาบท่ีแลวไดหรือไม อยางไร

3. ครูยกตัวอยางการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป 2ax bx c+ + เม่ือ ,a ,b c เปน

จํานวนเต็มท่ี 0,1a ≠ และ 0c ≠ จากโจทยดังกลาวขางตนตามวิธี ดังนี้

Page 13: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

วิธีทํา 1. หาพหุนามสองพหุนามท่ีคูณกันแลวไดพจนหนา คือ 22x ซ่ึงตัวประกอบของ 2 คือ 1, 2

นั่นคือ x กับ 2x เขียนสองพหุนามนั้นเปนพจนหนาของพหุนามในวงเล็บสองวงเล็บดังนี้

( .......)(2 ......)x x 2. จากนั้นพิจารณาหาจํานวนสองจํานวนท่ีคูณกันแลวไดเทากับพจนหลัง คือ 6 ซ่ึงอาจเปน 1

กับ 6 หรือ 2 กับ 3 หรือ -1 กับ -6 หรือ -2 กับ -3 แลวเขียนจํานวนท้ังสองนี้เปนพจนหลังของ

พหุนามในแตละวงเล็บท่ีไดในขอท่ี 1ดังนี้

( 1)(2 6)( 1)(2 6)( 6)(2 1)( 6)(2 1)

x xx xx xx x

+ +− −+ +− −

( 2)(2 3)( 2)(2 3)( 3)(2 2)( 3)(2 2)

x xx xx xx x

+ +− −+ +− −

3. จากนั้นนําผลท่ีไดจากขอ 2 มาตรวจสอบหาพจนกลาง โดยนําพจนท่ีใกลกันคูณกัน แลว

บวกดวยพจนท่ีไกลกันคูณกัน (ใกล×ใกล + ไกล×ไกล) หากตรวจสอบแลวพบวามีผลบวกเทากับพจน

คือ 7x แสดงวาแยกตัวประกอบถูกตอง ( 3)(2 2)x x+ + ไดพจนกลางเปน 2 6 8x x x+ =

( 2)(2 3)x x+ + ไดพจนกลางเปน 3 4 7x x x+ = ถูกตอง

ดังนั้น การแยกตัวประกอบของ 22 7 6x x+ + ( 2)(2 3)x x= + +

ตัวอยางท่ี 1 พิจารณาการแยกตัวประกอบของพหุนาม 22 7 6x x+ + โดยพหุนามนี้จะสามารถแยกออก

ไดเปน 2 วงเล็บ ดังแผนภาพ

ตัวประกอบของ 2

(....... .......)(....... ......)x x+ +

ตัวประกอบของ 6

ตัวประกอบของ 2 คือ 1, 2

ตัวประกอบของ 6 คือ 1, 6 และ 2, 3

แสดงวา สามารถแยกได 4 รูปแบบคือ

( 1)(2 6)( 6)(2 1)( 2)(2 3)( 3)(2 2)

x xx xx xx x

+ ++ ++ ++ +

รูปแบบท่ีจะเปนการแยกตัวประกอบท่ีถูกตองคือ ผลคูณระหวางพจนใกลกับใกล และ พจนไกลกับไกล

ตองรวมกันไดเทากับ 7x

ดังนั้น 22 7 6x x+ + ( 2)(2 3)x x= + +

Page 14: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

นอกจากวิธีดังกลาวนี้แลว การแยกตัวประกอบของพหุนามท่ีอยูในรูปนี้ยังสามารถใชการจัดรูปโดย

การแยกพจนกลางออกมา แลวแยกตัวประกอบดวยวิธีการใชสมบัติการแจกแจงไดดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางท่ี 2 จงแยกตัวประกอบของ 25 16 3x x− +

วิธีทํา 25 16 3x x− + = 25 15 3x x x− − +

= 2(5 ) (15 3)x x x− − −

= (5 1) 3(5 1)x x x− − −

= (5 1)( 3)x x− −

นอกจากนี้การแยกตัวประกอบท่ีกลาวมาอาจจะนําไปใชในกรณีท่ีมี 2 ตัวแปรไดดวย ดังตัวอยาง

ตัวอยางท่ี 3 จงแยกตัวประกอบของ 2 24 12 9x xy y− +

วิธีทํา 2 24 12 9x xy y− + = (2 3 )(2 3 )x y x y− −

กิจกรรมรวบยอด

4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

5. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1.2 ขอ 3–4 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่องการแยกตัวประกอบ

ของพหุนามดีกรีสอง

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียนเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เลม

2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

Page 15: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบของ

พหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 1.2 ขอ 3–4 แบบฝกหัด 1.2 ขอ 3–4 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึงประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 1.2 ขอ 3–4 แบบฝกหัด 1.2 ขอ 3–4 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 16: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 4

หนวยการเรียนรูท่ี 1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนกําลังสองสมบูรณ

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนกําลังสองสมบูรณและเขียนอยูในรูป

2 22A AB B+ + และ 2 22A AB B− + เม่ือ A และ B แทนพหุนามได

สาระสําคัญ

พหุนามดีกรีสอง เม่ือแยกตัวประกอบแลวจะไดตัวประกอบเปนพหุนามดีกรีหนึ่งท่ีซํ้ากัน เรียกพหุนาม

ดีกรีสองท่ีมีลักษณะเชนนี้วา กําลังสองสมบูรณ (Perfect square)

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนกําลังสองสมบูรณ มีดังนี้

2 2 22 ( )A AB B A B+ + = + หรือ (หนา) 2 2 + หนาหลัง + (หลัง) 2 = (หนา + หลัง) 2

2 2 22 ( )A AB B A B− + = − หรือ (หนา) 2 2 − หนาหลัง + (หลัง) 2 = (หนา − หลัง) 2

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนกําลังสองสมบูรณ

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

Page 17: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูทบทวนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวท่ีเรียนในชั่วโมงท่ีแลว โดยให

นักเรียนแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้ พรอมท้ังพิจารณาคําตอบท่ีได

1) 2 12x x+ + ( 1)( 1)x x= + +

2) 6 92x x− + ( 3)( 3)x x= − −

3) 4 12 92x x+ + (2 3)(2 3)x x= + +

4) 9 30 252x x− − (3 5)(3 5)x x= − −

ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย จนไดขอสรุปรวมกันวา

(พจนหนา) 2 2 + (พจนหนา)(พจนหลัง) + (พจนหลัง) 2 = (พจนหนา + พจนหลัง) 2

(พจนหนา) 2 2 − (พจนหนา)(พจนหลัง) + (พจนหลัง) 2 = (พจนหนา − พจนหลัง) 2

2. ครูไดชี้แจงเพ่ิมเติมกับนักเรียนวา ถาให A แทนพจนหนา และ B แทนพจนหลัง จะแยกตัว

ประกอบพหุนามดีกรีสองท่ีเปนกําลังสองสมบูรณไดตามสูตร ดังนี้

2 2 22 ( )A AB B A B+ + = +

2 2 22 ( )A AB B A B− + = −

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

3. ครูใหนักเรียนพิจารณาแนวทางในการหาคําตอบ โดยการถามตอบไปพรอมกับนักเรียน จาก

ตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางท่ี 1 จงแยกตัวประกอบของ 2 34 289x x− +

วิธีทํา 2 34 289x x− + = 2 22(17)( ) (17)x x− +

= 2( 17)x −

ตัวอยางท่ี 2 จงแยกตัวประกอบของ 24 36 81x x+ +

วิธีทํา 24 36 81x x+ + = 2 2(2 ) 2(2 )(9) (9)x x− +

= 2(2 9)x +

ตัวอยางท่ี 3 จงแยกตัวประกอบของ 2 264 176 121x xy y+ +

วิธีทํา 2 264 176 121x xy y+ + = 2 2(8 ) 2(8 )(11 ) (11 )x x y y− +

Page 18: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

= 2(8 11 )x y+

ตัวอยางท่ี 4 จงแยกตัวประกอบของ 2( 2) 12( 2) 36x x− + − +

วิธีทํา 2( 2) 12( 2) 36x x− + − + = 2 2( 2) 2(6)( 2) 6x x− + − +

= 2[( 2) 6]x − +

= 2( 2 6)x − +

= 2( 4)x +

กิจกรรมรวบยอด

5. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

6. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1.3 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่องการแยกตัวประกอบของ

พหุนามดีกรีสอง

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียนเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เลม

2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบของพหุ

นามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 1.3 แบบฝกหัด 1.3 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึงประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน

และการทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการนําเสนอ

แบบฝกหัด 1.3 แบบฝกหัด 1.3 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 19: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 5

หนวยการเรียนรูท่ี 1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนผลตางของกําลังสอง

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนผลตางของกําลังสอง ซ่ึงเขียนอยูในรูป

2 2A B− เม่ือ A และ B เปนพหุนามได

สาระสําคัญ

พหุนามดีกรีสองท่ีสามารถแยกตัวประกอบ จะไดตัวประกอบเปนพหุนามดีกรีหนึ่ง ท่ีมีพจนเหมือนกัน

แตมีเครื่องหมายระหวางพจนตางกัน เขียนไดในรูป 2 2A B− เม่ือ A และ B เปนพหุนามได เรียกพหุนาม

ดีกรีสองนี้วา ผลตางของกําลังสอง (Difference of two squares)

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนผลตางของกําลังสอง มีดังนี้

2 2 ( )( )A B A B A B− = + − หรือ (หนา) 2 − (หลัง) 2 = (หนา + หลัง)(หนา − หลัง)

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนผลตางของกําลังสอง

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

Page 20: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูทบทวนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว โดยใหนักเรียนแยกตัวประกอบ

ของพหุนามตอไปนี้ พรอมท้ังพิจารณาคําตอบท่ีได

1) 12x − (หรือ 0 12x x+ − ) ( 1)( 1)x x= + −

2) 642x − (หรือ 0 642x x+ − ) ( 8)( 8)x x= + −

3) 4 252x − (หรือ 4 0 252x x+ − ) (2 5)(2 5)x x= + −

4) 9 1212x − (หรือ9 0 1212x x+ − ) (3 11)(3 11)x x= + −

ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย จนไดขอสรุปรวมกันวา

(พจนหนา) 2 − (พจนหลัง) 2 = (พจนหนา + พจนหลัง)(พจนหนา − พจนหลัง)

2. ครูไดชี้แจงเพ่ิมเติมกับนักเรียนวา ถาให A แทนพจนหนา และ B แทนพจนหลัง จะแยก

ตัวประกอบพหุนามดีกรีสองท่ีเปนผลตางของกําลังสองไดตามสูตร ดังนี้

2 2 ( )( )A B A B A B− = + −

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

3. ครูใหนักเรียนพิจารณาแนวทางในการหาคําตอบ โดยการถามตอบไปพรอมกับนักเรียนจากตัวอยาง

ตอไปนี้

ตัวอยางท่ี 1 จงแยกตัวประกอบของ 2 4a −

วิธีทํา 2 4a − = 2 22a −

= ( 2)( 2)a a− +

ตัวอยางท่ี 2 จงแยกตัวประกอบของ 2 29 ( )a b c− +

วิธีทํา 2 29 ( )a b c− + = 2 2(3 ) 4x −

= (3 4)(3 4)x x− +

ตัวอยางท่ี 3 จงแยกตัวประกอบของ 2 2( 8) ( 5)x x− − +

วิธีทํา 2 2( 8) ( 5)x x− − + = [( 8) ( 5)][( 8) ( 5)]x x x x− − + − + +

= ( 8 5)( 8 5)x x x x− − − − + +

= ( 13)(2 3)x− −

Page 21: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

กิจกรรมรวบยอด

5. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

6. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1.4 ขอ 1 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่องการแยกตัวประกอบของ

พหุนามดีกรีสอง

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียนเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เลม

2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบ

ของพหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 1.4 ขอ 1 แบบฝกหัด 1.4 ขอ 1 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 1.4 ขอ 1 แบบฝกหัด 1.4 ขอ 1 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 22: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 6

หนวยการเรียนรูท่ี 1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนผลตางของกําลังสอง

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนผลตางของกําลังสอง ซ่ึงเขียนอยูในรูป

2 2A B− เม่ือ A และ B เปนพหุนามได

สาระสําคัญ

พหุนามดีกรีสองท่ีสามารถแยกตัวประกอบ จะไดตัวประกอบเปนพหุนามดีกรีหนึ่ง ท่ีมีพจนเหมือนกัน

แตมีเครื่องหมายระหวางพจนตางกัน เขียนไดในรูป 2 2A B− เม่ือ A และ B เปนพหุนามได เรียกพหุนาม

ดีกรีสองนี้วา ผลตางของกําลังสอง (Difference of two squares)

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนผลตางของกําลังสอง มีดังนี้

2 2 ( )( )A B A B A B− = + − หรือ (หนา) 2 − (หลัง) 2 = (หนา + หลัง)(หนา − หลัง)

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเปนผลตางของกําลังสอง

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

Page 23: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูทบทวนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรท่ีเปนผลตางของกําลังสอง ซ่ึงเขียนอยู

ในรูป 2 2A B− เม่ือ A และ B เปนพหุนาม

2. ครูไดชี้แจงเพ่ิมเติมกับนักเรียนวา ถาให A แทนพจนหนา และ B แทนพจนหลัง จะแยก

ตัวประกอบพหุนามดีกรีสองท่ีเปนผลตางของกําลังสองไดตามสูตร ดังนี้

2 2 ( )( )A B A B A B− = + −

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

3. ครูใหนักเรียนพิจารณาแนวทางในการหาคําตอบ โดยการถามตอบไปพรอมกับนักเรียนจากตัวอยาง

ตอไปนี้

ตัวอยางท่ี 1 จงแยกตัวประกอบของ 2 2( 10 25) 64x x x+ + −

วิธีทํา 2 2( 10 25) 64x x x+ + − = 2 2( 5) (8 )x x+ −

= [ ][ ]( 5) 8 ( 5) 8x x x x+ + + −

= ( 5 8 )( 5 8 )x x x x+ + + −

= (9 5)(5 7 )x x+ −

ตัวอยางท่ี 2 จงแยกตัวประกอบของ 2 2121 ( 12 36)x x x− − +

วิธีทํา 2 2121 ( 12 36)x x x− − + = 2 2(11 ) ( 6)x x− −

= [ ][ ]11 ( 6) 11 ( 6)x x x x+ − − −

= (11 6)(11 6)x x x x+ − − −

= (12 6)(10 6)x x− −

= 6(2 1)2(5 3)x x− −

= 12(2 1)(5 3)x x− −

ตัวอยางท่ี 3 กําหนด ABC เปนรูปสามเหลี่ยมท่ีมี AD ตั้งฉากกับ BC ท่ีจุด D ถา AB = 13 หนวย

AC = 20 หนวย และ BC = 21 หนวย จงหาความสูงของรูปสามเหลี่ยม ABC

วิธีทํา สมมติให ,BD x AD h= = จะได 21DC x= −

จากสมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

จะได 2 2h x+ = 213 (1)

Page 24: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

2 2(21 )h x+ − = 220 (2)

2 2(1) (2); (21 )x x− − − = 2 213 20−

[ (21 )][ (21 )]x x x x− − + − = (13 20)(13 20)− +

(21 21)(21)x − = 7(33)−

2 21x − = 11−

2x = 10

x = 5

แทนคา 5x = ใน (1) จะได

2 2 25 13h + =

2 2 213 5 (13 5)(13 5)h = − = − +

8 18 144= × =

นั่นคือ 12h =

ดังนั้น ความสูงของรูปสามเหลี่ยม ABC เทากับ 2 หนวย

กิจกรรมรวบยอด

5. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

6. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1.4 ขอ 2 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่องการแยกตัวประกอบของ

พหุนามดีกรีสอง

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียนเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เลม

2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

Page 25: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบ

ของพหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 1.4 ขอ 2 แบบฝกหัด 1.4 ขอ 2 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 1.4 ขอ 2 แบบฝกหัด 1.4 ขอ 2 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 26: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 7

หนวยการเรียนรูท่ี 2 สมการกําลังสองตัวแปรเดียว เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

1) แกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบได

2) แกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถ

1. สามารถบอกไดวาสมการใดเปนสมการยกกําลังสองตัวแปรเดียว

2. สามารถหาคําตอบของสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยการแทนคาได

3. สามารถแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยการแยกตัวประกอบได

สาระสําคัญ

สมการซ่ึงมี x เปนตัวแปร และมีรูปท่ัวไปเปน 2ax bx c+ + เม่ือ a , b , c เปนคาคงตัว และ

0a ≠ เรียกวา สมการกําลังสองตัวแปรเดียว (Quadratic equation with one variable)

ในการแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว จะตองใชความรูเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามเขามา

ชวย ดังนี ้

1. ( )ab ac a b c+ = + 2. 2 ( )( )x bx c x p x q+ + = + + เม่ือ p q b+ = และ pq c=

3. 2 ( )( )ax bx c mx p nx q+ + = + + เม่ือ ( ) ( )mx q nx p bx× + × =

4. 2 2 22 ( )a ab b a b+ + = + 5. 2 2 22 ( )a ab b a b− + = − 6. 2 2 ( )( )a b a b a b− = + −

สมบัติของจํานวนจริง ท่ีกลาววา “ถามีจํานวนจริงสองจํานวนคูณกันเทากับศูนย แลวอยางนอยหนึ่ง

จํานวนเทากับศูนย”

Page 27: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

คําตอบของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว คือ จํานวนจริงซ่ึงเม่ือแทนคาตัวแปรในสมการแลวทําให

สมการเปนจริง

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. สมการยกกําลังสองตัวแปรเดียว

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูไดทบทวน เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม โดยการถามตอบกับนักเรียน

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

2. ครูใหนักเรียนพิจารณาตัวอยางการแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว ในรูป 2ax bx c+ + เม่ือ

a , b และ c เปนคาคงตัว และ 1a ≠ โดยถามตอบไปพรอมกับนักเรียน ดังนี้

ตัวอยาง

22 3 4x x+ + = 0 เปนสมการท่ีมี 2,a = 3,b = 4c =

2 2 5x x− + = 0 เปนสมการท่ีมี 1,a = 2,b = − 5c =

2 2x x− + = 0 เปนสมการท่ีมี 1,a = − 2,b = 0c =

21 52

x − = 0 เปนสมการท่ีมี 1 ,2

a = 0,b = 5c = −

21.5x = 0 เปนสมการท่ีมี 1.5,a = 0,b = 0c =

ในบางครั้งสมการท่ีพบเห็นโดยท่ัวไปอาจจะไมอยูในรูปท่ัวไป แตเราสามารถใชสมบัติการเทากันมา

ชวยในการจัดรูป แลวพิจารณาวาอยูในรูปท่ัวไปและเขาเง่ือนไขของสมการกําลังสองหรือไม เชน

( 6) 2y y − =

จัดรูปเปน 2 6y y− = 2

Page 28: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

2 6 2y y− − = 0 ; 1,a = 6,b = − 2c = −

22 3x x− + = 22x x−

จัดรูปเปน 2 22 3 2x x x x− + − + = 0

2x = 0 ; 0,a = 2,b = 0c =

ดังนั้น ( 6) 2y y − = เปนสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

แต 22 3x x− + = 22x x− ไมเปนสมการกําลังสองตัวแปรเดียว เพราะ 0a =

คําตอบของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

คําตอบของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว คือ จํานวนจริงซ่ึงเม่ือแทนตัวแปรในสมการแลวทําใหสมการ

เปนจริง

คําตอบของสมการกําลังสองมีไดไมเกินสองคําตอบ และวิธีการหาคําตอบอาจจะใชการทดลองแทนคา

หรือจะใชการแกสมการมาชวยในการหาคําตอบก็ได ซ่ึงการแกสมการกําลังสองจะใชการแยกตัวประกอบ และ

ใชสมบัติของจํานวนจริงท่ีกลาววา ถามีจํานวนจริงสองจํานวนคูณกันไดเทากับศูนยแลว จํานวนอยางนอย

หนึ่งจํานวนตองเทากับศูนย

นั่นคือ ถา ,a b เปนจํานวนจริง และ 0ab = แลว 0a = หรือ 0b =

ตัวอยางท่ี 1 จงแกสมการ 2x = 7x−

วิธีทํา จาก 2x = 7x−

จะได 2 7x x+ = 0

( 7)x x − = 0

ดังนั้น 0x = หรือ 7 0x + =

นั่นคือ 0x = หรอื 7x = −

ตรวจคําตอบ แทนคา 0x = ในสมการ 2x = 7x−

จะได 2(0) 7(0)= −

0 0= เปนจริง

แทนคา 7x = − ในสมการ 2x = 7x−

จะได 2( 7) 7( 7)− = − −

49 49= เปนจริง

Page 29: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

ดังนั้น คําตอบของสมการ คือ 0 และ -7

ตัวอยางท่ี 2 จงแกสมการ 2( 14)y − = 0

วิธีทํา จาก 2( 14)y − = 0

จะได ( 14)( 14)y y− − = 0

ดังนั้น 14 0y − =

14y =

ตรวจคําตอบ แทนคา 14y = ในสมการ 2( 14)y − = 0

จะได 2(14 14)− = 0

20 0= เปนจริง

ดังนั้น คําตอบของสมการ คือ 14

ตัวอยางท่ี 3 จงแกสมการ 2 6 5x x+ + = 0

วิธีทํา จาก 2 6 5x x+ + = 0

จะได ( 5)( 1)x x+ + = 0

ดังนั้น 5 0x + = หรือ 1 0x + =

นั่นคือ 5x = − หรือ 1x = −

ตรวจคําตอบ แทนคา 5x = − ในสมการ 2 6 5x x+ + = 0

จะได 2( 5) 6( 5) 5− + − + = 0

0 0= เปนจริง

แทนคา 1x = − ในสมการ 2 6 5x x+ + = 0

จะได 2( 1) 6( 1) 5− + − + = 0

0 0= เปนจริง

ดังนั้น คําตอบของสมการ คือ -5 และ -1

กิจกรรมรวบยอด

3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2.1 ขอ 1 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปร

เดียว

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว

Page 30: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เลม

2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบ

ของพหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 2.1 ขอ 1 แบบฝกหัด 2.1 ขอ 1 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 2.1 ขอ 1 แบบฝกหัด 2.1 ขอ 1 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 31: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 8

หนวยการเรียนรูท่ี 2 สมการกําลังสองตัวแปรเดียว เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

1) แกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบได

2) แกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถ

1. สามารถบอกไดวาสมการใดเปนสมการยกกําลังสองตัวแปรเดียว

2. สามารถหาคําตอบของสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยการแทนคาได

3. สามารถแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยการแยกตัวประกอบได

สาระสําคัญ

สมการซ่ึงมี x เปนตัวแปร และมีรูปท่ัวไปเปน 2ax bx c+ + เม่ือ a , b , c เปนคาคงตัว และ

0a ≠ เรียกวา สมการกําลังสองตัวแปรเดียว (Quadratic equation with one variable)

ในการแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว จะตองใชความรูเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามเขามา

ชวย ดังนี ้

1. ( )ab ac a b c+ = + 2. 2 ( )( )x bx c x p x q+ + = + + เม่ือ p q b+ = และ pq c=

3. 2 ( )( )ax bx c mx p nx q+ + = + + เม่ือ ( ) ( )mx q nx p bx× + × =

4. 2 2 22 ( )a ab b a b+ + = + 5. 2 2 22 ( )a ab b a b− + = − 6. 2 2 ( )( )a b a b a b− = + −

สมบัติของจํานวนจริง ท่ีกลาววา “ถามีจํานวนจริงสองจํานวนคูณกันเทากับศูนย แลวอยางนอยหนึ่ง

จํานวนเทากับศูนย”

Page 32: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

คําตอบของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว คือ จํานวนจริงซ่ึงเม่ือแทนคาตัวแปรในสมการแลวทําให

สมการเปนจริง

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. สมการยกกําลังสองตัวแปรเดียว

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูไดทบทวน เรื่อง การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว โดยการถามตอบกับนักเรียน

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

2. ครูใหนักเรียนพิจารณาตัวอยางการแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว ในรูป 2ax bx c+ + เม่ือ

a , b และ c เปนคาคงตัว และ 1a ≠ โดยถามตอบไปพรอมกับนักเรียน ดังนี้

คําตอบของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

คําตอบของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว คือ จํานวนจริงซ่ึงเม่ือแทนตัวแปรในสมการแลวทําใหสมการ

เปนจริง

คําตอบของสมการกําลังสองมีไดไมเกินสองคําตอบ และวิธีการหาคําตอบอาจจะใชการทดลองแทนคา

หรือจะใชการแกสมการมาชวยในการหาคําตอบก็ได ซ่ึงการแกสมการกําลังสองจะใชการแยกตัวประกอบ และ

ใชสมบัติของจํานวนจริงท่ีกลาววา ถามีจํานวนจริงสองจํานวนคูณกันไดเทากับศูนยแลว จํานวนอยางนอย

หนึ่งจํานวนตองเทากับศูนย

นั่นคือ ถา ,a b เปนจํานวนจริง และ 0ab = แลว 0a = หรือ 0b =

Page 33: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

ตัวอยางท่ี 1 จงแกสมการ 25 45x − = 0

วิธีทํา จาก 25 45x − = 0

นํา 5 หารตลอด จะได

2 9x − = 0

( 3)( 3)x x− + = 0

ดังนั้น 3 0x − = หรือ 3 0x + =

นั่นคือ 3x = หรือ 3x = −

ตรวจคําตอบ แทนคา 3x = ในสมการ 25 45x − = 0

จะได 25(3) 45− = 0

45 45− = 0 เปนจริง

แทนคา 3x = − ในสมการ 25 45x − = 0

จะได 25( 3) 45− − = 0

45 45− = 0 เปนจริง

ดังนั้น คําตอบของสมการ คือ 3 และ -3

ตัวอยางท่ี 2 จงแกสมการ 24a = 10 3a−

วิธีทํา จาก 24a = 10 3a−

จะได 24 3 10a a+ − = 0

(4 5)( 2)a a− + = 0

ดังนั้น 4 5 0a − = หรือ 2 0a + =

นั่นคือ 54

a = หรือ 2a = −

ตรวจคําตอบ แทนคา 54

a = ในสมการ 24a = 10 3a−

จะได 254

4

= 510 34

254

= 254

เปนจริง

แทนคา 2a = − ในสมการ 24a = 10 3a−

จะได 24( 2)− = 10 3( 2)− −

16 = 16 เปนจริง

Page 34: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

ดังนั้น คําตอบของสมการ คือ 54

และ 2−

กิจกรรมรวบยอด

3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2.1 ขอ 2 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปร

เดียว

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

เลม 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบ

ของพหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 2.1 ขอ 2 แบบฝกหัด 2.1 ขอ 2 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 2.1 ขอ 2 แบบฝกหัด 2.1 ขอ 2 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 35: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 9

หนวยการเรียนรูท่ี 2 สมการกําลังสองตัวแปรเดียว

เรื่อง โจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

1. แกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบได

2. แกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถ

1. สามารถแกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวได

2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบท่ีได

สาระสําคัญ

การแกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการ มีข้ันตอนและแนวคิดดังนี้

1) อานและวิเคราะหโจทย

2) กําหนดตัวแปรแทนสิ่งท่ียังไมทราบคา

3) วิเคราะหเง่ือนไขในโจทยและเขียนสมการ

4) แกสมการ

5) ตรวจสอบคําตอบของสมการตามเง่ือนไขในโจทย

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. โจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

Page 36: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูใหนักเรียนพิจารณาโจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวท่ีอาจหาคําตอบไดโดยอาศัยแบบ

รูปตามตัวอยางในหนังสือเรียนรายวิชาเพ่ิมเติมคณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 หนาท่ี 51 – 52

เพ่ือใหนักเรียนเห็นวา เม่ือตองการแกปญหาในทํานองเดียวกันแตใชกับจํานวนท่ีมีคามากกวา การหาคําตอบ

โดยอาศัยแบบรูปจะไมสะดวก จําเปนตองใชสมการมาชวยในการหาคําตอบ

2. ครูชี้แจงกับนักเรียนวา โจทยปญหาในคณิตศาสตรบางเรื่องสามารถแกโดยใชสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

เชน ปญหาเก่ียวกับจํานวน ความยาว พ้ืนท่ี และปริมาตร

3. ครูอธิบายข้ันตอนของแนวคิดและวิธีทําในการแกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการ ดังนี้

1) อานและวิเคราะหโจทย

2) กําหนดตัวแปรแทนสิ่งท่ียังไมทราบคา

3) วิเคราะหเง่ือนไขในโจทยและเขียนสมการ

4) แกสมการ

5) ตรวจสอบคําตอบของสมการตามเง่ือนไขในโจทย

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

4. ครูใหนักเรียน พิจารณาโจทยปญหาของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว และแนวทางในการหา

คําตอบ โดยการถามตอบไปพรอมกัน ดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางท่ี 1 ใหผลคูณของจํานวนคูจํานวนหนึ่งกับจํานวนคูอีกจํานวนหนึ่งท่ีอยูถัดไปเปน 168

จงหาจํานวนคูท้ังสองจํานวนนั้น

วิธีทํา ให x แทนจํานวนคูท่ีเปนจํานวนท่ีนอยกวา

ให 2x + แทนจํานวนคูท่ีถัดข้ึนไป

เนื่องจากผลคูณของสองจํานวนคือ 168

จะไดสมการ ( 2)x x + = 168

2 2 168x x+ − = 0

( 14)( 12)x x+ − = 0

ดังนั้น 14x + = 0 หรือ 12x − = 0

จะได x = 14− หรือ x = 12

ตรวจสอบ 1) ถาให 12 เปนจํานวนคูบวกท่ีนอยกวา จะไดจํานวนคูบวกท่ีถัดข้ึนไปเปน 12 2 14+ =

Page 37: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

ผลคูณของ 12และ 14 เปน 12 14 168× = เปนจริง

2) ถาให 14− เปนจํานวนคูบวกท่ีนอยกวา จะไดจํานวนคูบวกท่ีถัดข้ึนไปเปน

( 14) 2 12− + = − ผลคูณของ 14− และ 12− เปน ( 14)( 12) 168− − = เปนจริง

ตัวอยางท่ี 2 จงหาจํานวนค่ีบวกสองจํานวนท่ีผลบวกของกําลังสองของแตละจํานวนมีคาเทากับ 130

วิธีทํา กําหนดใหจํานวนแรกเปน x อีกจํานวนเปน 2x +

จะได 2 2( 2)x x+ + = 130

2 2 4 4x x x+ + + = 130

22 4 126x x+ − = 0

( 7)( 9)x x− + = 0

∴ 7x = หรือ 9x = −

ถา 7x = อีกจํานวนคือ 7 2 9+ =

9x = − ไมใชคําตอบท่ีตองการเพราะเปนจํานวนลบ

ดังนั้น จํานวนค่ีบวกท่ีเปนคําตอบคือ 7 และ 9

ตรวจสอบ 2 27 9 49 81 130+ = + =

กิจกรรมรวบยอด

5. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

6. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2.2 ขอ 1 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปร

เดียว

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

เลม 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

Page 38: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบ

ของพหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 2.2 ขอ 1 แบบฝกหัด 2.2 ขอ 1 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 2.2 ขอ 1 แบบฝกหัด 2.2 ขอ 1 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 39: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 10

หนวยการเรียนรูท่ี 2 สมการกําลังสองตัวแปรเดียว

เรื่อง โจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

1. แกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบได

2. แกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถ

1. สามารถแกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวได

2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบท่ีได

สาระสําคัญ

การแกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการ มีข้ันตอนและแนวคิดดังนี้

1) อานและวิเคราะหโจทย

2) กําหนดตัวแปรแทนสิ่งท่ียังไมทราบคา

3) วิเคราะหเง่ือนไขในโจทยและเขียนสมการ

4) แกสมการ

5) ตรวจสอบคําตอบของสมการตามเง่ือนไขในโจทย

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. โจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

Page 40: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูกับนักเรียนรวมกันทบทวนเก่ียวกับข้ันตอนของแนวคิดและวิธีทําในการแกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการ

ดังนี้

1) อานและวิเคราะหโจทย

2) กําหนดตัวแปรแทนสิ่งท่ียังไมทราบคา

3) วิเคราะหเง่ือนไขในโจทยและเขียนสมการ

4) แกสมการ

5) ตรวจสอบคําตอบของสมการตามเง่ือนไขในโจทย

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

2. ครูใหนักเรียน พิจารณาโจทยปญหาของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว และแนวทางในการหา

คําตอบ โดยการถามตอบไปพรอมกัน ดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางท่ี 1 ชายคนหนึ่งมีอายุปจจุบันเปน 5 เทาของบุตรชาย เม่ือสี่ปท่ีแลวผลคูณของอายุของคนท้ังสอง

เทากับ 52 จงหาอายุปจจุบันของคนท้ังสอง

วิธีทํา สมมติใหปจจุบันบุตรชายมีอายุ x ป

∴ ชายคนนี้มีอายุ 5x ป

เม่ือ 4 ปท่ีแลว บุตรชายมีอายุ 4x − ป ชายคนนี้อายุ 5 4x − ป

จะได ( 4)(5 4)x x− − = 52

25 24 16x x− + = 52

25 24 36x x− + = 0

(5 6)( 6)x x+ − = 0

65

x = − หรือ 6x =

เนื่องจากคา 65

− ใชไมได ดังนั้น บุตรชายตองมีอายุ 6 ป ชายคนนี้อายุ 30 ป

ตรวจสอบ เม่ือ 4 ปท่ีแลวบุตรมีอายุ 2 ป บิดามีอายุ 26 ป

ผลคูณ 2 26 52× = เปนจริง

Page 41: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

ตัวอยางท่ี 2 พ่ีนองสองคน มีอายุตางกัน 6 ป 3 เทาของกําลังสองของอายุของพ่ีมากกวากําลังสองของ

ผลบวกของอายุของท้ังสองคนอยู 44 จงหาอายุของพ่ีนองคูนี้

วิธีทํา กําหนดใหนองมีอายุ x ป

ดังนั้นพ่ีมีอายุ 6x + ป

3 เทาของกําลังสองของอายุพ่ีคือ 23( 6)x +

กําลังสองของผลบวกของอายุของท้ังสองคนคือ 2( 6)x x+ +

ดังนั้น 2 23( 6) ( 6) 44x x x+ − + + =

2 23( 12 36) (4 24 36) 44x x x x+ + − + + =

2 23 36 108 4 24 36 44x x x x+ + − − − =

2 12 28 0x x− − =

( 2)( 14) 0x x+ − =

2,14x = −

แสดงวานองอายุ 14 ป และพ่ีอายุ 20 ป

ตอบ นองอายุ 14 ป และพ่ีอายุ 20 ป

กิจกรรมรวบยอด

3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2.2 ขอ 2 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปร

เดียว

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

เลม 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

Page 42: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบ

ของพหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 2.2 ขอ 2 แบบฝกหัด 2.2 ขอ 2 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 2.2 ขอ 2 แบบฝกหัด 2.2 ขอ 2 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 43: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 11

หนวยการเรียนรูท่ี 2 สมการกําลังสองตัวแปรเดียว

เรื่อง โจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

1. แกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบได

2. แกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถ

1. สามารถแกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวได

2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบท่ีได

สาระสําคัญ

การแกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการ มีข้ันตอนและแนวคิดดังนี้

1) อานและวิเคราะหโจทย

2) กําหนดตัวแปรแทนสิ่งท่ียังไมทราบคา

3) วิเคราะหเง่ือนไขในโจทยและเขียนสมการ

4) แกสมการ

5) ตรวจสอบคําตอบของสมการตามเง่ือนไขในโจทย

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. โจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

Page 44: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

x

x+713

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูกับนักเรียนรวมกันทบทวนเก่ียวกับข้ันตอนของแนวคิดและวิธีทําในการแกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการ

ดังนี้

1) อานและวิเคราะหโจทย

2) กําหนดตัวแปรแทนสิ่งท่ียังไมทราบคา

3) วิเคราะหเง่ือนไขในโจทยและเขียนสมการ

4) แกสมการ

5) ตรวจสอบคําตอบของสมการตามเง่ือนไขในโจทย

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

2. ครูใหนักเรียน พิจารณาโจทยปญหาของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว และแนวทางในการหา

คําตอบ โดยการถามตอบไปพรอมกัน ดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางท่ี 4 รูปสามเหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่ง มีดานตรงขามมุมฉากยาว 13 เซนติเมตร ความยาวของดาน

ประกอบมุมฉากตางกัน 7 เซนติเมตร จงหาพ้ืนท่ีของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากรูปนี้

วิธีทํา ใหดานประกอบมุมฉากดานหนึ่งเปน x เซนติเมตร

ความยาวของดานประกอบมุมฉากอีกดานหนึ่งเปน 7x + เซนติเมตร

เนื่องจากดานตรงขามมุมฉากมีความยาว 13 เซนติเมตร

จากสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จะไดสมการเปน

2 2( 7)x x+ + = 213

2 2 14 49x x x+ + + = 169

22 14 120x x+ − = 0

Page 45: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

2 7 60x x+ − = 0

( 5)( 12)x x− + = 0

ดังนั้น 5x − = 0 หรือ 12x + = 0

จะได x = 5 หรือ x = 12−

ตรวจสอบ เนื่องจาก x แทนความยาวของดานซ่ึงจะเปนจํานวนบวก

ดังนั้น 12− จึงไมใชความยาวของดาน

ถาใหความยาวของดานประกอบมุมฉากดานหนึ่งเปน 5 เซนติเมตร

ความยาวดานประกอบมุมฉากอีกดานหนึ่งจะเปน 5 + 7 = 12 เซนติเมตร

จะไดผลบวกของกําลังสองของความยาวของดานประกอบมุมฉากเปน

2 25 12 169+ = เปนจริง

ดังนั้น พ้ืนท่ีของรูปสามเหลี่ยม 12

= × ฐาน × สูง

1 5 122

= × ×

30= ตารางเซนติเมตร

ตัวอยางท่ี 2 สวนสาธารณะแหงหนึ่งเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 14 เมตร ยาว 24 เมตร เม่ือทําทางเดิน

ภายในรอบสวนใหมีความกวางเทากันโดยตลอดแลว จะเหลือบริเวณสวนท่ีไมรวมทางเดินคิดเปนพ้ืนท่ี 200

ตารางเมตร จงหาความกวางของทางเดินรอบสวนนี้

ดังนั้น ทางเดินของสวนกวาง 2 เมตร

วิธีทํา ใหทางเดินกวาง x เมตร

บริเวณท่ีเหลือ กวาง 14 – 2x เมตร

ยาว 24 – 2x เมตร

จะไดสมการเปน (14 2 )(24 2 ) 200x x− − =

2 19 34 0x x− + =

( 2)( 17) 0x x− − = จะได x = 12 หรือ x = 17

เนื่องจากเม่ือแทนคาดวย 17 จะหาคําตอบไมได

ดังนั้นทางเดินของสวนกวาง 2 เมตร

กิจกรรมรวบยอด

3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

Page 46: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2.2 ขอ 3 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปร

เดียว

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 เลม

2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบ

ของพหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 2.2 ขอ 3 แบบฝกหัด 2.2 ขอ 3 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 2.2 ขอ 3 แบบฝกหัด 2.2 ขอ 3 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 47: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 12

หนวยการเรียนรูท่ี 3 การแปรผัน เรื่อง การแปรผกผัน

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

1. เขียนสมการแสดงการแปรผันระหวางปริมาณตางๆท่ีแปรผันตอกันได

2. แกปญหาหรือสถานการณท่ีกําหนดโดยใชความรูเก่ียวกับการแปรผันได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถ

1. บอกไดวาปริมาณสองปริมาณท่ีกําหนดใหแปรผันตรงตอกันหรือไม เม่ือกําหนดความสัมพันธระหวาง

สองปริมาณนั้นให

2. เขียนสมการแสดงการแปรผันระหวางสองปริมาณใดๆ ท่ีแปรผันตรงตอกันได

3. แกโจทยปญหาหรือสถานการณเก่ียวกับการแปรผันตรงได

4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบท่ีได

สาระสําคัญ

บทนิยาม

ให x และ y แทนปริมาณใดๆ y แปรผันตรงกับ x เม่ือ y kx= โดยท่ี k เปนคาคงตัว และ 0k ≠

สมการ y kx= โดยท่ี k เปนคาคงตัว และ 0k ≠ เรียกวา สมการแสดงการแปรผันของการแปรผัน

ตรง เรียก k วา คาคงตัวของการแปรผัน และเขียนแทน y แปรผันตรงกับ x ดวย y x∝

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. การแปรผันตรง

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

Page 48: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่องสถานการณในชีวิตประจําวัน ท่ีแสดงความสัมพันธของปริมาณสอง

ปริมาณ โดยใหนักเรียนยกตัวอยางวามีอะไรบาง

2. ครูใหนักเรียนพิจารณาสถานการณตอไปนี้ จากตารางแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณจํานวน

แอปเปลและจํานวนเงินท่ีจาย ดังนี้

ปริมาณจํานวนแอปเปล (ลูก) จํานวนเงินท่ีจาย (บาท)

0123456

.

.

.

05

1015202530

.

.

.

3. ครูชี้แจงกับนักเรียนวา

ให x แทนปริมาณจํานวนแอปเปลเปนลูก

y แทนจํานวนเงินท่ีจายเปนบาท

โดยจากแบบรูปในตาราง สามารถเขียนความสัมพันธระหวาง x และ y ไดเปน 5y x= นั่นคือ

เม่ือปริมาณจํานวนแอปเปล x เพ่ิมข้ึน จํานวนเงินท่ีจาย y ก็จะสูงข้ึนตาม ในอัตราท่ีคงตัวคือ 5 บาทตอ

กิโลกรัม

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

4. ครูเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณจํานวนแอปเปล และจํานวนเงินท่ีจาย ดังรูป

Page 49: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจนไดขอสรุปรวมกัน ดังนี้ กราฟท่ีไดเปนกราฟแสดง

ความสัมพันธระหวางปริมาณสองปริมาณ เม่ือปริมาณหนึ่งเพ่ิม อีกปริมาณก็เพ่ิมข้ึนดวย หรือเม่ือปริมาณหนึ่ง

ลดลง อีกปริมาณหนึ่งก็ลดลงตามไปดวย อยางเปนสัดสวน โดยครูเพ่ิมเติมกับนักเรียนวา ความสัมพันธใน

ลักษณะดังกลาว เปนการแปรผันตรง

5. ครูอธิบายถึงนิยามของการแปรผันตรง ดังนี้

บทนิยาม ให x และ y แทนปริมาณใดๆ y แปรผันตรงกับ x เม่ือ y kx= โดยท่ี k เปนคาคงตัว

และ 0k ≠

สมการ y kx= โดยท่ี x เปนคาคงตัว และ 0k ≠ เรียกวา สมการแสดงการแปรผันของการแปรผันตรง

เรียก k วา คาคงตัวของการแปรผัน และเขียนแทน y แปรผันตรงกับ x ดวย y x∝ ซ่ึง y x∝ สามารถ

เขียนเปน , 0 y k kx= ≠

6. ครูใหนักเรียนพิจารณาตัวอยางความสัมพันธ

ตัวอยางท่ี 1 จากตารางแสดงความเก่ียวของระหวาง x และ y ตอไปนี้ จงหาวา y แปรผันตรงกับ x

หรือไม ถา y แปรผันตรงกับ x ใหหาคาคงตัวของการแปรผันและเขียนสมการการแปรผัน

1)

x 2 3 4 5 6

y 10 15 20 25 30

x -2 -4 -6 -8 -10

X (จํานวนแอปเปลเปนลูก)

Y (จํานวนเงินท่ีจายเปนบาท)

Page 50: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

2)

วิธีทํา 1) หาคาของ yx

ในแตละคูไดดังนี้

x 2 3 4 5 6

y 10 15 20 25 30

yx

5 5 5 5 5

เนื่องจาก yx

ทุกคูเทากับ 5 ดังนั้น y α x โดยมี 5 เปนคาคงตัวของการแปรผัน

สมการการแปรผัน คือ 5y x=

2) หาคาของ yx

ในแตละคูไดดังนี้

x -2 -4 -6 -8 -10

y 1 2 3 4 5

yx

12

− 12

− 12

− 12

− 12

เนื่องจาก yx

ทุกคูเทากับ 12

− ดังนั้น y α x โดยมี 12

− เปนคาคงตัวของการแปรผัน

สมการการแปรผัน คือ 12

y x= −

นอกจากจะมี y α x แลว y อาจจะแปนผันตรงกับปริมาณอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของกับ x เชน y α 2x

และ y α x เชน

จะไดวา

y 1 2 3 4 5

x 5 10 15 20 25

y 5 20 45 80 125

x 5 10 15 20 25

y 5 20 45 80 125

yx

1 2 3 4 5

Page 51: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

จากตางรางจะเห็นวา yx

ไมเทากันทุกคู แสดงวา y ไมแปรผันตรงกับ x

ถาพิจารณา y α 2x จะไดวา

จากตาราง 2

yx

ทุกคูเทากับ 15

ดังนั้น y α 2x โดยมี 15

เปนคาคงตัวของการแปรผัน

สมการการแปรผัน คือ 215

y x=

ตัวอยางท่ี 2 ถา y แปรผันตรงกับ x และ 8y = เม่ือ 5x = จงหา

1) สมการแสดงความสัมพันธระหวาง x กับ y

2) คาของ y เม่ือ 10x =

วิธีทํา 1) y α x

ดังนั้น y kx= ; เม่ือ k = คาคงตัวของการแปรผัน

แทนคา 5x = , 8y = ในสมการ

จะได 8 (5)k=

∴ 85

k =

ดังนั้น สมการแสดงความสัมพันธ คือ 85

y x=

ตัวอยางท่ี 3 ถา y แปรผันตรงกําลังสองกับ x และ 16y = เม่ือ 2x = จงหาคาของ y เม่ือ 5x =

วิธีทํา y α 2x

ดังนั้น 2y kx= ; เม่ือ k = คาคงตัวของการแปรผัน

แทนคา 16y = , 2x = ในสมการ

x 5 10 15 20 25

y 5 20 45 80 125

x 5 10 15 20 25

y 2x

5

25

20

100

45

225

80

400

125

625

yx

15

15

15

15

15

Page 52: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

จะได 16 44

k = =

∴ 24y x=

เม่ือ 5x = จะได 24(5)y =

100=

ตัวอยางท่ี 4 คาใชจายในการจัดเลี้ยงครั้งหนึ่งแปรผันตรงกับจํานวนคนท่ีมาในงาน ถามีคนมางาน 40 คน เสีย

คาใชจาย 3,200 บาท จงหาวาถามีคนมางาน 120 คน จะเสียคาใชจายเทาไร

วิธีทํา สมมติใหคาใชจาย = P , จํานวนคน = N

ดังนั้น P α N

จะได P = kN เม่ือ k = คาคงตัวของการแปรผัน

แทนคา 40N = , 3,200P = ในสมการ

จะได 3,200 = (40)k

k = 3,200 8040

=

สมการการแปรผัน คือ P = 80N

แทนคา 120N = ในสมการการแปรผัน

จะได 80(120) 9,600P = =

ดังนั้น ถามีคนมารวมงาน 120 คน ตองเสียคาใชจาย 9,600 บาท

กิจกรรมรวบยอด

7. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

8. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 3.1 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่องการแปรผัน

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เรื่องการแปรผัน

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

เลม 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

Page 53: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบ

ของพหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 3.1 แบบฝกหัด 3.1 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 3.1 แบบฝกหัด 3.1 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 54: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 13

หนวยการเรียนรูท่ี 3 การแปรผัน เรื่อง การแปรผกผัน

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

1. เขียนสมการแสดงการแปรผันระหวางปริมาณตางๆท่ีแปรผันตอกันได

2. แกปญหาหรือสถานการณท่ีกําหนดโดยใชความรูเก่ียวกับการแปรผันได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถ

1. บอกไดวาปริมาณสองปริมาณท่ีกําหนดใหแปรผกผันตอกันหรือไม เม่ือกําหนดความสัมพันธ

ระหวางสองปริมาณนั้นให

2. เขียนสมการแสดงการแปรผันระหวางสองปริมาณใดๆ ท่ีแปรผกผันตอกันได

3. แกโจทยปญหาหรือสถานการณเก่ียวกับการแปรผันตรงได

4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบท่ีได

สาระสําคัญ

บทนิยาม

ให x และ y แทนปริมาณใดๆ ท่ีไมใชศูนย y แปรผกผันกับ x เม่ือ 1y xk

= × โดยท่ี k เปนคา

คงตัว และ 0k ≠

สมการ 1y xk

= × โดยท่ี k เปนคาคงตัว และ 0k ≠ เรียกวา สมการแสดงการแปรผันของการ

แปรผกผัน เรียก k วา คาคงตัวของการแปรผัน และเขียนแทน y แปรผกผันกับ x ดวย 1yx

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. การแปลผกผัน

Page 55: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

1. การแกปญหา

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูทบทวนการเขียนแสดงความสัมพันธของปริมาณสองปริมาณท่ีเปนการแปรผันตรง โดยการถาม

ตอบกับนักเรียน

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

2. ครูใหนักเรียนพิจารณาโจทยปญหาการแปรผกผัน และแนวทางในการหาคําตอบ โดยการถามตอบ

ไปพรอมกัน ดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางท่ี 1 จงพิจารณาวา ตารางท่ีแสดงความเก่ียวของของ x และ y

ตารางใดเปนการแสดงวา y แปรผกผันกับ x

1)

2)

วิธีทํา 1) หาคาของ xy ในแตละคูไดดังนี้

x 1 2 3 4 5

y 12 6 4 3 2.4

xy 12 12 12 12 12

จากตารางจะเห็นวา xy เทากับ 12 ทุกคู

x 1 2 3 4 5

y 12 6 4 3 2.4

x 3 2 1 12

14

y 12

34

32

3 6

Page 56: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แสดงวา y α 1x

สมการการแปรผัน คือ 12yx

=

2) หาคาของ xy ในแตละคูไดดังนี้

จากตารางจะเห็นวา xy เทากับ 32

ทุกคู

แสดงวา y α 1x

โดยมี 32

เปนคาคงตัวของการแปรผัน

ตัวอยางท่ี 2 เม่ือ y แปรผกผันกับ x และ 5y = เม่ือ 16x = จงหา

1) y เม่ือ 100x =

2) x เม่ือ 60y =

3) y จะเปนก่ีเทาของปริมาณเดิม เม่ือ x เปน 14

เทาของปริมาณเดิม

วิธีทํา 1) y α 1x

kyx

= เม่ือ k = คาคงตัว

แทนคา 5y = , 16x = ในสมการ

จะได 5 = 16k

k = 5 4 20× =

∴ สมการการแปรผันคือ 20yx

=

แทนคา 100x = ในสมการ

จะได 20 20 210100

y = = =

2) แทนคา 60y = ในสมการ

จะได 60 = 20x

x 3 2 1 12

14

y 12

34

32

3 6

xy 32

32

32

32

32

Page 57: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

x = 2060

= 13

x = 19

3) ถา x ลดลงเปน 14

เทาของปริมาณเดิม

จะได 2 2

4 2

k k k kyx x x x

= = = =

ดังนั้น y จะเปน 2 เทาของปริมาณเดิม

ตัวอยางท่ี 3 บริษัทรับเหมากอสรางจางคนงาน 30 คน ซอมถนนสายหนึ่ง คนงานท้ังหมดชวยกันซอมไปได

ครึ่งหนึ่งใชเวลา 16 วัน ถากําหนดใหเวลาทํางานแลวเสร็จแปรผกผันกับจํานวนคนงาน จงหาวาบริษัทรับเหมา

จะตองเพ่ิมคนงานอีกก่ีคนจึงจะทําใหงานท่ีเหลือเสร็จภายในเวลา 12 คน

วิธีทํา ใหจํานวนคนงามเปน ,N จํานวนวันท่ีทํางานเปน T

เนื่องจาก T α 1N

∴ T = kN

เม่ือ k = คาคงตัว

คนงาน 30 คน ซอมถนนครึ่งหนึ่งใชเวลา 16 วัน

แทนคา ; 16 = 30k

จะได k = 16 30 480× =

∴ T = 480N

ตองการใหงานอีกครึ่งหนึ่งใชเวลา 16 วัน

แทนคา; 12 = 480N

จะได N = 480 4012

=

∴ ตองใชคนงานท้ังหมด 40 คน

ดังนั้น ตองเพ่ิมคนงานอีก 40 – 30 = 10 คนถ

กิจกรรมรวบยอด

3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 3.2 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่องการแปรผัน

Page 58: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เรื่องการแปรผัน

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

เลม 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบ

ของพหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 3.2 แบบฝกหัด 3.2 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 3.2 แบบฝกหัด 3.2 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

Page 59: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 14

หนวยการเรียนรูท่ี 3 การแปรผัน เรื่อง การแปรผันเกี่ยวเนื่อง

วิชา ค22202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 4 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 เวลา 1 ช่ัวโมง

ผูสอน อาจารยน้ําผึ้ง ชูเลิศ

ผลการเรียนรู

1. เขียนสมการแสดงการแปรผันระหวางปริมาณตางๆท่ีแปรผันตอกันได

2. แกปญหาหรือสถานการณท่ีกําหนดโดยใชความรูเก่ียวกับการแปรผันได

จุดประสงคการเรียนรู

นักเรียนสามารถ

1. เขียนสมการแสดงการแปรผันเก่ียวเนื่องระหวางปริมาณตางๆ ได

2. นําความรูไปใชแกโจทยปญหาหรือสถานการณเก่ียวกับการแปรผันเก่ียวเนื่องได

3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบได

สาระสําคัญ

บทนิยาม

ให y , , , ,...,1 2 3x x x xn แทนปริมาณใดๆ

y แปรผันเก่ียวเนื่องกับ , , ,...,1 2 3x x x xn เม่ือ y แปรผันตรงกับผลคูณของ , , ,...,1 2 3x x x xn

y แปรผันเก่ียวเนื่องกับ , , ,...,1 2 3x x x xn เขียนแทนดวยสัญลักษณ , , ,...,1 2 3y x x x xnα

สาระการเรียนรู

ดานความรู

1. การแปรผันเก่ียวเนื่อง

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ใฝเรียนรู

2. มีวินัย

สมรรถนะสําคัญ

Page 60: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

1. การแกปญหา

2. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําเขาสูบทเรียน

1. ครูทบทวนการเขียนแสดงความสัมพันธของปริมาณสองปริมาณท่ีเปนการแปรผันตรง และ

แปรผกผัน โดยการถามตอบกับนักเรียน พรอมท้ังใหนักเรียนสรุปความสัมพันธรวมกัน ดังนี้

y แปรผันตรงกับ x เม่ือ y kx= โดยท่ี k เปนคาคงตัวและ 0k ≠

y แปรผกผันกับ x เม่ือ 1y kx

= × โดยท่ี k เปนคาคงตัวและ 0k ≠

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

2. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับชีวิตประจําวันท่ีเก่ียวกับความสัมพันธระหวางปริมาณตั้งแตสอง

ปริมาณข้ึนไป โดยถามนักเรียนวา การเดินทางสัญจรตางๆ นักเรียนเดินทางไปอยางไร ไปกันก่ีวัน และในการ

เดินทางนี้โรงเรียนจะตองเสียคาใชจายอะไรบาง นั่นคือ คารถ

3. ครูถามนักเรียนวา คารถท่ีตองจายข้ึนอยูกับอะไรบาง นั่นคือ จํานวนวัน จํานวนคน ครูถามนักเรียน

วา ถาไปหลายวัน คนไปจํานวนมาก คารถท่ีตองจายจะตองจายมากหรือจายนอย นั่นคือ จํานวนคนมาก ไป

หลายวัน คารถตองจายมาก ถาคนไปจํานวนนอยลง จํานวนวันก็ลดลง คารถท่ีตองจายจะตองจายมากหรือ

จายนอย นั่นคือ คนไปจํานวนนอยลง จํานวนวันก็ลดลง คารถท่ีตองจายจะตองจายนอยลง

4. ครูใหนักเรียนสรุปความสัมพันธของปริมาณตางๆ นั่นคือ จํานวนคารถท่ีตองจาย แปรผันเก่ียวเนื่อง

กับจํานวนคนและจํานวนวัน

5. ครูใหบทนิยามของการแปรผันเก่ียวเนื่อง ดังนี้

บทนิยาม

ให y , , , ,...,1 2 3x x x xn แทนปริมาณใดๆ

y แปรผันเก่ียวเนื่องกับ , , ,...,1 2 3x x x xn เม่ือ y แปรผันตรงกับผลคูณของ , , ,...,1 2 3x x x xn

y แปรผันเก่ียวเนื่องกับ , , ,...,1 2 3x x x xn เขียนแทนดวยสัญลักษณ , , ,...,1 2 3y x x x xnα

6. ครูยกตัวอยางใหนักเรียนเขียนสมการจากความสัมพันธของปริมาณตางๆ

ตัวอยางท่ี 1 p แปรผันเก่ียวเนื่องกับ ,a b และ 1c

ถา a เพ่ิมข้ึน 50% b ลดลง 50% และ c เพ่ิมข้ึน

20% แลว p จะเพ่ิมข้ึนหรือลดลงก่ีเปอรเซ็นต

Page 61: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

วิธีทํา p α 1( )( )a bc

p = kabc

; เม่ือ k = คาคงตัว

ถา a เพ่ิมข้ึน 50% เปน 150 3100 2

a a=

b ลดลง 50% เปน 50100 2

b b=

c เพ่ิมข้ึน 20% เปน 120 6100 5

c c=

32 265

a bkp

c

=

58

abp kc

=

แสดงวา p ลดลง = 58

kab kabc c

= 38

kabc

= 37.5%

ตัวอยางท่ี 2 y แปรผันเก่ียวเนื่องกับ ,a b และ 1c

เม่ือ 25,a = 2b = และ 1c = จะได 100y =

จงหา 1) คา y เม่ือ 12,a = 5b = และ 4c =

2) คา a เม่ือ 36,y = 3b = และ 2c =

วิธีทํา y α 1( )( )a bc

∴ y = kabc

; เม่ือ k = คาคงตัว

แทนคา 25,a = 2b = , 1c = และ 100y =

จะได 100 = (25)(2)1

k

k = 100 250

=

∴ สมการคือ 2abyc

=

1) หาคา y เม่ือ 12,a = 5b = และ 4c =

Page 62: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

แทนคา; y = 2(12)(5)4

= 60

2) หาคา a เม่ือ 36,y = 3b = และ 2c =

แทนคา; 36 = 2 (3)2

a

a = 36 26

= 6 2

ตัวอยางท่ี 3 คาใชจายในการลางอัดรูปครั้งแรกประกอบดวย คาลางฟลมและคาอัดรูป โดยคาลางฟลมแปร

ผันตรงกับจํานวนฟลมท่ีลาง คาอัดรูปแปรผันตรงกับจํานวนรูปท้ังหมดท่ีอัด ถาชายคนหนึ่งนําฟลมไปลาง 2

มวน คาลางมวนละ 30 บาท และอัดรูปออกมาท้ังหมด 73 รูป เสียคาใชจาย 352 บาท จงหา

1) ราคาในการอัดรูป 1 รูป

2) ถานําฟลมไปลาง 3 มวน รูปท่ีอัดมี 112 รูป จะเสียคาจางในการลางอัดรูปท้ังหมดเทาไร

วิธีทํา ใหคาลางอัดรูป = P

จํานวนฟลม = F

จํานวนรูป = N

∴ P kF mN= + เม่ือ ,k m เปนคาคงตัว

ถาลางฟลม 2 มวน คาลางมวนละ 30 บาท อัดรูป 73 รูป เสียคาใชจาย 352 บาท

∴ 352 = 30 2 (73)m× +

352 = 60 73m+

73m = 292

m = 4

∴ สมการความสัมพันธคือ 30 4P F N= +

1) ราคาในการอัดรูป 1 รูป = 1 บาท

2) ถานําฟลมไปลาง 3 มวน รูปท่ีอัดมี 112 รูป จะได

3, 112F N= = จะได

30(3) 4(112)P = +

538=

ดังนั้น เสียคาลางอัดรูป 538 บาท

Page 63: 1 22202 4 2 2561 1elsd.ssru.ac.th/nampung_ch/pluginfile.php/137/course/summary/เเผนการ... · ครูให นักเรียนทําแบบฝ กหัด

กิจกรรมรวบยอด

7. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูท่ีเรียนในชั่วโมงนี้

8. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 3.3 ในเอกสารประกอบการเรียน เรื่องการแปรผัน

ส่ือการเรียนรู

1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เรื่องการแปรผัน

2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตรเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

เลม 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ สกสค.

ลาดพราว

การวัดและการประเมิน

เปาหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑการประเมิน

สาระสําคัญ

- การแยกตัวประกอบ

ของพหุนามโดยใชสมบัติ

การแจงแจง

แบบฝกหัด 3.3 แบบฝกหัด 3.3 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค

- ใฝเรียนรู

- มีวินัย

- การเขาเรียน และการ

ทํางาน

- เขาเรียน

- มีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียน

- เขาเรียนตรงเวลา

- เม่ือครูถาม นักเรียนมี

ความกระตือรือรนใน

การตอบ

สมรรถนะ

- การแกปญหา

- การสื่อสาร การสื่อ

ความหมาย และการ

นําเสนอ

แบบฝกหัด 3.3 แบบฝกหัด 3.3 ตรวจสอบความถูกตอง

และความเขาใจ