Top Banner
อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ คลื่นเสียง *อัตราเร็วของคลื่นเสียงจะขึ้นอยูกับตัวกลางที่มันเคลื่อนทีไป เมื่อเสียงเอินทางผานตัวกลางจะทําใหอนุภาคของตัวกลาง เกิดการสั่นในแนวทางเดียวกับที่เสียงเดินทางผาน การสั่นของอนุภาคจากตําแหนงสมดุลมีผลทําใหเกิด บริเวณที่มีความดันสูง (บริเวณที่อนุภาคเคลื่อนที่เขามาใกล กัน เรียวา สวนอัด ,condensation) และบริเวณที่มีความดันต่ํา (บริเวณที่อนุภาคเคลื่อนที่ออกหางจากกัน เรียกวา สวนคลาย , rarefraction) สลับกันไปตลอดแนวที่คลื่นเดินทางผาน
26

07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

Feb 09, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

คลื่นเสียง

*อัตราเร็วของคลื่นเสียงจะขึ้นอยูกับตัวกลางที่มันเคลือ่นที่ไป เมื่อเสียงเอินทางผานตัวกลางจะทําใหอนภุาคของตัวกลางเกิดการสัน่ในแนวทางเดียวกบัที่เสียงเดินทางผาน

การสั่นของอนุภาคจากตําแหนงสมดุลมผีลทําใหเกิดบริเวณที่มีความดันสูง (บริเวณที่อนุภาคเคลื่อนที่เขามาใกลกนั เรยีวา สวนอัด ,condensation) และบริเวณที่มีความดันต่ํา (บริเวณที่อนุภาคเคลื่อนที่ออกหางจากกัน เรยีกวา สวนคลาย , rarefraction) สลับกนัไปตลอดแนวที่คลื่นเดนิทางผาน

Page 2: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของสวนอัดและสวนคลายของกลุมอนุภาคตัวกลาง จะขึ้นอยูกับลักษณะของการรบกวน

เชนถาคลืน่เสียงเกิดจากากรรบกวนตามสัญญาณรูป sine ลักษณะการเปลีย่นแปลงของสวนอัดและคลายก็จะเปนแบบ sine ดวย

Page 3: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

อัตราเร็วของคลื่นเสียงขึ้นอยูกับ Bulk modulus , B

และความหนาแนน, ตามสมการ

โดยที่ Bulk modulus เขียนไดเปน

เมื่อ คือความดันที่เปลี่ยนแปลง

VVΔ

− คืออัตราสวนการเปลี่ยนแปลงของปรมิาตร

ρ

ρB

=v

VVPB/Δ

Δ−=

Page 4: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

Bulk modulus บอกถึงความตานทานในการเปลี่ยนแปลงปรมิาตรของวัสดุ

ตัวอยาง ไดแก ของแข็งมีคา Bulk modulus มากกวาของเหลวและกาซ

Page 5: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

เสียง (Sound)

เสียง เปนคลื่นตามยาว ซึง่เกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียง

การเคลื่อนที่ของเสียงตองอาศัยตัวกลางในการถายโอนพลังงานไปยังที่ตาง ๆ

ขณะที่คลื่นเสียงแผไปในอากาศ จะเกิดบริเวณที่มีสวนอัดและสวนขยายของโมเลกุลอากาศสลับกันไป ทําใหความดันเปลี่ยนแปลง ผลคือโมเลกุลของอากาศสั่นไป-มา และถายโอนพลังงานใหกับโมเลกุลอื่นอยางตอเนื่อง

Page 6: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

คลื่นเสียงจัดเปนคลืน่ตามยาว(longitudinal wave)

ที่มีอนุภาคตัวกลางสัน่อยูในแนวเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลืน่ พิจารณารูปการเกิดคลืน่เสยีงในอากาศดังรปู

ก กราฟระหวางความดันของอากาศกบัตําแหนงตาง ๆ ตามแนวการเคลื่อนที่ของเสยีง

ข. กราฟระหวางการกระจดัของอนุภาคกบัตําแหนงตาง ๆ ตามแนวการเคลื่อนที่ของเสยีง

กราฟทั้งสองมีเฟสตางกันเทาไร

Page 7: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

อัตราเร็วเสียง (The Speed of Sound)

เสียงเปนคลืน่ตามยาวที่ตองใชตวักลางในการเคลื่อนที่

อัตราเร็วของเสียงจึงขึน้กับชนิด และสมบัติของตัวกลาง ไดแก ความหนาแนน สมบัติความยืดหยุนของตัวกลาง และอุณหภูมิของตัวกลาง

อัตราเร็วของเสียงในตัวกลางหนึง่ ๆ จะคงตวัเมื่ออุณหภูมิของตัวกลางคงตัว

Page 8: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

การหาอัตราเร็วของเสียงในตัวกลางตาง ๆ

1.อัตราเร็วเสียงในกาซหาไดจาก MRTPv γ

ργ

==

เมื่อ เปนคาคงตัวอัตราสวนความรอนจําเพาะ

สําหรับอากาศ

R เปนคาคงตัวของกาซ = 8.31 J/mol.KM เปนมวลโมเลกุลของกาซ สําหรับอากาศ = 0.0288 kg/molP เปนความดันของกาซ มีหนวย N/m2

เปนความหนาแนนของกาซ มีหนวย kg/m3

γ

ρ

v

p

CC

40.1=γ

Page 9: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

2. อัตราเร็วเสียงในของเหลวหาไดจาก ρβ

=v

เมื่อ เปนคา Bulk modulus (มอดูลัสตามปริมาตร) มีหนวย N/m2

เปนความหนาแนนของเหลว มีหนวย kg/m3

β

ρ

3. อัตราเร็วเสียงในของแข็ง หาไดจาก ρyv =

เมื่อ y เปนคา Young’s modulus มีหนวย N/m2

เปนความหนาแนนของแข็ง มีหนวย kg/m3ρ

Page 10: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

อัตราเร็วของคลืน่เสียงจะมีความสัมพันธกับความถี่และความยาวคลื่น ดงัสมการ

λfv =อัตราเร็วเสียงในอากาศจะมีความสัมพันธกับอุณหภูมิ ดังสมการ

tvt 6.0331+=

Tvαเมื่อ v เปนอัตราเร็วเสียงในอากาศ ณ อุณหภูมิ t°C มีหนวย m/s

t เปนอณุหภูมิของอากาศ มีหนวย องศาเซลเซียสT เปนอณุหภูมิของอากาศ มีหนวย เคลวิน

2

1

2

1

TT

vv

=

Page 11: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

การหาอตัราเร็วของเสียงในกาซ

จาก ργPv =

ที่อุณหภูมิ ความดันมาตรฐาน ความดันกาซ (P) = 1.01x105 N/m2

ความหนาแนนอากาศ 3/29.1 mkg=ρ

สําหรับอากาศหรือกาซอะตอมคู มีคาคงตัวของกาซ

Page 12: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

[Jerry D.Wilson]

ตาราง อัตราเร็วของเสียงในตัวกลางตาง ๆ เมื่ออุณหภูมิของตัวกลางคง

51003500450052001850

112514001500

331387965

1284316

ของแข็งอะลูมิเนียมทองแดงเหล็กแกว โพลีสไตรีนของเหลวเอธิลแอลกอฮอลลปรอทน้ํากาซอากาศ (0°C)อากาศ (100°C)ฮีเลียม (0°C)ไฮโดรเจน (0°C)ออกซิเจน (0°C)

อัตราเร็ว (m/s)

ตัวกลาง

Page 13: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

คุณสมบัติของเสียงและคุณสมบัติของเสียงและปรากฏการณบางอยางของเสียงปรากฏการณบางอยางของเสียง

เสียงเปนคลืน่ตามยาว ที่มีสมบัติของคลืน่คือ การสะทอนการหักเห การแทรกสอดและการเลี้ยวเบน

บีตสบีตส (beats)(beats) เปนปรากฏการณที่คลืน่เสยีง 2 ชุด ที่มีความถี่ตางกันเล็กนอย(fB ไมเกิน 7 ถึง 10Hz) แอมพลิจูดเทากันหรือไมก็ได เกิดการแทรกสอดกันขึน้ คลืน่เสียงลัพธมีแอมพลิจูดไมคงที่ แปรเปลี่ยนตามเวลา ทําใหเกิดเสียวงดงัและคอยเปนจงัหวะสลบักันไป

Page 14: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

จํานวนครัง้ที่เสียงดงั(หรือจํานวนครั้งที่เสียงคอย)ใน 1 วินาที

เรียกวา ความถี่บีตส (beats frequency ; Δf , fB)

ปกติหูมนษุยสามารถรับความถี่บีตสไดไมเกิน 7 ถึง 10 Hz

ความถี่บีตส = 21 ffff B −==Δ

ความถี่ลัพธของคลืน่สองขบวนเปนคาความถี่เฉลี่ย(ที่เราไดยิน)

221 fff +

=ความถี่เฉลี่ย

Page 15: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

รูป แสดงการแทรกสอดของเสียงที่มีความถี่ไมเทากัน

Page 16: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

รูป การเกิดบีตส

Page 17: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

คนปกติไดยินเสียงครั้งหนึ่งนานประมาณ 0.1 วนิาทีดังนั้นใน 1 วินาที ไดยินเสียงนานมากที่สดุเพียง 10 ครั้ง

นั่นคือความถี่บตีสสูงสุดที่มนุษยฟงไดไมเกนิ 10 ครั้ง/วินาที ถาเกนิ 10 ครั้ง/วินาที จะไมไดยินเสียงดังและคอยสลับกนัโดยที่จะไดยินเสยีงกลมกลืนกันไป

Page 18: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

ตัวอยาง 1 เมื่อเคาะสอมเสียงสองอันพรอม ๆ กัน เกิดเสียงบีตส 5 Hz ถาสอมเสียงอันหนึ่งมีความถี่ 300 Hz เมื่อนําดินน้ํามันมาติดสอมเสียงนี้ใหแนน แลวเคาะใหมพรอม ๆ กันอีก พบวาเกิดความถี่บีตสลดลงเหลือ 2 Hz จงหาความถี่ของสอมเสียงทั้งสองอันนี้และความถี่ของสอมเสียงขณะติดดินน้ํามัน

วิธีทํา สมมติใหสอมเสียงอันที่ 1 ขณะไมติดดิ้นน้ํามันมีความถี่ = f1ขณะติดดินน้ํามันมีความถี่ = f1

/

เมื่อนํามาติดดินน้ํามันแลวจะทําใหความถี่บีตสลดลงแสดงวา

21 ff ⟩ตอนที่ 1 ไมติดดินน้ํามัน f1 = 300 Hz , fB = 5 Hz , f2 = ?

จาก 21 fffB −=

5 = 300 - f2

f2 = 300 – 5 = 295 Hz

Page 19: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

ตอนที่ 2 ติดดินน้ํามัน f2= 295 Hz , fB = 2 Hz , f

1/ = ?

ตอบ ความถี่ของสอมเสียงอันที่ 2 = 295 Hz

ความถี่ของสอมเสียงอันที่ติดดินน้ํามัน = 297 Hz หรือ 293 Hz

หรือ จาก fB= f2- f1/

2 = 295 - f1/

f1/ = 293

Hz

จาก fB= f

1/ - f

2

2 = f1/ - 295

f1/ = 297 Hz

Page 20: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

ตัวอยาง 2 จะตองเคาะสอมเสียงที่มคีวามถี่ 600 เฮิรตซ พรอมกับสอมเสียงที่มีความถี่เทาไร จึงจะทําใหเกิดเสียงดังเปนจังหวะหางกันทุก 0.5 วินาที

วิธีทํา เวลา 0.5 วินาที เกิดเสียงดังเปนจังหวะ 1 ครั้ง

เวลา 1 วินาที เกิดเสียงดังเปนจังหวะ 25.0

1= ครั้ง

ดังนั้น ความถี่บีตส HzfB 2=ให f

1= 600 Hz , f

2= ?

Page 21: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

ดังนั้น จะตองเคาะสอมเสียงที่มคีวามถี่ 600 Hz พรอมกับสอมเสียงที่มี

ความถี่ 598 Hz หรอื 602 Hz

หรือ fB= f

2- f1

2 = f1- 600

f1= 602 Hz

จาก fB= f

1- f2

2 = 600 - f2

f2= 598 Hz

Page 22: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

คลืน่นิ่งของเสียงคลืน่นิ่งของเสียง เปนปรากฎการณการแทรกสอดที่เกดิจากการซอนทับ

ระหวางคลืน่สองเสียงขบวนที่เคลื่อนที่สวนทางกันโดยคลืน่

ทั้งสอง มีความถี่ ความยาวคลืน่และแอมพลิจดูเทากัน เกดิการรวมกนัของคลืน่เกดิตําแหนงบพัและปฏิบัพคงที่

รูป แสดงความดัน(P)และ

การกระจัด(x)ของคลื่นนิ่ง

ซึ่งมีเฟสตางกัน 90°

Page 23: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

การสะทอนของเสียงการสะทอนของเสียง

เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่กระทบสิ่งกีดขวาง หรือเคลื่อนที่ไป

กระทบตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวาหรือเคลื่อนที่ผานตัวกลาง

ชนิดเดียวกันแตอุณหภูมิตางกัน

โดยขนาดของวัตถุหรือตัวกลางนั้น ๆ ตองมีขนาดเทากับหรือ

โตกวาความยาวคลื่น จะเกิดการสะทอนของเสียงตามกฎการ

สะทอนของคลื่น และมีมุมตกกระทบเทากับมมุสะทอน

)( λ≥d

λ≥d λ≥d

Page 24: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

ตามปกติเมื่อมคีลื่นเสียงมากระทบเยื่อแกวหู เยื่อแกวหูจะ

สั่นสะเทือนและประสาทหูจะจําเสียงนั้นไดนาน 0.1 วินาที

ถามีเสียงไปกระทบวัตถุแลวสะทอนกลับมาใชเวลามากกวาหรือ

เทากับ 0.1 วนิาที แลวประสาทหูก็จะแยกเสียงนั้นได เรียกเสียงสะทอนที่มาเขาหูวาเสียงกอง (Echo)

Page 25: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

ตวัอยางเชนที่อุณหภูมิ 20°C ระยะหางที่ทําใหเกิดเสียงกองหา

ไดดังนี้ 2S = vt ,

mxvs 05.172

)206.0331(1.021.0

=+

==

ถาอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ระยะหางจะเปน

mxvs 55.162

)06.0331(1.021.0

=+

==

Page 26: 07 Sound velocity - mwit.ac.thอัตราเร ็วเสียง (The Speed of Sound) เสียงเป นคล ื่นตามยาวท ี่ต องใช

อัมพร บุญญาสถิตสถาพร โรงเรยีนมหิดลวิทยานสุรณ

จากการศึกษาพบวาการเกิดเสียงสะทอนที่เรียกวาเสียงกองนี้ ทําให

สามารถนําผลการสะทอนของเสียงไปใชประโยชนไดมากมาย เชย

- ใชหาระยะหางระหวางหนาผา

- การออกแบบหองประชุมไมใหเกิดเสียงกอง- การสรางเครื่องโซนาร ใชตรวจสอบระยะในน้ํา หาฝูงปลา หรือสิ่งกีดขวางตาง ๆ ได

- ใชคลื่นเหนือเสียง ทําใหเกิดการสะทอนสามารถตรวจสอบความไมปกติของเนื้อเยื่อตาง ๆ ในรางกาย การตรวจมะเร็ง ตรวจสอบทารกในครรภ การฆาเชื้อโรค การทําความสะอาดภาชนะ

)000,20( Hzf ⟩