Top Banner
212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 1 ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร .เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ การเขียนแบบสั่งงาน (Working Drawings) แบบสั่งงาน (Working Drawings) หมายถึง แบบ (drawing, plan) หรือ พิมพเขียว (blueprint) ที่เขียน ขึ้นมาเพื่อแสดงความสัมพันธของชิ้นงาน (parts) ที่ประกอบกันขึ้นเปนเครื่องจักร สวนของเครื่องจักร หรือ ระบบใดระบบหนึ่ง โดยแสดงใหเห็นวา ชิ้นสวน หรือเครื่องจักรมีลักษณะรูปรางอยางไร ประกอบกันอยู อยางไร หรือชิ้นสวนหนึ่งประกอบดวยชิ้นสวนยอยกี่ชิ้น ชิ้นไหนประกอบอยูตําแหนงใด เพื่อใหชางกลโรงงาน หรือผูผลิตสามารถผลิตชิ้นสวน หรือเครื่องจักรไดอยางถูกตอง แบบสั่งงานแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 1. แบบแสดงรายละเอียด (Detail Drawings) มีหนาที่แสดงรายละเอียดตางๆ ของแตละชิ้นสวน (individual parts) ในสวนประกอบใหญ (assembly) ชื่ออื่นๆ ที่ใชเรียกแบบแสดงรายละเอียด ไดแก แบบรายละเอียด แบบแยกชิ้น (ดูรูปที1) 2. แบบประกอบ (Assembly Drawings) มีหนาที่แสดงวาแตละชิ้นสวนมีความสัมพันธกันอยางไร ประกอบเขากันเปนสวนประกอบใหญ หรือผลิตภัณฑสุดทายไดอยางไร (ดูรูปที2) แบบแสดงรายละเอียด (Detail Drawings) แบบแสดงรายละเอียด ประกอบดวยรายละเอียดของชิ้นงานที่สําคัญ ที่จําเปนตองทราบ เมื่อตองการ สรางชิ้นงานนั้นขึ้นมา โดยทั่วไปนิยมเขียน 1 ชิ้นงานตอแบบ 1 แผน (monodetail, ดูรูปที3) แตในทางปฏิบัติเรา สามารถเขียนหลายๆ ชิ้นงาน (ที่มีความเกี่ยวของกัน) อยูในแบบแผนเดียวก็ได (multidetail, ดูรูปที่ 4) เพื่อเปน การประหยัดเวลาและคาใชจาย รายละเอียดตอไปนีควรจะมีอยูในแบบแสดงรายละเอียด 1. Shape Description หรือ รูปรางของชิ้นงาน โดยปกติจะนิยมเขียนแบบ Orthographic เหตุผลหนึ่ง คือ เพื่อใหเห็น true length ของชิ้นงาน สําหรับชิ้นสวนที่มีรายละเอียดภายในชิ้นงานมาก ทําใหเวลาเขียน ภาพฉาย จะมีเสนตัดกันเปนจํานวนมาก ก็อาจใชภาพตัดขวาง (sectional view) ชวยในการอธิบายได ในกรณีที่ใชโปรแกรม CAD เราสามารถใชภาพ 3 มิติ (3D Model) เพื่อชวยในการอธิบายรูปรางให ชัดเจนยิ่งขึ้น 2. Size Description หรือ การบอกขนาด (dimensioning) ใหระบุขนาดชิ้นงานโดยละเอียด เทาที่จําเปน 3. Notes หรือ บันทึกขอความ (ถึงชางในโรงงาน) ซึ่งอาจจะเปนคําอธิบายวาจะใชเครื่องมืออะไรในการ ทําชิ้นงานนีการเจาะรู ลักษณะของผิวชิ้นงานที่ตองการ คาพิกัดขนาดที่ยอมรับได และอื่นๆ 4. Title Block หรือ Title Strip หรือ กรอบชื่อแบบ จะประกอบไปดวย ชื่อของชิ้นงาน สถานที่เขียนแบบ หรือ บริษัทเจาของแบบ ชื่อผูเขียนแบบ มาตราสวน วันทีเลขที่แผน และอื่นๆ (ดูรูปที5) 5. Scale สเกล หรือ มาตราสวน ในการเลือกสเกล ปกติจะใช 1:1 เรียกวา สเกลเทา (full size) กรณีเขียน ในสเกลยอ ก็อาจใช 1:2 (half size), 1:4, 1:8, … หรือกรณีเขียนสเกลขยาย ก็สามารถใช 2:1 (double size), 4:1, 5:1, … เปนตน โดยทั่วไปเราจะใชเพียงมาตราสวนเดียวในหนึ่งหนากระดาษ ยกเวนจะมี note ชี้แจงสําหรับรูปที่ใชสเกลแตกตางจากรูปอื่นๆ ในหนากระดาษ
11

การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

Mar 29, 2018

Download

Documents

trandung
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 1

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

การเขียนแบบสั่งงาน (Working Drawings) แบบสั่งงาน (Working Drawings) หมายถึง แบบ (drawing, plan) หรือ พิมพเขียว (blueprint) ที่เขียนขึ้นมาเพื่อแสดงความสัมพันธของชิ้นงาน (parts) ที่ประกอบกันขึ้นเปนเคร่ืองจักร สวนของเครื่องจักร หรือ ระบบใดระบบหนึ่ง โดยแสดงใหเห็นวา ชิ้นสวน หรือเคร่ืองจักรมีลักษณะรูปรางอยางไร ประกอบกันอยูอยางไร หรือชิ้นสวนหนึ่งประกอบดวยชิ้นสวนยอยกี่ชิ้น ชิ้นไหนประกอบอยูตําแหนงใด เพื่อใหชางกลโรงงาน หรือผูผลิตสามารถผลิตชิ้นสวน หรือเคร่ืองจักรไดอยางถูกตอง แบบสั่งงานแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก

1. แบบแสดงรายละเอียด (Detail Drawings) มีหนาที่แสดงรายละเอียดตางๆ ของแตละชิ้นสวน (individual parts) ในสวนประกอบใหญ (assembly) ชื่ออ่ืนๆ ที่ใชเรียกแบบแสดงรายละเอียด ไดแก แบบรายละเอียด แบบแยกชิ้น (ดูรูปที่ 1)

2. แบบประกอบ (Assembly Drawings) มีหนาที่แสดงวาแตละชิ้นสวนมีความสัมพันธกันอยางไร ประกอบเขากันเปนสวนประกอบใหญ หรือผลิตภัณฑสุดทายไดอยางไร (ดูรูปที่ 2)

แบบแสดงรายละเอียด (Detail Drawings) แบบแสดงรายละเอียด ประกอบดวยรายละเอียดของชิ้นงานที่สําคัญ ที่จําเปนตองทราบ เมื่อตองการสรางชิ้นงานนั้นขึ้นมา โดยทั่วไปนิยมเขียน 1 ชิ้นงานตอแบบ 1 แผน (monodetail, ดูรูปที่ 3) แตในทางปฏิบัติเราสามารถเขียนหลายๆ ชิ้นงาน (ที่มีความเกี่ยวของกัน) อยูในแบบแผนเดียวก็ได (multidetail, ดูรูปที่ 4) เพื่อเปนการประหยัดเวลาและคาใชจาย รายละเอียดตอไปนี้ ควรจะมีอยูในแบบแสดงรายละเอียด

1. Shape Description หรือ รูปรางของชิ้นงาน โดยปกติจะนิยมเขียนแบบ Orthographic เหตุผลหนึ่ง คือ เพื่อใหเห็น true length ของชิ้นงาน สําหรับชิ้นสวนที่มีรายละเอียดภายในชิ้นงานมาก ทําใหเวลาเขียนภาพฉาย จะมีเสนตัดกันเปนจํานวนมาก ก็อาจใชภาพตัดขวาง (sectional view) ชวยในการอธิบายได ในกรณีที่ใชโปรแกรม CAD เราสามารถใชภาพ 3 มิติ (3D Model) เพื่อชวยในการอธิบายรูปรางใหชัดเจนยิ่งขึ้น

2. Size Description หรือ การบอกขนาด (dimensioning) ใหระบุขนาดชิ้นงานโดยละเอียด เทาที่จําเปน 3. Notes หรือ บันทึกขอความ (ถึงชางในโรงงาน) ซึ่งอาจจะเปนคําอธิบายวาจะใชเคร่ืองมืออะไรในการ

ทําชิ้นงานนี้ การเจาะรู ลักษณะของผิวชิ้นงานที่ตองการ คาพิกัดขนาดที่ยอมรับได และอ่ืนๆ 4. Title Block หรือ Title Strip หรือ กรอบชื่อแบบ จะประกอบไปดวย ชื่อของชิ้นงาน สถานที่เขียนแบบ

หรือ บริษัทเจาของแบบ ชื่อผูเขียนแบบ มาตราสวน วันที่ เลขที่แผน และอ่ืนๆ (ดูรูปที่ 5) 5. Scale สเกล หรือ มาตราสวน ในการเลือกสเกล ปกติจะใช 1:1 เรียกวา สเกลเทา (full size) กรณีเขียน

ในสเกลยอ ก็อาจใช 1:2 (half size), 1:4, 1:8, … หรือกรณีเขียนสเกลขยาย ก็สามารถใช 2:1 (double size), 4:1, 5:1, … เปนตน โดยทั่วไปเราจะใชเพียงมาตราสวนเดียวในหนึ่งหนากระดาษ ยกเวนจะมี note ชี้แจงสําหรับรูปที่ใชสเกลแตกตางจากรูปอ่ืนๆ ในหนากระดาษ

Page 2: การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 2

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

รูปที่ 1 A Detail Drawing

รูปที่ 2 An Assembly Drawing

Page 3: การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 3

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

รูปที่ 3 แบบแสดงรายละเอียดของชิ้นงานเดี่ยว (Monodetail)

Page 4: การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 4

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

รูปที่ 4 แบบแสดงรายละเอียดของชิ้นงานหลายชิ้น (Multi-detail)

Page 5: การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 5

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

รูปที่ 5 Title Block แบบตางๆ

ในการเขียนแบบชิ้นงานหนึ่งๆ จํานวนแบบแสดงรายละเอียดจะมากหรือนอยก็ขึ้นอยูกับความซับซอนของตัวชิ้นงานนั้นเอง เชน ในการเขียนแบบที่เปดกระปองแบบมือหมุน อาจจะมีแบบแสดงรายละเอียด 2 – 3 แผน แตในกรณีของการสรางยานอวกาศขึ้นมา 1 ลํา จะตองมีแบบแสดงรายละเอียดนับพันนับหมื่นแผน ในการเลือกมุมมอง หรือ วิว (view) ของชิ้นงานที่จะใชเปนวิวหลัก (main view) ในการเขียนภาพฉาย orthographic ซึ่งโดยทั่วไปก็คือ front view น้ัน จะตองเลือก view ที่เห็นรายละเอียดของชิ้นงานไดมากที่สุด ก็จะทําใหเราลดจํานวน view ที่จะตองเขียนอธิบายชิ้นงานลง ไมตองใชครบทั้ง 3 views (front, top, right) และไมตองใชวิวชวย (Auxiliary View) และจะสงผลใหจํานวนแผนของแบบที่จะตองเขียนหรือ hardcopy ที่จะตองทําขึ้นมีจํานวนนอยลงดวย แบบประกอบ (Assembly Drawings) แบบประกอบ จะมีขอมูลทุกอยางที่สําคัญ ที่ใชเวลาประกอบชิ้นงานแตละชิ้นเขาดวยกันจนเปนผลิตภัณฑสุดทาย แบบประกอบจะมีชื่อและรายละเอียดของชิ้นสวนทุกชิ้น และโดยสวนใหญจะสามารถอางอิง

Page 6: การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 6

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

ไปถึงแบบแสดงรายละเอียด ในกรณีที่ตองการขอมูลรายละเอียดที่มากขึ้นของแตละชิ้นงาน โดยทั่วไปแบบประกอบจะมีองคประกอบที่สําคัญดังตอไปนี้

1. แบบแสดงวาแตละชิ้นสวนมีความสัมพันธกันอยางไร ประกอบเขาดวยกันอยางไร 2. ตารางแสดงรายการชิ้นสวนและวัสดุ (a parts list and a bill of materials) 3. การบอกขนาดโดยรวม (overall size) อาจจะมีหรือไมมีก็ได เพราะเราสามารถดูขนาดโดยอางอิงจาก

แบบแสดงรายละเอียดได แบบประกอบ ยังแบงยอยออกเปนหลายประเภท เชน

- Layout Assembly Drawings เปนแบบที่เขียนขึ้นในชวงแรกของการออกแบบผลิตภัณฑใหม ในแบบจะแสดงสวนประกอบที่

สําคัญๆ โดยรวม - Outline Assembly Drawings

เปนแบบที่ใหรายละเอียดของผลิตภัณฑ บอกหนาที่การทํางานและขนาดของผลิตภัณฑ เปนแบบที่นิยมใชใน catalog สินคา

- Installation Assembly Drawings เปนแบบที่ใหขอมูลที่จําเปนสําหรับการติดต้ัง โดยเฉพาะสําหรับอุปกรณขนาดใหญ เปนแบบอีก

ชนิดหนึ่งที่นิยมใชใน catalog สินคา (ดูรูปที่ 6) - Diagram Assembly Drawings

เปนแบบที่อธิบายตําแหนง (location) ของเครื่องจักรอยางคราวๆ โดยพิจารณาจากลําดับของการทํางานของแตละเคร่ืองจักร แบบอาจจะเขียนเปนลายเสนสัญลักษณะแบบ 2 มิติ หรือ ในสมัยใหม เราสามารถใชโปรแกรม CAD เขียนเปนโมเดล 3 มิติ ก็จะทําใหเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น diagram assembly drawing จะพบมากในแบบกระบวนการผลิตของโรงงาน (processing line) และการเขียนแบบระบบ งานทอ (piping system, ดูรูปที่ 7 และ 8)

- Exploded Assembly Drawings เปนแบบแสดงการกระจายของสวนประกอบยอย เพื่อเปนแนวทางในการประกอบหรือบํารุงรักษา

(maintenance) มักพบในคูมือการใชงานของเครื่องจักร (ดูรูปที่ 10) - Subassembly Drawings

แบบประกอบยอย หรือ Subassembly Drawings จะใชก็ตอเมื่อชิ้นงานหรือผลิตภัณฑมีความซับซอนเกินกวาที่จะเขียนบรรยายใน แบบประกอบแผนเดียว ดังนั้น ความหมายของแบบประกอบยอยก็คือ แบบที่แสดงกลุมของชิ้นงานที่มีความสัมพันธกัน เมื่อประกอบเขาดวยกันแลว ก็เปรียบเสมือนเปนชิ้นสวนยอย 1 ชิ้นของสวนประกอบที่มีขนาดใหญ (full assembly) และมีความซับซอน เชน หัวจับดอกสวาน (drill chuck) ก็เปนสวนประกอบยอย (subassembly) ของ สวานไฟฟา

Page 7: การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 7

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

รูปที่ 6 แบบแสดง Installation Assembly Drawing

แบบประกอบจะมีจํานวนมากหรือนอย ก็ขึ้นอยูกับความซับซอนของผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑที่มีชิ้นสวนเพียงไมกี่ชิ้นประกอบกัน อาจตองการแบบประกอบ (assembly drawing or full assembly drawing) เพียง 1 แผน ก็เพียงพอ ในกรณีที่ผลิตภัณฑมีความซับซอนมากๆ อาจตองใชแบบประกอบยอย (subassembly drawing) หลายแผน และแบบประกอบชนิดอ่ืนๆ มาชวยในการอธิบาย ตารางแสดงรายการวัสดุ (Table of Bill of Materials) ตารางแสดงรายการวัสดุ หรือ บางครั้งก็เรียกวา Part List ในโปรแกรม SolidWorks จะเรียกตารางแสดงรายการวัสดุตามอักษรยอวา BOM Table หรือ ตาราง BOM โดยทั่วไปนิยมเขียน BOM Table ไวเหนือกรอบชื่อแบบ (Title Block) ในกรณีน้ีจะเขียนหัวตารางไวขางลางติดกับ Title Block แลวเขียนรายการตอๆ ไปตอขึ้นไปดานบน ซึ่งเวลาเขียนหมายเลขชิ้นงาน (part number) หมายเลขนอยกวาจะยูดานลาง (ดูรูปที่ 9)

ตารางแสดงรายการวัสดุ จะประกอบดวยสวนที่สําคัญดังตอไปนี้ 1. หมายเลขชิ้นสวน (Part Number) อาจใชเลข 1, 2, 3, … เปนตน 2. ชื่อชิ้นสวน (Name of Part) ใชเรียกขานชิ้นงาน สําหรับสื่อสารระหวางผูออกแบบกับผูที่เกี่ยวของ 3. วัสดุที่ใชทําชิ้นงาน (Material) บอกชนิดของวัสดุที่ใช นิยมใชตัวยอ หรืออางอิงตามมาตรฐาน 4. จํานวนที่ตองการ (Number Required) ระบุจํานวนใหชัดเจน ปองกันการวาดแบบซ้ําซอน 5. รายละเอียดอ่ืนๆ ตามที่ผูออกแบบตองการจะแจงใหผูใชงานหรือผูที่เกี่ยวของทราบ

Page 8: การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 8

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

รูปที่ 7 แบบแสดง Diagram Assembly Drawing (3D)

การโยงชี้และเขียนหมายเลขกํากับชิ้นสวน ในการเขียนหมายเลขกํากับชิ้นสวน นิยมเขียนตัวเลขขนาด 5 มม. ภายในวงกลมขนาดเล็ก ที่เรียกวาบอลลูน (balloon) ขนาดเสนผานศูนยกลาง 10 มม. หรือจะใชขนาดอื่นๆ ตามความเหมาะสม ตัวเลขในบอลลูนจะตรงกับหมายเลขชิ้นสวน (part number) ในตาราง BOM บอลลูนโดยปกติจะใชควบคูกับเสนชี้ ปลายดานหน่ึงของเสนชี้จะมีลูกศร (arrow head, leader) ชี้ไปยังชิ้นสวนที่เราอางถึง

Page 9: การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 9

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

รูปที่ 8 แบบแสดง Diagram Assembly Drawing (2D)

Page 10: การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 10

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

รูปที่ 9 Table of Bill of Materials แบบที่ไวเหนือ title block ตัวอยางของการใชเสนโยงชี้และบอลลูน ดูไดจากรูปที่ 10 ซึ่งเปนแบบ Exploded Assembly Drawing ของ Pizza Cutter (ที่ตัดพิซซา) ซึ่งเปนแบบฝกหัดการเขียนแบบ 3 มิติโดยใชโปรแกรม CAD ในชั้นเรียนนี้ ที่ตัดพิซซา ประกอบไปดวยชิ้นสวนยอย หรือ Parts ทั้งหมด 6 ชนิด/แบบ ที่แตกตางกัน และในแบบยังมี ตาราง-รายการวัสดุ (BOM Table) ที่สอดคลองกันอยูที่มุมบน-ขวา ของแบบ

ในบางกรณี เชน มีแบบ Assembly Drawing และ Detail Drawing เปนจํานวนมาก อาจไมสะดวกในการเปดหาแบบ เราจะเขียนเสนตรงแบงวงกลมบอลลูนออกเปน 2 สวน (บน-ลาง) เลขตัวบนจะแทน part number สวนเลขตัวลางจะบอกเลขที่แผน ของแบบแสดงรายละเอียดของชิ้นงานนั้น ในบางครั้งอาจพบสวนลางของบอลลูน ระบุตัวอักษร SL ซึ่งยอมาจาก Specification Listing หมายความวา จะมี spec. ของชิ้นสวนนี้พิมพแยกตางหาก ผูอานแบบอาจจําเปนตองไปเปดดูขอมูลเพิ่มเติมจาก Specification Listing น้ัน เชน Catalog จากโรงงานผูผลิต หรือ มาตรฐานอุตสาหกรรม Part/Item Number Part/Item Number Sheet Number Specification Listing

Divided Balloon with Sheet Number Divided Balloon with Specification Listing

10

3

11

SL

Page 11: การเขียนแบบส ั่งงาน (Working Drawings)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_working_drw.pdf · 212211 : การเขียนแบบเคร

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบสั่งงาน หนา 11

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

รูปที่ 10 แบบแสดง Exploded Assembly Drawing

เอกสารอางอิง

เอกสารประกอบการสอนวิชา 01208211 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร ม.เกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพฯ

Giesecke, F.E., A. Mitchell, H.C. Spencer, I.L. Hill, J.T. Dygdon and J.E. Novak. 2003. Technical Drawing, 12th Ed. Pearson Education, Inc., New Jersey, U.S.A.