Top Banner
212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 1 ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร .เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ การเขียนแบบระบบทอ (Drawing of Piping Systems) (Draft Version) ทอ หรือ แปบ มาจากภาษาอังกฤษ คือ pipe (หรือบางครั้งอาจไดยินคําวา tube ซึ่งนิยมเรียกทอที่มี เสนผานศูนยกลางขนาดเล็กๆ) คือ ชิ้นสวนที่มีลักษณะเปนทรงกระบอกกลวง ใชสําหรับลําเลียงของเหลว หรือแกส วัสดุที่นิยมใชทําทอ ไดแก อลูมิเนียม ทองเหลือง ทองแดง เหล็ก พลาสติก ยาง แกว และซีเมนต เปนตน [Note: ทอโลหะกลมขนาดใหญบางครั้งก็นํามาใชในงานโครงสราง เชน ใชเปนเสา (columns) หรือ หาก dia. ไมใหญมากก็ใชเปนราวจับหรือราวบันได (handrails)] ในการสรางโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งโรงงานผลิตอาหาร เมื่อมีการเดินระบบทอ ไมวาจะเปน ทอน้ํา ทอของเหลวอื่นๆ ทอลมของระบบ pneumatic หรือ ทอไอน้ํา (steam pipe) จะตองใช piping diagram ในการอธิบายการติดตั้ง นอกจากตัวทอแลวในระบบทอ (piping system) จะมีความเกี่ยวของกับ ขอตอทอ แบบตางๆ (pipe fittings) และอุปกรณสําหรับเปด-ปด (valves) ดวย ชนิดของทอ ชนิดของทอแบงตามวัสดุที่ใชทําทอ ที่จะกลาวถึงในที่นีแบงออกเปน 4 ประเภท คือ -ทอเหล็กเหนียว (Steel or Wrought-Iron or Ductile Iron Pipe) ทอเหล็กเหนียว นิยมใชเปนทอน้ํา ไอน้ํา น้ํามัน และแกส มีความหนา 3 ขนาด คือ แบบ standard, extra-strong และ double-extra-strong ขนาดทอมาตรฐาน (standard pipe) ที่ใชกันมาก มีตั้งแต ขนาด 1/8” จนถึง 6” กรณีของทอ extra-strong ก็มีตั้งแตขนาด 1/8” จนถึง 12” สวนทอ double-extra-strong จะมีแคขนาด 1/2" ถึง 8” การบอกขนาดของทอที่มีขนาดเล็กกวา 12” จะบอกเปน Nominal Inside Diameter ซึ่งกรณี ของทอ standard จะเล็กวา actual inside diameter แตกรณีของ extra-strong และ double-extra-strong จะ ใหญกวา สําหรับทอที่มีขนาดโตกวา 12” จะนิยมบอกขนาด Outside Diameter (หรือ O.D.) และความหนา ของผนังทอ (wall thickness) การบอกขนาดทอแบบหลังนียังสามารถใชบอกขนาดทอไดทั่วไปดวย เชน ทอ standard ขนาด 2” (ซึ่งมี O.D.=2-3/8” ผนังหนา=0.218”) สามารถเรียกอีกแบบหนึ่งไดวาทอ 2-3/8” x 0.218”
11

การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

Mar 26, 2018

Download

Documents

VuongNgoc
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 1

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

การเขียนแบบระบบทอ (Drawing of Piping Systems) (Draft Version)

ทอ หรือ แปบ มาจากภาษาอังกฤษ คือ pipe (หรือบางคร้ังอาจไดยินคําวา tube ซึ่งนิยมเรียกทอที่มีเสนผานศูนยกลางขนาดเล็กๆ) คือ ชิ้นสวนที่มีลักษณะเปนทรงกระบอกกลวง ใชสําหรับลําเลียงของเหลวหรือแกส วัสดุที่นิยมใชทําทอ ไดแก อลูมิเนียม ทองเหลือง ทองแดง เหล็ก พลาสติก ยาง แกว และซีเมนต เปนตน [Note: ทอโลหะกลมขนาดใหญบางครั้งก็นํามาใชในงานโครงสราง เชน ใชเปนเสา (columns) หรือ หาก dia. ไมใหญมากก็ใชเปนราวจับหรือราวบันได (handrails)]

ในการสรางโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งโรงงานผลิตอาหาร เมื่อมีการเดินระบบทอ ไมวาจะเปน ทอนํ้า ทอของเหลวอื่นๆ ทอลมของระบบ pneumatic หรือ ทอไอน้ํา (steam pipe) จะตองใช piping diagram ในการอธิบายการติดต้ัง นอกจากตัวทอแลวในระบบทอ (piping system) จะมีความเกี่ยวของกับ ขอตอทอแบบตางๆ (pipe fittings) และอุปกรณสําหรับเปด-ปด (valves) ดวย

ชนิดของทอ ชนิดของทอแบงตามวัสดุที่ใชทําทอ ที่จะกลาวถึงในที่น้ี แบงออกเปน 4 ประเภท คือ

-ทอเหล็กเหนียว (Steel or Wrought-Iron or Ductile Iron Pipe) ทอเหล็กเหนียว นิยมใชเปนทอนํ้า ไอน้ํา นํ้ามัน และแกส มีความหนา 3 ขนาด คือ แบบ standard, extra-strong และ double-extra-strong ขนาดทอมาตรฐาน (standard pipe) ที่ใชกันมาก มีต้ังแต ขนาด 1/8” จนถึง 6” กรณีของทอ extra-strong ก็มีต้ังแตขนาด 1/8” จนถึง 12” สวนทอ double-extra-strong จะมีแคขนาด 1/2" ถึง 8”

การบอกขนาดของทอที่มีขนาดเล็กกวา 12” จะบอกเปน Nominal Inside Diameter ซึ่งกรณีของทอ standard จะเล็กวา actual inside diameter แตกรณีของ extra-strong และ double-extra-strong จะใหญกวา สําหรับทอที่มีขนาดโตกวา 12” จะนิยมบอกขนาด Outside Diameter (หรือ O.D.) และความหนาของผนังทอ (wall thickness) การบอกขนาดทอแบบหลังนี้ ยังสามารถใชบอกขนาดทอไดทั่วไปดวย เชน ทอ standard ขนาด 2” (ซึ่งมี O.D.=2-3/8” ผนังหนา=0.218”) สามารถเรียกอีกแบบหนึ่งไดวาทอ 2-3/8” x 0.218”

Page 2: การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 2

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

-ทอเหล็กหลอ (Cast-Iron Pipe) เปนทอที่มีการใชงานมากอนทอเหล็กเหนียว เหล็กหลอเปนวัสดุมีความแข็งแรงสูง (high strength) คงรูปรางไดดี (rigid) ในอดีตนิยมใชเปนทอนํ้า ทอระบายน้ํา และอ่ืนๆ แตในปจจุบันถูกแทนที่ดวยทอเหล็กเหนียว (ductile iron pipe) เนื่องจากทอเหล็กเหนียวทนทานตอการแตกราวไดดีกวา -ทอทองเหลือง/ทองแดง (Brass and Copper Pipe) ในประเทศสหรัฐอเมริกาจะมีการใชทอทองแดงเปนทอนํ้า โดยจะพบในระบบทําน้ํารอนของบาน (hot water system) ในประเทศไทย จะพบทอทองแดงภายในเครื่องทําน้ําอุนที่ใชกันประจําบาน ใชเปนทอนํ้ายาเครื่องปรับอากาศ และของตูเย็น ขอดีของโลหะทองแดง หรือโลหะผสมของทองแดง ก็คือ การทนตอการกัดกรอน สามารถดัดโคงได -ทอพลาสติก (Non metal Pipe) ในปจจุบัน ทอพลาสติก 2 ชนิดใหญๆ คือ PVC และ HDPE ถูกนํามาใชงานแทนที่ทอที่ทําจากโลหะ อยางแพรหลาย ทอพลาสติกที่นํามาใชเปนทอสงน้ําสะอาด และของเหลวอ่ืนๆ เนื่องจากมีขอดี หลายประการ เชน มีราคาถูกกวา ทนตอการกัดกรอน บางชนิดสามารถดัดงอได อุปกรณในระบบทอ (pipe fittings) Pipe fittings หมายถึงขอตอชนิดตางๆ ในระบบทอ มีหนาที่เชื่อมตอทอที่มีความยาวตางๆ กัน ขนาดเดียวกันหรือตางกันก็ได ที่วางตัวอยูในแนวเดียวกัน หรืออยูคนละแนว เขาดวยกัน หรือทําใหมีทอแยกออกมาจากทอหลัก วัสดุที่ใชทําขอตอก็มีหลายชนิดเชนเดียวกับวัสดุที่ใชทําทอที่ไดกลาวในหัวขอที่แลว ขอตอที่ทําจากเหล็ก (ferrous fittings) จะเชื่อมตอดวยวิธีทําเกลียว เชื่อมไฟฟา และใชหนาแปลน สวนขอตอที่ไมใชเหล็ก (nonferrous fittings) จะเชื่อมตอดวย การทําเกลียว การบัดกรี การบานปาก (flared) หรือ ทากาว อุปกรณในระบบทอที่มีการตอแบบตางๆ ดูไดจาก Fig. 983, 984 และ 24-7 เราจะเห็นไดจากรูปดังกลาววา อุปกรณในระบบทอมีมากมายหลากหลายรูปแบบ แตเราพอจะจําแนกเปนกลุมยอยๆ เพื่อใหจํางาย ไดดังนี้ -กลุมขอตอ มีหนาที่คือ ตอเพื่อเพิ่มความยาวของระบบทอ เชน ขอตอตรง ยูเนียน -กลุมขอลด ใชสําหรับเปลี่ยนขนาดหนาตัด (dia.) ของทอ ไดแก ขอลดเหลี่ยม ขอลดกลม -กลุมทางแยก เชน 3 ทาง 4 ทาง -กลุมเปลี่ยนทิศทาง ไดแก ของอ 90 องศา ของอ 45 องศา เปนตน -กลุมวาลวเปด-ปด (Valves) มีหนาที่ปดกั้นของที่อยูในทอไมใหไหล หรือควบคุมการไหลตามปริมาณหรือในทิศทางที่ตองการ ตัวอยาง วาวล ไดแก (ดูรูปที่ 1 ประกอบ) -Globe valves -Check valves -Gate valves ภาษาไทยคือคําวา ประตูนํ้า -Ball valves

Page 3: การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 3

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

รูปที่ 1 ภาพตัดแสดงรายละเอียดภายในของวาวลชนิดตางๆ

Page 4: การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 4

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

การเรียกชื่ออุปกรณในระบบทอ (Name Convention for Pipe Fittings) หลักในการเรียกชื่ออุปกรณและขอตอแบบตางๆ ในระบบทอ มีดังนี้ (ดู Fig. 24-8 ประกอบ)

การตอทอ (Joints) การตอทอในปจจุบันที่นิยม มีทั้งหมด 5 แบบ

1. Bell and Spigot หรือ แบบสวม 2. Flanged หรือ แบบหนาแปลน 3. Screwed หรือ แบบเกลียว 4. Welded หรือ แบบเชื่อม 5. Soldered หรือ แบบบัดกรี

Page 5: การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 5

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

ระบบของเกลียวแปบ (Pipe Thread) ระบบเกลียวของแปป จะแบงออกเปน 2 ประเภท คือ -NPT (National Pipe Taper) หรือ เกลียวเตเปอร -NPS (National Pipe Straight) หรือ เกลียวตรง แตแปปน้ําโลหะในบานเรา ซึ่งก็คือ Galvanized Steel Pipe (เหล็กชุบสังกะสี) นิยมทําเกลียวแบบ NPT หรือภาษาไทย เรียกวา เกลียวเตเปอร ซึ่งมีลักษณะเรียวที่ปลาย สวนโคนเกลียวจะมี dia.ใหญกวา ซึ่งจะทําให เมื่อยิ่งขันเกลียวเขา ก็จะยิ่งแนน รูปสัญลักษณะของเกลียวเตเปอร แสดงดัง Fig. 773

Page 6: การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 6

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

การเขียนและอานแบบระบบทอ การเขียนแบบระบบทอ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ แบบ single-line drawing และ แบบ double-line drawing 1. การเขียนแบบทอแบบเสนคู เปนการเขียนที่มีลักษณะคลายของจริง ดังรูปที่ 2 การเขียนแบบลักษณะนี้จะสามารถอานแบบไดงาย แตจะเสียเวลาในการเขียนมาก ลักษณะงานที่เหมาะกับแบบประเภทนี้ สวนมากจะเปนพวกงานติดต้ังระบบทอที่ตองใชอุปกรณประกอบ (fittings) เปนจํานวนมาก หรือการตอเชื่อมทอกับอุปกรณขนาดใหญอยางอ่ืน เชน ปมน้ํา เคร่ือง Boiler เปนตน

รูปที่ 2 การเขียนแบบทอแบบเสนคู

2. การเขียนแบบทอแบบเสนเดี่ยว เปนการเขียนแบบโดยใชสัญลักษณตางๆ แทนของจริงทั้งหมด ซึ่งทําใหการเขียนแบบทําไดสะดวกและรวดเร็ว โดยที่ถาเปนทอก็เขียนเปนเสนตรงแทนโดยใชแทนในตําแหนงเสนผานศูนยกลางของทอ และพวกขอตอ วาลวตางๆ ก็ใชสัญลักษณแทน การเขียนแบบเสนเดียวสามารถเขียนไดทั้งภาพฉาย ภาพไอโซเมตริก ภาพออบลีก ในรูปที่ 3 เปนภาพฉายแบบเสนเดียว เขียนเพียงดานเดียว

รูปที่ 3 การเขียนแบบทอแบบเสนเดี่ยว

Page 7: การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 7

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

การเขียนแบบทอแบบภาพฉาย (Orthographic Piping Drawing) แบบภาพฉายในงานทอ เขียนไดทั้งแบบเสนเดี่ยว และเสนคู ดังรูปที่ 4 และ 5 เปนการเขียนแบบเสนคู และเสนเดี่ยว ของภาพฉาย 3 ดาน ตามลําดับ

รูปที่ 4 การเขียนแบบทอแบบภาพฉาย 3 ดาน (เสนคู)

รูปที่ 5 การเขียนแบบทอแบบภาพฉาย 3 ดาน (เสนเดี่ยว)

Page 8: การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 8

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

การเขียนแบบทอแบบภาพไอโซเมตริก และออบลีก แบบภาพไอโซเมตริกและออบลีกในงานทอ นิยมเขียนในแบบเสนเดี่ยว ดังรูปที่ 6

รูปที่ 6 การเขียนแบบทอ (a) แบบไอโซเมตริก และ (b) แบบออบลีก

a. b.

Page 9: การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 9

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

การเขียนแบบ development ของระบบทอ คําวา development ในการเขียนแบบ หมายถึง ภาพแผนคลี่ ฉะนั้นในการเขียนแบบ development ของระบบทอ เปนการเขียนเพื่อตองการหาความยาวของทอที่จะใชทั้งหมด เพื่อสะดวกในการคํานวณความยาวทอสําหรับจัดซื้อน้ันเอง ตัวอยางแบบ development ของระบบทอ แสดงดังรูปที่ 7

รูปที่ 7 การเขียนแบบ development ของระบบทอ

ในการเขียนแบบระบบทอที่ไมใหญโตมากนัก (small-scale drawing) เชน ในการเขียนแปลน

layout ของโรงงานขนาดเล็ก เรานิยมใชการเขียนแบบไดอะแกรม (diagram drawing) ซึง่หมายถึง การเขียนแบบทอแบบเสนเดี่ยว และมีการใชสัญลักษณแทนอุปกรณชนิดตางๆ เพื่อแสดงการติดต้ังหรือวางตัวของอุปกรณแตละชิ้น ภาพตอไปนี้เปนตัวอยางการเขียนแบบทอเสนเดี่ยว และแบบเสนคูที่สอดคลองกัน

แบบทอเสนคู

Page 10: การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 10

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

แบบทอเสนเดี่ยว (ที่สอดคลองกัน กับหนาที่แลว)

สัญลักษณในงานทอ (Piping Symbols) เพื่อใหการเขียนแบบสั่งงาน (working drawing) ของระบบทอแบบเสนเดี่ยว (Single-line Piping Drawing) เปนไปไดงาย จึงมีการจัดทําสัญลักษณแทนอุปกรณทอพื้นฐานไวเปนหมวดหมู (ดังตารางที่ 1)

Page 11: การเขียนแบบระบบท อ (Drawing of Piping Systems)pirun.ku.ac.th/~fengslj/02212211/211matl/ho_piping.pdf · การเขียนแบบระบบท

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 11

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

ตารางที่ 1