Top Banner
โครงการประยุกต์ใช้ดาวเทียมสาหรับการเฝ้าระวัง และระบบเตือนภัยดินถล่ม ภายใต้ความร่วมมือ องค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชีย แปซิฟิก สรุปผลการดาเนินโครงการ 16 ธันวาคม 2553 โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
27

โครงการ Apsco 53

May 28, 2015

Download

Technology

Sunt Uttayarath
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: โครงการ Apsco 53

โครงการประยุกต์ใชด้าวเทียมส าหรับการเฝ้าระวังและระบบเตือนภัยดนิถล่ม ภายใต้ความร่วมมือ

องค์การความร่วมมอืด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก

สรุปผลการด าเนินโครงการ16 ธันวาคม 2553

โดย

รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรงศ์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Page 2: โครงการ Apsco 53

บทน า วัตถุประสงค์ การด าเนินกิจกรรมด้านวิศวกรรมดินถล่ม การด าเนินกิจกรรมแนวทางการประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียม การคาดการณ์ปริมาณน้ าฝน การประเมินความสูง การประเมินสิ่งปกคลุมดิน

สรุป การให้บริการข้อมูลดาวเทียม SMMS และดาวเทียมอื่นๆ ภายใต้

โครงการแบ่งปันข้อมูลของ APSCO

Page 3: โครงการ Apsco 53

วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อพัฒนาความร่วมมือภายใต้ความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก ในการใช้ข้อมูลร่วมกัน (Spatial Data Sharing) ในการบริหารจัดการธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเพื่อประยุกต์ใช้ดาวเทียมส าหรับการเฝ้าระวังและระบบเตือนภัย

ศึกษาวิจัยการประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะดินถล่มในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อประโยชนใ์นการพัฒนาระบบแจ้งเตือนภัย

Page 4: โครงการ Apsco 53

ขอบเขตการด าเนินงานศึกษาแนวทางการประมวลผลข้อมูลดาวเทียมเพื่อสนับสนุนการจัดท าแบบจ าลองประเมินโอกาสการเกิดดินถล่ม• การประเมินปริมาณน้ าฝนจากข้อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา • การจัดท าข้อมูลความสูงของพื้นที่จากข้อมูล G-DEM

ศึกษาบัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์ มาประมวลผลสร้างเป็นแบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ (Model)• ส ารวจข้อมูลจากพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม อย่างน้อย 2 จุด เพื่อจ าแนกพื้นที่ที่มีโอกาศเกิด

ดินถล่ม• ศึกษาปัจจัยที่ใช้วิเคราะห์พื้นที่เส่ียงภัย เช่น พืชพรรฒ สภาพการใช้ดิน ลักษณะดิน

ความลาดชัน ปริมาณน้ าฝน รวมถึงใช้ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาประกอบใช้ในการวิเคราะห์พื้นที่เส่ียงต่อดินถล่ม

จัดสัมมนา/ฝึกอบรมเพื่อวิภาคงานศึกษาและถ่ายทอดความรู้งานวิจัย

Page 5: โครงการ Apsco 53

ผลการด าเนินกิจกรรมดา้นแนวทางการประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียม

จากการศึกษาด้านวิศวกรรมดินถล่มพบว่า ปริมาณน้ าฝนเป็นปัจจัยหลักที่สามารถกระตุ้นให้เกิดดินถล่ม และยังมีปัจจัยที่เกิดจากความลาดชันของพื้นที่อีกด้วย สามารถประเมินค่าปริมาณน้ าฝนที่คาดว่าจะตก (rainfall

estimate) จากข้อมูลดาวเทียม FY-2D/E โดยให้ค่าความแม่นย า R2

ในระดับที่น่าพอใจ (0.8-0.9 ขึ้นอยู่กับพื้นที่ศึกษา) สามารถน าข้อมูล G-DEM มาปรับใช้กับภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อ

จัดท าแผนที่ความสูงของพื้นที่ เพื่อน ามาจัดท าเป็นผลิตภัณฑ์ข้อมูลความชันของพื้นที่เสี่ยงภัยพพิบัติในอนาคต

Page 6: โครงการ Apsco 53

การคาดการณ์ปริมาณน้ าฝน ได้มีการศึกษาพฤติกรรมการเกิดปริมาณน้ าฝนในพื้นที่ภาคเหนือ

ตอนล่าง และข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยาและกรมชลประทาน มาช่วยในการเริ่มต้นสร้างสมการความสัมพันธ์ จ านวน 129 สถานี

มาตรวัดของกรมอุตุนิยมวิทยา มาตรวัดของกรมชลประทาน

Page 7: โครงการ Apsco 53

ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้คาดการณ์ปริมาณน้ าฝน (KU-MET)

Page 8: โครงการ Apsco 53

การคาดการณ์ปริมาณน้ าฝน

R2 ยังคงมีค่าต่ าเกินกว่าที่จะน าไปใช้ได้ เนื่องจาก ลักษณะของการเกิดฝนไม่ได้มีเพียงแบบเดียว

Page 9: โครงการ Apsco 53

การคาดการณ์ปริมาณน้ าฝน

อย่างไรก็ตามปริมาณฝนที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งไม่ได้เกิดจากเมฆประเภท Cumulonimbus (Cb) เพียงอย่างเดียว

แต่อาจเกิดจากเมฆที่อยู่ระดับต่ า ซึ่งมีอุณหภูมิยอดเมฆค่อนข้างสูง (มากกว่า 253 K) หรือที่เรียกกันว่าเมฆอุ่น (warm cloud) เช่น Stratocumulus

Page 10: โครงการ Apsco 53

ผลการคาดการณ์ปริมาณน้ าฝนที่เกิดจากเมฆ CUMULONIMBUS

Page 11: โครงการ Apsco 53

การใช้ข้อมูล G-DEM เพื่อจัดสร้างแผนที่ความสูง

ใช้ G-DEM ขนาดความละเอียด 30 เมตร มาประยุกต์ใช้ร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ด้วยซอฟต์แวร์ Global Mapper

ลักษณะความสูงจะอยู่ในช่วง 300-2,500 เมตรจากระดับน้ าทะเล และลักษณะของพื้นที่เป็นหุบเขา

Page 12: โครงการ Apsco 53

ผลการด าเนินงานด้านวิศวกรรมดินถล่ม

น าเสนอโดย ผศ.ดร. สุทธิศักดิ์ ศรลัมภ์ ในช่วงบ่าย

Page 13: โครงการ Apsco 53

สรุป การประเมินปริมาณน้ าฝน พบว่าไม่สามารถน าโมเดลที่มี

การศึกษาในอดีตมาใช้ประเมินปริมาณน้ าฝนได้ในทุกพื้นที่ จ าเป็นต้องมีการศึกษาลักษณะและพฤติกรรมของการเกิดฝน

ควบคู่กัน เพื่อให้เกิดความถูกต้องมากย่ิงขึ้น

การประเมินค่าความสูง เป็นการด าเนินการโดยใช้ข้อมูล G-DEM ซึ่งมีความเหมาะสมกับข้อมูลที่ใช้งาน ท าให้สามารถระบุความสูงของพ้ืนที่ และลักษณะภูมิประเทศใน

เบื้องต้น

Page 14: โครงการ Apsco 53

ตารางคุณลักษณะดาวเทียม HJ-1A/B/C ภายใต้องค์การ APSCO

Satellite Payload Band no.

Spectral range (µm)

Spatial resolution

(m) Swath (km)

Side looking

(o)

Repetition cycle (days)

Data rate (Mbps)

HJ-1A CCD camera

1 2 3 4

0.43-0.52 0.52-0.60 0.63-0.69 0.76-0.90

30 30 30 30

700 - 4 120

Hyperspectral Imager

115 0.45-0.95 100 50 ±30 4

HJ-1B

CCD camera

1 2 3 4

0.43-0.52 0.52-0.60 0.63-0.69 0.76-0.90

30 30 30 30

700 - 4

60

Infrared Multispectral

Camera

5 6 7 8

0.75-1.10 1.55-1.75 3.50-3.90 10.5-12.5

150 150 150 300

720 - 4

HJ-1C Synthetic

Aperture Radar (SAR)

1 S-band

20 (4 looks, scan mode)

5 (single look, strip

mode)

100/40 (scan/strip)

31/44.5 4 160x2 (8:3

compression)

Page 15: โครงการ Apsco 53

ตัวอย่างประยุกต์การใช้ข้อมูล SAR-การประเมินการเคลื่อนตัวของพื้นดินจากแผ่นดินไหว

Page 16: โครงการ Apsco 53

ตัวอย่างประยุกต์การใช้ข้อมูล SAR-การประเมินการเคลื่อนตัวของพื้นดินบริเวณภูเขาไฟเอทน่า อิตาลี

Page 17: โครงการ Apsco 53

ตัวอย่างประยุกต์การใช้ข้อมูล SAR-การประเมินการเคลื่อนตัวของโครงสร้างของดิน

Page 18: โครงการ Apsco 53

ศูนย์วิจัยและบริหารจัดการข้อมลูดาวเทียม

ให้บริการข้อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาและดาวเทียมส ารวจโลก ที่ผลิตภัณฑ์ระดับ 2 โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย (ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต) ปรับแก้ข้อมูลดาวเทียมในเชิงแสงและเชิงพื้นที่ ท าการวิจัยเพื่อจัดท าผลิตภัณฑ์จากข้อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา

และดาวเทียมส ารวจโลก (Optical/SAR) เช่น ประเมินพื้นที่เพาะปลูก พื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติดินถล่ม การตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของพ้ืนที่ ฯลฯ

ชั้น 9 อาคารวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์

Page 19: โครงการ Apsco 53

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์

Page 20: โครงการ Apsco 53
Page 21: โครงการ Apsco 53
Page 22: โครงการ Apsco 53
Page 23: โครงการ Apsco 53
Page 24: โครงการ Apsco 53
Page 25: โครงการ Apsco 53
Page 26: โครงการ Apsco 53
Page 27: โครงการ Apsco 53

Thank You for Your Attention

Question??

facebook.com/SMMSThailand