Top Banner
คีตะการ ดนตรี ล้านนา
23

คีตะการ ดนตรีล้านนา

Jul 23, 2015

Download

Art & Photos

Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: คีตะการ ดนตรีล้านนา

คตีะการ ดนตรีล้านนา

Page 2: คีตะการ ดนตรีล้านนา

ดนตรีล้านนา

   ดนตรีการล้านนามีมานานตามที่ปรากฏจาก หลักฐาน ในอดีตถึงปจัจุบนักล่าวถึงเครื่องดนตรี

บางประเภทอาจไม่มใีครเคยคิดว่าเป็น สิ่งที่อยู่ กับล้านนามาก่อน เชน่ จะเข้ แตรสังข์ และแคน

เครื่องดนตรีเหล่านีแ้พร่กระจายในแถบล้านนา และไทยมาชา้นาน จากการศึกษาหลักฐานทาง

ประวัติศาสตร์อาจจะกล่าวได้ว่าดนตรีล้านนาใน อดีตมักมี บทบาทที่โยงใยกับชีวิตความเป็นอยู่

และที่สำาคญัยังโยงใยกับศาสนาและกษัตริย์

Page 3: คีตะการ ดนตรีล้านนา

การดำารงอยู่คงต้องอาศัยปัจจัยสำาคญัอย่าง น้อย ๒ ประการได้แก่ แรงสนับสนุนสง่เสริม และ ความนิยม ซึ่งแรงสนบัสนุนส่งเสริมที่

ปรากฏชดัได้แก่ การจัดสอนฟ้อนรำาและดนตรี ในราชสำานกัอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ในระยะแรก

อาจสอนเฉพาะแบบราชสำานัก ต่อมามีการสง่เสริมการฟ้อนรำาและดนตรีพื้นบา้นเข้าไปด้วย

Page 4: คีตะการ ดนตรีล้านนา

โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยพระราชชายาเจ้า ดารารัศในรัชกาลที่ ๕ มีท่านทรงสนบัสนุนให้มี

การศึกษาดนตรีไทยภาคกลาง มโหรี ปี่พาทย์  เปน็ต้น สำาหรับ ดนตรีถึงแม้จะไม่มีหลักฐาน

อ้างอิงว่าทรงสง่เสริมเครื่อง ดนตรีล้านนาชนดิใดแต่พออนุมานหรือคาดเดาจากร่องรอยการแสดง

ที่หลงเหลือมาถึงปจัจุบนั เช่น ละครร้องเรื่อง น้อยใจยา น่าจะใชส้ะล้อและซึงเป็นหลัก การ

ฟ้อนเล็บ น่าจะใช้วงกลองตึ่งนง สว่นฟ้อนม่าน มุ้ยเชยีงตา ฟ้อนดาบ น่าจะเปน็วงปีพ่าทย์ (วง

เต่งถ้ิง) เปน็ต้น

Page 5: คีตะการ ดนตรีล้านนา

” ”เครื่องดนตรีประเภท ดีด

Page 6: คีตะการ ดนตรีล้านนา

1. พณิเปีย๊ะ / เปีย๊ะ1. เพยีะ ( “ ” อ่าน เปี๊ยะ ) และ ซงึ ในโคลงนริาศหริภญุชัย

เรียกซงึว่าติ่งเช่นเดียวกับทีช่าวไทใหญ่เรียก เพยีะ เป็นเครื่อง ดีดจำาพวกพิณ จัดเป็นเครื่องดนตรีทีเ่กา่แก่ชนดิหนึ่งของล้าน

นาและปรากฎการกล่าวถึงใน กาพยห์่อโคลง ของพระศรี มโหสถในสมยัอยุธยาด้วย มลีักษณะคล้ายพณินำ้าเต้าของภาค

อีสาน การเล่นเพยีะเทา่ทีพ่บนัน้สว่นมากเป็นการเล่นเด่ียว ไม่ ค่อยเล่นประสมวง และไมน่ยิมมกีารขับร้องประกอบ เนือ่งจาก

เสียงของเพยีะไมค่่อยดังนกั อาจมกีารช้อยโคลง ( “ อ่าน จ๊อ ” ยกะโลง ) ประกอบคือขับโคลงเป็นทำานองเสนาะ ส่วนเพลงที่

เล่นนัน้สามารถเล่นได้ทกุเพลงเทา่ที่เครื่องดนตรีอ่ืนๆ ในระดับ ชาวบ้านจะเล่นได้ เช่น เพลง จก ไหล ปุ๋มเป้ง เก้าปุ๋มป่ง

ปราสาทไหว ปราสาทกุด เงี้ยว พมา่ อ่ือ ฯลฯ

Page 7: คีตะการ ดนตรีล้านนา

พิณเปี๊ยะ / เปี๊ยะ

Page 8: คีตะการ ดนตรีล้านนา

2. ซึง2. ซึง บางท้องถิน่เรียกว่า ติ่ง มีลกัษณะคล้ายกระจับปี่หรือคลา้ย

พิณหรือซุงของภาคอสีาน หรือคล้ายกีตาร์ขนาดเลก็ ซึงประกอบด้วย กล่องเสียง มีคอยื่นออกไปและขึงสายซ่ึงเป็นต้นกำาเนิดเสียง จากปลาย

คอผ่านกลางกล่องเสียงไปยังขอบของกลอ่งเสียงอีกด้านหน่ึง อาจใช้ ไม้ทั้งท่อนทำาซึงทั้งกล่องเสียงและคอโดยเป็นไม้ช้ินเดียวกัน หรือ

คนละช้ินทำาแยกส่วนก็ได้ ตัวซึงมักจะใช้ไม้เน้ือออ่นหรือไม้สักทำาทั้ง แผ่นเพราะขุดเน้ือไม้ทำาเป็น กล่องเสียงได้ง่าย ความหนาของกล่อง

เสียงขึ้นอยู่กับชนิดของไม้ที่จะใช้ทำาและขนาดของซึงที่ต้องการซึงนับเป็นเครื่องดนตรีที่นักดนตรีเกือบทุกคนสามารถทำาขึ้นไว้

เล่นเองได้ และเป็นเครื่องดนตรีที่มีขายอย่างแพร่หลายแหล่งที่ทำาซึง ขายน้ันนอกจากจะเป็น กลุ่มนักดนตรีที่เล่นเป็นอาชีพจะรับทำาเม่ือมีคน

มาสั่งแล้ว ยังมีวางขายที่ตลาดกลางคืน ถนนช้างคลาน และที่บ่อสร้าง อำาเภอสันกำาแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น

Page 9: คีตะการ ดนตรีล้านนา

ซึง

Page 10: คีตะการ ดนตรีล้านนา

” ”เครื่องดนตรีประเภท สี

Page 11: คีตะการ ดนตรีล้านนา

เครื่องสายที่มีคันสี เสียงดนตรีจะเกิดจากการเสียดสี ระหว่างสายคันชกักับสายเส้นลวดทองเหลอืงที่ ขึงตึงอยู่

เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสีของล้านนา ได้แก่สะลอ้ สะล้อ อาจเรียกว่า ถะล้อ ธะล้อ หรือ ทะร้อ ซึ่งมีรูปศัพท์เดิม

“ ” จากภาษาขอมว่า ทฺรอ ซึ่งภาษาไทยกลางออกเสียงเป็น“ ” “ ” ซอ แต่ในโคลงนิราศหริภิญชัยว่า ธะล้อ เป็นเครื่องสายที่บรรเลงด้วยการใช้คันชักสีลงบนสายที่ขึงผ่านหน้า

กล่องเสียง มีรูปร่างใกล้เคียงกับซออู้ สะลอ้ม ี ๓ ขนาด ไดแ้ก ่

๑. สะลอ้เลก็ มี ๒ สาย๒. สะล้อกลาง มี ๒ สาย๓. สะล้อใหญ่ มี ๓ สาย มีวิธีการเล่นคล้ายซอสามสายแต่ไม่เอาคันชักไว้ระหว่างสาย

สะล้อ ที่นิยมบรรเลงคือสะล้อที่มี ๒ สาย ส่วนสะล้อ ๓ สาย ไม่ค่อยมีผู้นิยมเล่น เพราะเล่นยากกว่าสะลอ้ ๒ สาย

นอกจากใช้สะลอ้บรรเลงเดี่ยวแลว้ ยังนิยมใช้บรรเลงร่วมกบัวงดนตรีพื้นเมืองสะล้อ-ซึง

Page 12: คีตะการ ดนตรีล้านนา

สะล้อ

Page 13: คีตะการ ดนตรีล้านนา

” ”เครื่องตนตรีประเภท ตี

Page 14: คีตะการ ดนตรีล้านนา

กลองหลวง

1.  กลองหลวง หรือ กลองห้ามมาร รูปลักษณะเปน็กลองยาวคอดกลางปลายบานเป็น

ลำาโพง ยาวประมาณ 3.0-3.5 เมตร ขนาดหน้า กลองเสน้ผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 60-80 เซนติเมตร

ต้องวางบนล้อเกวียน ใช้คนลากหลายคน เวลา ตีต้องขึ้นนั่งคร่อมตีหรือยืนอยู่ด้านหน้ากลอง ใช้

มือขวาตีโดยมีผ้าพันมือทำาเปน็รูปกรวยแหลมให้ ผา้พันมือกระทบหน้ากลอง ใช้ตีเป็นสัญญาณ

วันพระ 8 คำ่า หรือ 15 คำ่า ในล้านนามีประเพณี การแข่งขันตีกลองหลวง ซึ่งนิยมกันมากในชว่ง

พ.ศ.2520 เปน็ต้นมา

Page 15: คีตะการ ดนตรีล้านนา

กลองหลวง

Page 16: คีตะการ ดนตรีล้านนา

กลองเต่งถิ้ง2. กลองเต ่งถ ิ้ง หร ือ กลองโปง่ปง้  เป็นก

ลองขึ้นหนังสองหน้า มีขาตั้ง ใช้ตีทั้งสองหน้า ลักษณะเดียวกับตะโพนไทยและตะโพนมอญ

“ ” “ ใชเ้ล่นประสมวง เต่งถ้ิง หรือ วง พาทย์” (วงปีพ่าทย์มอญ) และวงสะล้อ- ซึง (ดูเรื่องการประสมวงต่อไป) กลองชนิดนี้มีหลายขนาด มี

ตั้งแต่ขนาดหน้ากลองเส้นผา่ศูนย์กลาง 20-40 เซนติเมตร และความยาวของตัวกลองตั้งแต่ 45-

60 “ เซนติเมตร ถ้าเป็นขนาดเล็กบางทีก็เรียกว่า ” “ ”กลองโป่งปง้ หรือ กลองตัด

Page 17: คีตะการ ดนตรีล้านนา

กลองเต่งถิง้

Page 18: คีตะการ ดนตรีล้านนา

” ”เครื่องดนตรีประเภท เป่า

Page 19: คีตะการ ดนตรีล้านนา

ปี่จุม / ปี่ชุม  ปี่จุมมีทั้งหมด ๕ เลา คอื

๑. ปี่แม่ หรือ ปีเ่ค้า ( “ ” อ่าน ปีเ่ก๊า ) ทำาจากไม้ไผ่ สว่นโคนมีขนาดใหญ่ที่สุดของแต่ละชุม มีขนาด

เสน้ผ่าศูนย์กลางเกือบ ๒ เซนติเมตร ยาวไม่ตำ่า กว่า ๗๕ เซนติเมตร ปีแ่ม่มีเสยีงทุ้มตำ่า

๒. ปีก่ลาง ( “ ” อ่าน ปีก๋่าง ) มีขนาดรองลงไป ทำา จากไม้ไผช่่วงที่ถัดจากปี่แม่ลงไป มคีวามยาว

ประมาณ ๔ ส่วนใน ๕ สว่นของปีแ่ม่ ปี่กลางมีเสยีงสงูขึ้นมา

Page 20: คีตะการ ดนตรีล้านนา

๓. ปี่ก้อย มีขนาดเล็กถัดจากปี่กลางลงไป ทำาจากไม้ช่วง ท่ีถดัจากปี่กลางลงไป มีความยาวประมาณ ๓ ส่วน ใน ๔

ส่วนของปี่กลาง ปี่ก้อยมีเสียงสูงกว่าปี่กลาง๔. ปี่เลก็ เป็นปี่ท่ีทำาจากไม้ช่วงท่ีถัดจากปี่ก้อยลงไป มีความยาวเป็นครึ่งหนึ่งของปี่กลางและเส้นผ่าศูนยก์ลาง

ประมาณ ๑.๒-๑. ๔ เซนติเมตร ปี่เล็กเป็นปี่ท่ีมีเสียงสูงกว่าปี่ก้อย๕. ปี่ตัด เป็นปี่ท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดของชุม ซึง่เป็นปี่ท่ีเพิง่จะ

เพิม่มาภายหลัง ปัจจับันไม่ค่อยนิยมใช้เท่าใดนักเพราะเป็นปี่ท่ีเป่ายากท่ีสุดในชุม

Page 21: คีตะการ ดนตรีล้านนา

ปี่จุม

Page 22: คีตะการ ดนตรีล้านนา

ปี่แน แน เป็นเครื่องเป่าประเภทหนึง่บางครั้งถกูชาวบ้าน เรียกว่า ปี่แน พบว่ามีขายแม้กระทัง่ในตลาดของเมืองตาลี

มณฑลยูนนาน ประเทศจีน และอาจจะได้รับอทิธิพลมา จากพม่า ซ่ึงมีเครื่องดนตรีประเภทเดียวกันนี้อยู่ด้วย ลิน้

ของแนทำาด้วยใบลานหรอืใบตาล เป็นลิน้คู่ประกบกันอยู่ รอบๆ ท่อโลหะเลก็ๆ ทอ่นีเ้สียงเข้าไปในทอ่ไม้กลมยาวซ่ึง ค่อยๆ มีขนาดใหญ่ขึ้น ท่อไม้นีก้ลวงตลอดและรูภายใน ค่อยๆ โตขึ้นตามขนาดของไม้ด้วย รูที่เจาะบนทอ่ไม้เป็น

ระยะสำาหรับปิดเปิดด้วยนิ้วมือทัง้สองข้าง ซ่ึงมีจำานวน ๖ รู ปากลำาโพงทำาด้วยทองเหลอืง ผูเ้ป่าที่ชำานาญอาจใช้แน

ทำาเสียงใหไ้ด้อารมณ์ตา่งๆ หลายชนิด แน มี ๒ ขนาด คือ แนหลวง หรือแนใหญ่ มารูปร่าง

ลกัษณะขนาดและวิธีเลน่เหมือนกับปี่มอญ

Page 23: คีตะการ ดนตรีล้านนา

ปี่แน