Top Banner
. . ออ ออ . . อออออออ ออออออออออออ อออออออ ออออออออออออ อออออออออออออออออออ อออออออออออออออออออ อออออออออออออออออ อออออออออออออออออ ออออออออออออออออออ ออออออออออออออออออ บบบบบ 4 บบบบบบบบ(Leveling) Version 2 1 Slide บบบ บ.บบ.บบบบบบบ บบบบบ บบบบบบบ
112
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: บทที่ 4 การระดับ 2

ออ..ดรดร..ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ภาควชิาวศิวกรรมโยธาภาควชิาวศิวกรรมโยธาคณะวศิวกรรมศาสตร์คณะวศิวกรรมศาสตร์มหาวทิยาลัยขอนแก่นมหาวทิยาลัยขอนแก่น

บทท่ี 4การระดับ(Leveling)

Version 2

1Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 2: บทที่ 4 การระดับ 2

คำาสำาคัญและนิยามต่างๆ (Keywords and Its

Definitions)• แนวด่ิง (Vertical line) – แนวท่ีมทิีศทางตามแรงโน้ม

ถ่วงของโลก• แนวราบ (Horizontal line) - แนวท่ีต้ังฉากแนวด่ิง• พื้นผิวระดับ (Level surface) -• แนวระดับ (Level line) -• พื้นหลักฐานทางด่ิง (Vertical datum) -• ค่าระดับความสงู (Elevation) – ความสงูเหนือระดับอ้างอิง• ค่าต่างระดับ (Elevation difference) - ค่าต่างระดับ

ระหวา่งจุดสองจุด

2Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 3: บทที่ 4 การระดับ 2

มโนทัศน์ของการระดับ(Concept of Leveling)

ผิวโลกผิวโลก

แนวระดับแนวระดับ

พื้นหลักฐานอ้างอิงพื้นหลักฐานอ้างอิง**รทกรทก. = 0.000m. = 0.000m

แนวราบแนวราบ

แนวดิ่

งแน

วดิ่ง

แนวดิ

ง่แน

วดิง่

ค่าระดับที่จุด ค่าระดับที่จุด AA

ค่าระดับที่จุด ค่าระดับที่จุด BB

แนวราบแนวราบค่าต่างระดับ

ค่าต่างระดับ A-BA-B

**รทก รทก = = ระดับนำ้าทะเลปานกลางระดับนำ้าทะเลปานกลาง

แนวระดับแนวระดับ

ระนาบราบระนาบราบ

AA

BB

3Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 4: บทที่ 4 การระดับ 2

อุปกรณ์หลักที่ใชก้ารออกสนาม

4Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 5: บทที่ 4 การระดับ 2

อุปกรณ์ท่ีใชก้ารออกสนามอุปกรณ์ท่ีใชก้ารออกสนามอุปกรณ์หลักอุปกรณ์หลัก1 .1 .ขาต้ังกล้องขาต้ังกล้อง 1 1 อันอัน2.2. กล้องระดับ กล้องระดับ N-10 N-10 1 1 ตัว ตัว

((ต้องไมล่ืมบนัทึกหมายกล้องต้องไมล่ืมบนัทึกหมายกล้อง))1 .1 .ไมร้ะดับ ไมร้ะดับ (Staff)(Staff) 2 2 อันอัน2 .2 .ฐานรองไมร้ะดับ ฐานรองไมร้ะดับ (Foot plate)(Foot plate) 4 4 อันอันอุปกรณ์เสรมิอุปกรณ์เสรมิ3.3. แถบวดัระยะ แถบวดัระยะ (Tape)(Tape)4.4. ห่วงคะแนน ห่วงคะแนน (Pin)(Pin)

5Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 6: บทที่ 4 การระดับ 2

กล้องระดับและไมร้ะดับ

6Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 7: บทที่ 4 การระดับ 2

กล้องระดับ

• กล้องระดับสามารถใชห้าค่าต่างระดับระหวา่งจุดสองจุดท่ีต้องการ ได้ในระยะไมเ่กิน 140 เมตร โดยประมาณ

• การสอ่งกล้องไปยงัไมร้ะดับระยะท่ีเหมาะสมไมค่วรเกิน 70-90 เมตร

• หากตำาแหน่งของจุดทัง้สองอยูห่า่งกันมาก หรอืจุดทัง้สองมค่ีาต่างระดับกันมาก หรอืมสีิง่กีดขวางทำาใหไ้มส่ามารถตัง้กล้องระดับใหเ้หน็จุดทัง้สองได้

• ดังนัน้ จงึจำาเป็นต้องทำาการตัง้กล้องหลายครัง้ เพื่อทำาการถ่ายระดับจากจุดท่ีหน่ึงไปยงัจุดท่ีสองอยา่งต่อเน่ืองกันไป

7Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 8: บทที่ 4 การระดับ 2

ชนิดของกล้องระดับTypes of Surveying Levels

• Dumpy Level• Tilting Level• Automatic Level• Digital Level

8Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 9: บทที่ 4 การระดับ 2

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Figure 6.4 (p. 110)กล้องระดับดั้มป้ี Dumpy level (an old instrument). (Courtesy of Berger Instruments).

Page 10: บทที่ 4 การระดับ 2

10

Dumpy (Wye) Level

Page 11: บทที่ 4 การระดับ 2

11

Leveling a four (4) legged instrument

Left thumb rule

Page 12: บทที่ 4 การระดับ 2

องค์ประกอบพื้นฐานกล้องระดับ

ลำากล้องฉากรบัภาพเลนสต์า

แนวเล็ง

หลอดระดับฟองยาว

สกรูปรบัฐานกล้อง

ขาต้ังกล้องระดับ

เลนสว์ตัถุ

12Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 13: บทที่ 4 การระดับ 2

กล้องระดับ กล้องระดับ TiltingTilting

13Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 14: บทที่ 4 การระดับ 2

ปรบัโฟกัสปรบัโฟกัส

ปรบัทิศทางละเอียดปรบัทิศทางละเอียดTangent ScrewTangent Screw

ปรบัหลอดระดับปรบัหลอดระดับฟองยาวฟองยาวหรอืหลอดระดับหรอืหลอดระดับรูปตัวยูรูปตัวยู

เลนสใ์กล้ตาเลนสใ์กล้ตา

หลอดระดับฟองยาวหลอดระดับฟองยาวดหูลอดระดับฟองยาวดหูลอดระดับฟองยาว

กล้องระดับ กล้องระดับ TiltingTilting

14Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 15: บทที่ 4 การระดับ 2

สว่นประกอบกล้องระดับ NA2

15Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 16: บทที่ 4 การระดับ 2

Automatic Level

16Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 17: บทที่ 4 การระดับ 2

compensator

การปรบัปรซิมึแนวเล็งในกล้องระดับอัตโนมติั

• ทกุครัง้ที่มกีารปรบัหลอดระดับฟองกลมในอยูร่ะนาบราบอยา่งหยาบๆแล้ว• แล้วตัว Automatic Compensator ในกล้องระดับกล้องระดับอัตโนมติัอัตโนมติัจะปรบัแนวเล็งใหอ้ยูใ่นระนาบราบ (Horizontal Plane) เอง

17Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 18: บทที่ 4 การระดับ 2

การทำางานของ Automatic

Compensator

18Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 19: บทที่ 4 การระดับ 2

องค์ประกอบของกล้องระดับอัตโนมติั• Foot Screws คือ ปุ่มที่ฐานกล้องใชใ้นการปรบั

ระดับฟองกลม• Eye Piece Lens คือ เลนสต์าใชส้ำาหรบัปรบัภาพ

สายใยใหช้ดัเจน• Tangent Screw คือ ปุ่มปรบัเล่ือนการมองภาพให้

ตรงตำาแหน่งไมร้ะดับ• Focusing Screw คือ ปุ่มปรบัภาพไมร้ะดับให้

ชดัเจน

19Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 20: บทที่ 4 การระดับ 2

กล้องระดับอิเล็คทรอนิคสแ์ละไมร้ะดับบารโ์ค้ด

20Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 21: บทที่ 4 การระดับ 2

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Figure 6.6 (p. 111)DiNi total level station, which has electronic sensor for reading a bar code to determine elevations. (t can also be used for distance and angle measurement. (Courtesy of Carl Zeiss, Inc.)

Page 22: บทที่ 4 การระดับ 2

กล้องระดับอิเล็คทรอนิคส ์NAK3003

22Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 23: บทที่ 4 การระดับ 2

Leveling Rods(ไมs้taff)

23Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 24: บทที่ 4 การระดับ 2

(a) Telescopic staffs(b) A folding staff

(c) An one-piece invar staff

(d) A staff level

(e) Readings

on a staff

24Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 25: บทที่ 4 การระดับ 2

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Figure 6.7 (p. 112)Portion of bar code used with electronic digital level.

Leveling Rodsไมs้taff ติดบารโ์ค้ด

Page 26: บทที่ 4 การระดับ 2

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Figure 7.12 (p. 138)Hand signals.

Page 27: บทที่ 4 การระดับ 2

การอ่านค่าไมร้ะดับ

27Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 28: บทที่ 4 การระดับ 2

การอ่านไมs้taff 3 สายใย

28Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

U-L

C-L

U-C

Page 29: บทที่ 4 การระดับ 2

การขจดั Parallax ก่อนอ่านไมร้ะดับ1 .นักศึกษาต้องปรบัภาพสายใยให้ชดัเจนโดยหมุนเลนส์

ใกล้ตาก่อน 2 .แล้วจงึปรบัภาพไมร้ะดับให้ชดัโดยหมุนปุ่มปรบัภาพ

เพื่อขจดัการเกิดภาพเหลื่อม (Parallax)3 .ตรวจสอบการเกิดภาพเหล่ือม โดยการมองเล่ือนสายตา

ขึ้นลง และสงัเกตวา่ ภาพและสายใยเล่ือนออกจากกันหรอืไม ่ถ้าเล่ือนแสดงวา่ มกีารเกิดภาพเหล่ือม ใหป้รบัตามขอ้ 1 และ 2 ใหมอี่กครัง้

4.4. ก่อนอ่านค่าไมร้ะดับนักศึกษาต้องปรบัระดับหลอดระดับก่อนอ่านค่าไมร้ะดับนักศึกษาต้องปรบัระดับหลอดระดับยาวด้วย ยาวด้วย Tilting Screw Tilting Screw ก่อนทกุครัง้ ก่อนทกุครัง้ ((ปรบัหลอดระดับเขาปรบัหลอดระดับเขาควายควาย))

29Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 30: บทที่ 4 การระดับ 2

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Figure 7.9 (p. 132)Waving the rod.

กรณีท่ีไมร้ะดับกรณีท่ีไมร้ะดับไมไ่ด้ติดหลอดระดับฟองกลมไมไ่ด้ติดหลอดระดับฟองกลมใหส้งัเกตค่าไมร้ะดับที่อ่านได้น้อยท่ีสดุ โดยค่านัน้จะเป็นค่าที่อ่านได้ขณะไมร้ะดับตัง้อยูใ่นแนวดิ่งหรอืตัง้ฉากกับแนวเล็งพอดี

Page 31: บทที่ 4 การระดับ 2

Leveling

• Control Surveying– Differential Leveling

งานชัน้หนึ่ง งานชัน้สอง งานชัน้สาม และงานชัน้สี่– Trigonometric Leveling

งานชัน้ตำากวา่งานชัน้สี่• Detail Surveying

– Profile Leveling– Cross Section Leveling

31Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 32: บทที่ 4 การระดับ 2

Differential LevelingDifferential Leveling

BSBS

BS

BS

BSBS

FSFS

FS

FSFS

BM

TBM

TP1 TP2

TP3TP4

Control Survey Control Survey ทางด่ิงทางด่ิง

32Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 33: บทที่ 4 การระดับ 2

ชนิดของหมุดควบคมุ• Full Ground Control Point• Benchmark• Ground Control Point (GCP)

– GCP Triangulation– GCP GPS– GCP Astronomy

33Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 34: บทที่ 4 การระดับ 2

Profile และ Cross Section

BSBS

BS

BS

BSBS

FSFS

FS

FSFS

BM

TBM

TP1 TP2

TP3TP4

ISISISIS

ISISISIS

ISISISIS

ISIS

0+00

0

0+05

0

0+10

0

0+15

0

0+20

0

0+25

0

CL Profile Leveling

Profile LevelingX-Se

ction

X-Secti

on

Detail Survey Detail Survey ทางด่ิงทางด่ิง

34Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 35: บทที่ 4 การระดับ 2

BSBS

BS

BS

BSBS

FSFS

FS

FSFS

BM

TBM

TP1 TP2

TP3TP4

ISIS

ISIS

ISIS

IS

0+00

0

0+05

0

0+10

0

0+15

0

0+20

0

0+25

0

CL

Profile และ Cross Section (ต่อ)Detail Survey Detail Survey ทางด่ิงทางด่ิง

35Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 36: บทที่ 4 การระดับ 2

Definitions

• Benchmark (BM)• Temporary benchmark (TBM)• Turning point (TP)• Backsight (BS)• Height of instrument (HI)• Foresight (FS)• Intermediate sight (IS)

36Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 37: บทที่ 4 การระดับ 2

BM, TBM, BS, FS, TP และ Leveling

BSBS

BS

BS

BSBS

FSFS

FS

FSFS

BM

TBM

TP1 TP2

TP3TP4

Differential LevelingDifferential Leveling

37Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 38: บทที่ 4 การระดับ 2

BM, TBM, BS, FS, IS และ TP

BSBS

BS

BS

BSBS

FSFS

FS

FSFS

BM

TBM

TP1 TP2

TP3TP4

ISISISIS

ISISISIS

ISISISIS

ISIS

0+00

0

0+05

0

0+10

0

0+15

0

0+20

0

0+25

0

CL Profile Leveling

Profile LevelingX-Se

ction

X-Secti

on

38Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 39: บทที่ 4 การระดับ 2

การหาค่าระดับความสงูด้วยกล้องระดับ

39Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 40: บทที่ 4 การระดับ 2

Differential Leveling

40Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 41: บทที่ 4 การระดับ 2

41Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 42: บทที่ 4 การระดับ 2

42Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 43: บทที่ 4 การระดับ 2

การคำานวณ• ค่าแยง้จากการทำางาน = (|0.160|-|0.178|)

= 0.018 ม. = 18 มม.• ค่าแยง้ท่ียอมใหไ้ด้ตามชัน้งานระดับชัน้สาม = ±12mm(K)1/2

– 12 mm (1.24) 1/2 = 13.4• ค่าแยง้ท่ียอมใหไ้ด้ตามชัน้งานระดับชัน้สี ่= ±25mm(K)1/2

– 25 mm (1.24) 1/2 = 27.83• สำาหรบัเกณฑ์งานชัน้สาม – เกินค่าแยง้ท่ียอมใหไ้ด้ Reject• สำาหรบัเกณฑ์งานชัน้สี ่– ไมเ่กินค่าแยง้ท่ียอมใหไ้ด้ Accept

43Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 44: บทที่ 4 การระดับ 2

คำานวณค่าระดับที่จุด A• ค่าต่างระดับเฉล่ียจาก BM ไป A = (-0.160-

0.178)/2 = -0.169 ม.

• ค่าระดับที่จุด A = 10+(-0.169) = 9.831 ม.

44Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 45: บทที่ 4 การระดับ 2

สรุปการตรวจสอบงานระดับ Differential Leveling

45Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 46: บทที่ 4 การระดับ 2

ขอ้กำาหนดงานระดับ (FGCC Standard)

46Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 47: บทที่ 4 การระดับ 2

ขอ้กำาหนดงานระดับชัน้สาม

ตามมาตรฐานของ FGCC ได้กำาหนดกรรมวธิใีนการทำางานหาค่าต่างระดับ (Differential Leveling) พอสรุป เบื้องต้น ได้ดังนี้1 .ระยะตัง้กล้องถึงไมร้ะดับต้องไมเ่กิน 90 เมตร2. ค่าต่างระยะ BS และ FS ของการตัง้กล้องแต่ละครัง้ ไมเ่กิน 10 เมตร3. ค่าต่างระยะ BS และ FS ของการทำาระดับแต่ละเท่ียวไมเ่กิน 10 เมตร4. ค่าแยง้ของค่าต่างระดับไปและกลับไมเ่กิน ±12mm√K 47Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 48: บทที่ 4 การระดับ 2

ขอ้กำาหนดงานระดับชัน้สอง คลาสสอง

ตามมาตรฐานของ FGCC ได้กำาหนดกรรมวธิใีนการทำางานหาค่าต่างระดับ (Differential Leveling) พอสรุป เบื้องต้น ได้ดังนี้1 .ระยะตัง้กล้องถึงไมร้ะดับต้องไมเ่กิน 70 เมตร2 .ค่าต่างระยะ BS และ FS ของการตัง้กล้องแต่ละครัง้ ไมเ่กิน 10 เมตร3 .ค่าต่างระยะ BS และ FS ของการทำาระดับแต่ละเท่ียวไมเ่กิน 10 เมตร4 .ค่าแยง้ของค่าต่างระดับไปและกลับไมเ่กิน ±8mm√K5 .5 .ต้องใช้ต้องใช้ Invar StaffInvar Staff

48Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 49: บทที่ 4 การระดับ 2

ขอ้กำาหนดงานระดับชัน้สอง คลาสหนึ่ง

ตามมาตรฐานของ FGCC ได้กำาหนดกรรมวธิใีนการทำางานหาค่าต่างระดับ (Differential Leveling) พอสรุป เบื้องต้น ได้ดังนี้1 .ระยะตัง้กล้องถึงไมร้ะดับต้องไมเ่กิน 60 เมตร2 .ค่าต่างระยะ BS และ FS ของการตัง้กล้องแต่ละครัง้ ไมเ่กิน 5 เมตร3 .ค่าต่างระยะ BS และ FS ของการทำาระดับแต่ละเท่ียวไมเ่กิน 10 เมตร4 .ค่าแยง้ของค่าต่างระดับไปและกลับไมเ่กิน ±6mm√K5 .5 .ต้องใช้ต้องใช้ Invar StaffInvar Staff6. กล้องระดับTilting หรอื กล้องระดับอัตโนมติั พรอ้มด้วย Optical Micrometer หรอื กล้องระดับสามสายใย

49Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 50: บทที่ 4 การระดับ 2

ขอ้กำาหนดงานระดับชัน้หน่ึง คลาสหน่ึงและสอง

ตามมาตรฐานของ FGCC ได้กำาหนดกรรมวธิใีนการทำางานหาค่าต่างระดับ (Differential Leveling) พอสรุป เบื้องต้น ได้ดังน้ี1 .ระยะตัง้กล้องถึงไมร้ะดับต้อง

1 .ไมเ่กิน 50 เมตร สำาหรบัคลาสหน่ึง2. ไมเ่กิน 60 เมตร สำาหรบัคลาสสอง

2 .ค่าต่างระยะ BS และ FS ของการตัง้กล้องแต่ละครัง้ ไม่เกิน 5 เมตร3. ค่าต่างระยะ BS และ FS ของการทำาระดับแต่ละเท่ียวไม่เกิน 10 เมตร4. ค่าแยง้ของค่าต่างระดับไปและกลับไมเ่กิน

1 .±4mm√K สำาหรบัคลาสหนึ่ง (งานระดับครบวงจร)2 .±5mm√K สำาหรบัคลาสสอง (งานระดับครบวงจร)

5 .5 .ต้องใช้ต้องใช้ Invar StaffInvar Staff6. กล้องระดับTilting หรอื กล้องระดับอัตโนมติั พรอ้มด้วย พรอ้มด้วย Parallel Plate MicrometerParallel Plate Micrometer

50Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 51: บทที่ 4 การระดับ 2

การปรบัแก้งานระดับครบวงจรLevel Loop Adjustments

• ถ้าความเคล่ือนเคล่ือนบรรจบในการถ่ายระดับตำ่ากวา่เกณฑ์งานท่ีกำาหนด ใหท้ำาการถ่ายระดับ(leveling) ใหมอี่กครัง้

• แต่ถ้าความคลาดเคล่ือนบรรจบในการถ่ายระดับอยูเ่กณฑ์งานท่ียอมรบัได้ ใหก้ารคำานวณปรบัแก้โดยความคลาดเคล่ือนท่ีเกิดขึ้นจะมกีารกระจายตัวท่ีสอดคล้องกับระยะทางในการถ่ายระดับ (the distances leveled หรอื จำานวนครัง้ของการตัง้กล้องระดับ (or the number of instrument setups)

• ดังแสดงในตัวอยา่งถัดไป51Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 52: บทที่ 4 การระดับ 2

Level Loop Adjustment

52Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 53: บทที่ 4 การระดับ 2

การถือไมร้ะดับกลับหวัการถือไมร้ะดับกลับหวั (Inverted Staff(Inverted Staff)• กรณีท่ีต้องการหาค่าต่างระดับระหวา่งจุดสองจุด โดยท่ีจุดอ้างอิงอยูส่งู

กวา่แนวเล็ง เชน่ เพดาน หรอื ด้านล้างของสะพาน (underside of bridge) ใหก้ระทำาดังน้ี

• ถือไมs้taff กลับหวั โดยใหด้้านท่ีเป็น ”ศูนย”์สมัผัสสิง่จุดอ้างอิงท่ีต้องการหาค่าต่างระดับ และบนัทึกค่าท่ีอ่านได้พรอ้มติดเครื่องหมายลบ

53Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 54: บทที่ 4 การระดับ 2

Systematic Errors ในงานระดับ• สายกลางไมอ่ยูแ่นวระนาบราบ• แนวเล็งไมอ่ยูใ่นแนวระนาบราบ• ความโค้งของผิวโลก• การหกัเหของแสง

54Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 55: บทที่ 4 การระดับ 2

การวดัสอบสายใย

55Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 56: บทที่ 4 การระดับ 2

การตรวจสอบความคลาดเคล่ือนแนวเล็ง

56Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 57: บทที่ 4 การระดับ 2

Two Peg Test (ตรวจสอบแนวเล็งวา่อยูใ่นแนวราบหรอื

ไม?่)

2 2 1 1( ) ( )A B A BBS FS BS FSD

57Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 58: บทที่ 4 การระดับ 2

Collimation Error – Two Peg Test

Horizontal

Horizontal

Line of sight

A B

A B

Line of sight

Page 59: บทที่ 4 การระดับ 2

Collimation Error (a)• a เป็น + แสดงวา่ แนวเล็งเหนิหรอืเงยขึ้นจากแนวราบ• a เป็น – แสดงวา่ แนวเล็งกดลงจากแนวราบ• ถ้าค่า a มค่ีาเกินกวา่ 0.00005 เรเดียน หรอื 0.5 มม/10

เมตร คิดเป็น 10” ควรมกีารปรบัแก้แนวเล็งดังนี้– กล้องระดับ Tilting แนวเล็งโดยควงสกรูกระดก (Tilting Screw)

ใหก้ล้องเงยขึ้นหรอืกดลงจนกระทัง้อ่านไมร้ะดับท่ี A ได้เท่ากับ BS2-(D+10) a แล้วใช ้Capstan Screw ปรบัใหล้กูนำ้ามาอยูต่รงกลาง (นัน่คือ ปรบัใหล้กูนำ้าเป็นรูปตัว U โดย Capstan Screw)

– กล้องระดับ Automatic หรอืกล้อง Digital ใหส้ายใยราบจนกระทัง้ค่าอ่านไมร้ะดับท่ี A เท่ากับ BS2-(D+10) a

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 59

Page 60: บทที่ 4 การระดับ 2

Tilting Screw & Capstan Screwในกล้อง Tilting

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 60

Page 61: บทที่ 4 การระดับ 2

Tilting Screw ในกล้อง Tilting

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 61

Page 62: บทที่ 4 การระดับ 2

Two Peg Test (ต่อ)

62Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 63: บทที่ 4 การระดับ 2

Example• ในการตรวจสอบแนวเล็งของกล้องระดับ โดยวธี ี(AxBx) มผีล

การอ่านค่าไมร้ะดับในการตรวจสอบแนวเล็งของกล้อง ดังตารางด้านล่าง โดยระยะหา่งระหวา่งไมร้ะดับ (D) เป็น 60 เมตร

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 63

ตำาแหน่งจุดตั้งกล้อง ค่าไมร้ะดับ ท่ี A

ค่าไม้ระดับท่ี B

ตัง้กล้องตำาแหน่งท่ี 1 (A x B)

2.416 1.268

ตัง้กล้องตำาแหน่งท่ี 2 (A B x)

2.693 1.538• a = [(2.693-1.538)- 2.416-1.268]/60 = (1.155-1.148)/60

a = 0.00017 Rad = 24” (a เป็น + แสดงวา่แนวเล็งกล้องเหนิขึ้น)

a มค่ีามากกวา่เกณฑ์ 0.00005 Rad หรอื 10” จะต้องปรบัแก้แนวเล็งกล้องใหอ้ยูแ่นวราบ

Page 64: บทที่ 4 การระดับ 2

Example• นัน่คือ ต้องปรบัค่า Tilting จนกระทัง้เมื่อตัง้กล้องตำาแหน่งท่ี 2

อ่านค่าไมร้ะดับท่ีจุด A ได้ BS2-(D+10)x0.00017 = 2.693 – (60+10)x0.00017 = 2.693-0.008 = 2.685 ม.และอ่านค่าไมร้ะดับท่ีจุด B ได้ FS2 – 10x0.00017 = 1.538 – 10x 0.00017 = 1.538 – 0.001 = 1.537 ม.

ตรวจสอบผลต่างระดับ 2.685 – 1.537 = 1.148 ม. และDHtrue= BS1- FS1 = 2.416-1.268 = 1.148 ม. OK

• แล้วปรบั Capstan Screw จนกระทัง้หลอดระดับเขาควายมาบรรจบกันเป็นรูปตัว U

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 64

Page 65: บทที่ 4 การระดับ 2

ผลกระทบจากความโค้งของผิวโลก

65Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 66: บทที่ 4 การระดับ 2

ผลกระทบจากการหกัเหของแสง

66Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 67: บทที่ 4 การระดับ 2

Atmospheric Refraction

Horizontal Line

Line of sight (refracted)

Page 68: บทที่ 4 การระดับ 2

ผลกระทบจากความโค้งของผิวโลกและการหกัเหของแสง

• รวมสมการทั้งสองเขา้ด้วยกันจะได้วา่ รวมสมการทั้งสองเขา้ด้วยกันจะได้วา่ • HHcrcr = 0.0675K = 0.0675K22 (*(*เมื่อ เมื่อ K K เป็นระยะในหน่วย เป็นระยะในหน่วย

กมกม.).)• และเขยีนให้อยูใ่นรูปของระยะจากจุดตั้งกล้องถึงไมร้ะดับ ในและเขยีนให้อยูใ่นรูปของระยะจากจุดตั้งกล้องถึงไมร้ะดับ ใน

หน่วยเมตร จะได้วา่หน่วยเมตร จะได้วา่HHcrcr = CR (D/1000) = CR (D/1000)22

เมื่อ เมื่อ CR = 0.0675 CR = 0.0675 สำาหรบั สำาหรบั D D ในหน่วย เมตรในหน่วย เมตรCR = 0.0206 CR = 0.0206 สำาหรบั สำาหรบั D D ในหน่วย ฟุตในหน่วย ฟุต

68Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 69: บทที่ 4 การระดับ 2

รวมผลกระทบจาก Systematic Errors ในงานระดับ

• สำาหรบัการตัง้กล้องระดับครัง้เดียว (For an Individual Setup):

• สำาหรบักาตัง้ระดับเป็นชุด (For a Series of Setups):

2 21 2 2 1 2( ) ( ) ( )

(1000)CRh BS FS D D D D

2 2

2( ) ( ) ( )(1000)BS FS BS FS

CRh BS FS D D D D

69Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 70: บทที่ 4 การระดับ 2

การทำาระดับแบบสอบกลับ (Reciprocal Leveling)• ทำาระดับขา้มลำานำ้าหรอืขา้มหบุเขา + ไมส่ามารถตัง้กล้องระหวา่งกลางไม้

ระดับได้• จะทำาใหร้ะยะไมห้น้าและไมห้ลังต่างกันมาก • แนวเล็งท่ีมกีารสอ่งไกลๆจะมผีลของความโค้งของโลกและการหกัเห

ของแสงในชัน้บรรยากาศ• เพื่อกำาจดัความคลาดเคล่ือนต่างๆ ดังนัน้ จงึต้องจำาเป็นต้องตัง้กล้อง

ทัง้สองฝ่ังของลำานำ้าดังรูป

AB

70Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 71: บทที่ 4 การระดับ 2

AB

(1) (2)

• ตัง้กล้องท่ีจุดท่ี 1– BS1 = a1, FS1 = b1-e, DH1 = a1-(b1-e) = a1-b1+e

• ตัง้กล้องท่ีจุดท่ี 2– BS2 = a2-e, FS2 = b2, DH2 = (a2-e)-b2 = a2-e-b2

• ค่าเฉล่ีย = [(a1-b1+e)+(a2-e-b2)]/2=[(a1-b1)+(a2-b2)]/2

b1 b2a2

a1

ee

71Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 72: บทที่ 4 การระดับ 2

STA BS HI FS Elevation(1)A 0.875 10.875 10.000B 1.495 9.380

(2)A 1.805 11.805B 1.259 10.456

Elev_BMean (9.380+10.456)/2 = 9.963

AB

(1) (2)

72Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 73: บทที่ 4 การระดับ 2

การหาความไวหลอดระดับโดยวธิีสนามจากรูป

• s/D = EF/R = nd/R• R = Dnd/s• ค่ามุมของ 1 ชอ่ง (Radian)

= d/r= s/Dn• ความไวหลอดระดับ V”

= s/(Dn.Sin1”)= 206,265/Dn

เมื่อ n คือ จำานวนขดีฟองอากาศท่ีเคล่ือนไปd คือ ความยาวของ 1 ชอ่ง บนหลอด

ระดับ

u

uD

s

E F

C

R

73Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 74: บทที่ 4 การระดับ 2

Example• การทดสอบเพื่อหาความไวหลอดระดับได้ผลดังน้ี เมื่อฟองอากาศอยูใ่น

ตำาแหน่งหน่ึงอ่านค่าบนไมร้ะดับได้ 1.573 ม. เมื่อฟองอากาศเคล่ือนไป 5 ชอ่ง อ่านค่าบนไมร้ะดับได้ 1.609 ม. ระยะ 1 ชอ่ง เท่ากับ 2 มม. วางไม้ระดับหา่งจากกล้องเป็นระยะทาง 100 ม. จงหาค่ามุมซึ่งรองรบัด้วยระยะ 1 ชอ่งบนหลอดระดับ และความยาวของรศัมคีวามโค้งของหลอดระดับ

ฟองอากาศเคล่ือนไป 5 ชอ่ง ผลต่างของค่าไมร้ะดับ เป็น 1.609 – 1.573 = 0.036 ม.

เป็นมุม = (0.036x206,265)/100 = 74.26 ฟลิิปดาค่ามุมของ 1 ชอ่ง = 74.26/5 = 14.85 หรอื 15 ฟลิิปดารศัมคีวามโค้งของหลอดระดับเป็น (0.002x206,265)/15 = 27.5

ม.

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 74

Page 75: บทที่ 4 การระดับ 2

ความคลาดเคล่ือนแบบสุม่ในการระดับ(Random Error in Leveling)

• ความคลาดเคล่ือนในการอ่านค่า (Reading Error)

• ความคลาดเคล่ือนจากการระดับ (Leveling Error)

• ความคลาดเคล่ือนการถือไมร้ะดับ (Rod Leveling Error)

75Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 76: บทที่ 4 การระดับ 2

ความคลาดเคล่ือนในการอ่านค่า (Reading Error)

เมื่อ• sr แทน ความคลาดเคล่ือนในการถ่ายระดับท่ีเกิดจากการอ่าน• D แทน ระยะจากจุดตัง้กล้องไปยงัไมร้ะดับ• sr/D แทน ความคลาดเคล่ือนในการอ่านต่อระยะจุดตัง้กล้อง

ไปยงัไมร้ะดับ

/ 2r r DD N

76Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 77: บทที่ 4 การระดับ 2

ตัวอยา่งที่ 1• สมมติให ้ในการอ่านค่าไมร้ะดับแต่ละครัง้มค่ีาคลาด

เคล่ือนเป็น ±0.005ft/100ft ในการตัง้กล้องอ่านค่าไมร้ะดับแต่ละครัง้ยาวขาละยาวได้ถึง 50 m และในในการเดินระดับยาวครัง้น้ีเป็นระยะทางยาว 2500 m

• จงประมาณค่าคลาดเคล่ือนในการเดินระดับท่ีเกิดขึ้น?

77Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 78: บทที่ 4 การระดับ 2

เมื่อ• sl แทน ความคลาดเคล่ือนในการถ่ายระดับท่ีเกิดจากเครื่องมอืถ่าย

ระดับผิด(Instrument Misleveling)• sa แทน ค่าประมาณของการถ่ายระดับผิดของเครื่องมอื โดยจะเป็น

ค่าท่ีได้จากโรงงานซึ่งอยูใ่นขอ้บง่ชีท้างเทคนิค (Technical Specification) โดยจะบอกเป็นต่อระยะทางเชน่ ±1.5mm/km หรอืในหน่วยมุมเชน่ ± 0.3” ซึ่งโดยทัว่ไปค่าคลาดเคล่ือนนี้จะอยู่ระหวา่ง ± 0.1” ถึง ± 0.2” สำาหรบัเครื่องมคีวามละเอียดสงู และค่านี้อาจถึง ± 10” สำาหรบักล้องท่ีละเอียดน้อยลงมาก

• D แทน ระยะจากจุดตัง้กล้องไปยงัไมร้ะดับ

ความคลาดเคล่ือนจากการระดับ (Leveling Error)

2l D N

78Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 79: บทที่ 4 การระดับ 2

ตัวอยา่งที่ 2• สมมติให ้กล้องระดับอัตโนมติัมี compensator

accuracy สำาหรบังานระดับจำาเพาะ (particular level) เป็น ±1.5mm/km, หรอื ±0.3".

• ในการตัง้กล้องอ่านค่าไมร้ะดับแต่ละครัง้ยาวขาละยาวได้ถึง 50 m และในในการเดินระดับยาวครัง้น้ีเป็นระยะทางยาว 2500 m

• จงประมาณค่าคลาดเคล่ือนในการเดินระดับท่ีเกิดขึ้น?

79Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 80: บทที่ 4 การระดับ 2

ความคลาดเคล่ือนการถือไมร้ะดับ (Rod Leveling Error)

• โดยทัว่ไปแล้วคลาดเคล่ือนชนิดน้ีอาจเกิดได้น้อยมากหากมคีวามเครง่ครดัในการปฏิบติังานใหถ้กูต้องตามหลักวชิา เชน่– ตัง้ใจในการถือไมร้ะดับ– รกัษาระยะ Backsight และ

Foresight Distance ใหเ้ท่าๆกัน

2 ( )2LSEleve Sin

80Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 81: บทที่ 4 การระดับ 2

การประมาณความคลาดเคล่ือนในการถ่ายระดับ

• สำาหรบัการตัง้กล้อง N ครัง้ ด้วยระยะตัง้กล้องถึงไมร้ะดับ (Sight Distance) เท่าๆกันเป็นระยะ D

2 2/2 ( )h r DD N เมื่อ

• sr/D แทน ความคลาดเคล่ือนในการอ่านต่อระยะจุดตัง้กล้องไปยงัไมร้ะดับ

• sa แทน ค่าประมาณของการถ่ายระดับผิดของเครื่องมอื โดยจะเป็นค่าที่ได้จากโรงงานซึ่งอยูใ่นขอ้บง่ชีท้างเทคนิค (Technical Specification) 81Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 82: บทที่ 4 การระดับ 2

ตัวอยา่งที่ 3• ในการถ่ายระดับจาก BM A ไป BM B. มค่ีาคลาดเคล่ือน

จากการอ่านไมร้ะดับเป็น ±0.01 mm/m ค่าประมาณของการถ่ายระดับผิดของเครื่องมอื ±2" ในการตัง้กล้องอ่านค่าไมร้ะดับแต่ละครัง้ยาวขาละยาวได้ถึง 50 m สำาหรบัการตัง้กล้อง 10 ครัง้

• ค่าประมาณของค่าคลาดเคล่ือนในการหาค่าต่างระดับระหวา่งจุด A และ B เป็นเท่าใด?

82Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 83: บทที่ 4 การระดับ 2

Profile & X Section Levelingการหาค่าระดับตามยาวและตามขวาง

83Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 84: บทที่ 4 การระดับ 2

Profile & X Section Levelingการหาค่าระดับตามยาวและตามขวาง

BSBS

BS

BS

BSBS

FSFS

FS

FSFS

BM

TBM

TP1 TP2

TP3TP4

ISISISIS

ISISISIS

ISISISIS

ISIS

0+00

0

0+05

0

0+10

0

0+15

0

0+20

0

0+25

0

CL Profile Leveling

Profile LevelingX-Se

ction

X-Secti

on

84Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 85: บทที่ 4 การระดับ 2

Profile & X Section Levelingการหาค่าระดับตามยาวและตามขวาง

(ต่อ)BS

BS

BS

BS

BSBS

FSFS

FS

FSFS

BM

TBM

TP1 TP2

TP3TP4

ISIS

ISIS

ISIS

IS

0+00

0

0+05

0

0+10

0

0+15

0

0+20

0

0+25

0

CL

85Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 86: บทที่ 4 การระดับ 2

การสำารวจรูปตัดตามยาวแลรูปตัดตามขวาง

• Profile Leveling (การรงัวดัรูปตัดตามยาว)• Cross Section Leveling (การรงัวดัรูปตัดตาม

ขวาง)

86Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 87: บทที่ 4 การระดับ 2

การรงัวดัรูปตัดตามแนวยาว (Profile)

• ต้องมมีาตรฐานกำาหนดการตรวจสอบสำาหรบัการเดินระดับ เชน่

• งานชัน้ท่ีสาม กำาหนดไว ้ - 12+/ mm. √K หรอื• กำาหนดไวเ้ป็นอยา่งอ่ืน ได้แก่ - 25 mm. √K• การเดินระดับอ่านไมร้ะดับ 3 สายใย เพื่อใหท้ราบค่า

ระยะทาง K• การเดินระดับ 3 สายใยใหอ่้านละเอียดมลิลิเมตร• การอ่านค่าไมร้ะดับ IS อ่านสายใยกลางเพยีงสายใย

เดียว และอ่านละเอียดเพยีงเซนติเมตร87Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 88: บทที่ 4 การระดับ 2

การรงัวดัรูปตัดตามแนวยาว (Profile)

88Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 89: บทที่ 4 การระดับ 2

การรงัวดัรูปตัดตามยาว(Profile Leveling)

89Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 90: บทที่ 4 การระดับ 2

การเขยีนรูปตัดตามแนวยาว

90Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 91: บทที่ 4 การระดับ 2

การรงัวดัรูปตัดตามขวาง (Cross Section)

91Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 92: บทที่ 4 การระดับ 2

การรงัวดัรูปตัดตามขวาง (Cross Section)

• ใชว้ธิกีารเชน่เดียวกับการรงัวดัรูปตัดตามแนวยาว• ทิศทางการเดินระดับทิศทางเดียวกับระยะสถานี• หากทราบค่าระดับจุดตำาแหน่งจากงานรงัวดัรูปตัดตาม

แนวยาว สามารถใชเ้ป็นค่าไมร้ะดับหลังในการรงัวดัรูปตัดตามขวางได้

• การอ่านค่าไมร้ะดับ อ่านสายใยกลาง ละเอียดเพยีงเซนติเมตร

• สามารถรงัวดัรูปตัดตามแนวและตามขวางพรอ้มกัน หรอืแยกจากกันก็ได้

92Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 93: บทที่ 4 การระดับ 2

การรงัวดัรูปตัดตามขวาง

93Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 94: บทที่ 4 การระดับ 2

การเขยีนรูปตัดตามขวาง

94Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 95: บทที่ 4 การระดับ 2

Example of Profile Leveling

95Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 96: บทที่ 4 การระดับ 2

ตัวอยา่งการบนัทึกสมุดสนามงานProfile Leveling

96Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 97: บทที่ 4 การระดับ 2

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Figure 8.7 (p. 152)Profile leveling notes.

ตัวอยา่งการบนัทึกสมุดสนามงานProfile Leveling

Page 98: บทที่ 4 การระดับ 2

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Figure 8.8 (p. 154)Profile and trial grade lines.

Page 99: บทที่ 4 การระดับ 2

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Figure 8.9 (p. 155)Suggested locations for rod readings for cross-section levels.

Page 100: บทที่ 4 การระดับ 2

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Figure 8.11 (p. 156)Profile and cross-section notes.

ตัวอยา่งการบนัทึกสมุดสนามงานProfile & X-Section Leveling

Page 101: บทที่ 4 การระดับ 2

การนำาเสนอความแตกต่างทางความสงูของภมูปิระเทศ(Topographic Relief)

• Plan view• Profile view• Cross-section view

101Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 102: บทที่ 4 การระดับ 2

Topographic Relief

102Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์

Page 103: บทที่ 4 การระดับ 2

Trigonometric Levelingงานระดับตรโีกณมติิท่ีรงัวดัเฉพาะมุมดิ่งสถานีเดียว • ใชเ้มื่อไมส้ามารถใชก้ล้องระดับได้จะอาศัยการวดัมุมแทน• งานต่อการทำางานสนาม• ต้องมกีารปรบัแก้อันเน่ืองจากความโค้งของโลกและการหกัเห

ของแสงด้วย• ทำาใหโ้อกาสจะเกิดความคลาดเคล่ือนมากงานระดับตรโีกณมติิท่ีรงัวดัจาก 2 สถานี (Reciprocal

Observation)• เป็นการรงัวดัท่ีเพิม่งานมากขึ้น• แต่สามารถขจดัผลกระทบอันเน่ืองมาจากความโค้งของผิวโลก

และการหกัเหของแสงลงได้

Page 104: บทที่ 4 การระดับ 2

Concept of Trigonometric Leveling

• จากรูปสามเหล่ียม ได้วา่

H

SV

AB

C

HtanαV or SsinαV

Velev elev AC

Page 105: บทที่ 4 การระดับ 2

A

B

งานระดับตรโีกณมติิ Trigonometric Levelingทราบค่าระดับของจุด A ต้องการหาค่าระดับท่ีจุด B

จาก: V = S sin = h tan เมื่อ hi = AD และ r = BC

elevB = elevA + hi + V – rหรอื

elevB = elevA + hi + V – r – 67D/(1000)3

C

E

D

SV

hi

(คิด Refraction and Curvature Error)

Page 106: บทที่ 4 การระดับ 2

ตัวอยา่งที่ 4

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 106

a = 30o22’00”

Elev A = 361.297 m

S = 82.181 m

2 m

Elev B = ? m

A

B

hi = 1.578 mr = 2 m

a = 30o22’00”V = S Sin a

V = 82.181 Sin (- 30o22’00) m= - 45.199 m

1.578 m

ElevB = ElevA + hi + V – rElevB = 361.297+1.578 – 45.199 – 2 m

ElevB = 315.676 m

Page 107: บทที่ 4 การระดับ 2

Reciprocal Trigonometric Leveling (งานระดับตรโีกณมติิแบบสอบกลับ)

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 107

/ 2/ 2

2

2

( )2

(90 / 2)2

( )2

( / 2)2

tan( )2AB

BAC c rABD c rBAC ABD BAC

BAC

BC ACSin BAC Sin ABC

Sin BACBC ACSin ABC

SinBC AC

Sin c

SinBC AC

Cos c

h BC AC

A C

BD

SAB

a

b

r

r

c/2

c/290+c/2

c

Simplify

Page 108: บทที่ 4 การระดับ 2

Reciprocal Trigonometric Levelingงานระดับตรโีกณมติิแบบสอบกลับ (ต่อ)

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 108

hA

hB

A C

BD

SAB

a

b

r

r

c/2

c/290+c/2

c

ABα+βh = AC tan( )

2

aAB

hAC = (1+ ) SR

ABACh = tan α + tan β2

ABα+βh = AC ( )

2 180

Page 109: บทที่ 4 การระดับ 2

ตัวอยา่งที่ 5• การรงัวดัระดับตรโีกณมติิแบบสอบกลับ (Reciprocal

Trigonometric Leveling) ระหวา่งสถานี A และ B ซึ่งอยูห่า่งกัน 9.230 เมตร ได้ขอ้มูลดังน้ี – ท่ีสถานี A วดัมุมเงยไปยงัจุด B ได้ 00o00’10”– ท่ีสถานี B วดัมุมก้มไปยงัจุด A ได้ 00o02’44” – ความสงูของการตัง้กล้องทัง้สองสถานี 1.36 เมตร – ความสงูของเป้าทัง้สองสถานี 3.65 เมตร

• จงคำานวณหาค่าต่างระดับระหวา่งจุด A และ B กำาหนดใหร้ศัมคีวามโค้งของผิวโลกเป็น 6,367 กิโลเมตร

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 109

Page 110: บทที่ 4 การระดับ 2

ตัวอยา่งที่ 5 (ต่อ)

Solution• จากสตูร• ได้วา่

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 110

ABα+βh = AC tan( )

2

o o

AB00 00'10"+00 02'44"h = 9230 tan( ) = 2.897 m

2

Page 111: บทที่ 4 การระดับ 2

ผลการคำานวณด้วย Mathematica 7.0

Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์ 111

Page 112: บทที่ 4 การระดับ 2

จบบทที่ 4

112Slide โดย อ.ดร.ชาติชาย ไวยสรุะสงิห์