Top Banner
โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ ๒๕๓๕ ถึงปัจจุบัน โดย ศาสตราจารย์ ดร. เกษียร เตชะพีระ กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจําปี ๒๕๕๕ 27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 1
13

โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

May 28, 2015

Download

Education

Kan Yuenyong

โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ 2555 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2556 ที่ห้องประชุมสัญญา ธรรมศักดิ์ ตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ���จากพฤษภาฯ ๒๕๓๕ ถึงปัจจุบัน

โดย ศาสตราจารย์ ดร. เกษียร เตชะพีระ

กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจําปี ๒๕๕๕

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 1

Page 2: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

เกริ่นนํา •  ในโอกาส ๒๑ ป พฤษภาประชาธิปไตย ๒๕๓๕ และทามกลางกระแส

ความขัดแยงรุนแรงทางการเมืองเส้ือสีปจจุบัน ผมอยากทบทวนโจทย

ทางการเมืองและความพยายามหาคำตอบที่เปลี่ยนไปในรอบ ๒ ทศวรรษ

โดยฝายตาง ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในความขัดแยง โดยแบงหัวขอยอยเปน: Y

•  ๑) บริบทความคิดการเมืองหลังพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕Y

๒) โจทยใหญทางการเมืองของฝายเส้ือเหลืองและพันธมิตรY

๓) โจทยใหญทางการเมืองของฝายเส้ือแดงและแนวรวมY

๔) ปญหาความสัมพันธระหวางการเมืองกับศีลธรรมY

Y27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 2

Page 3: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

งานวิชาการที่บันดาลใจและเป็นฐานคิดข้อมูล

•  พัชราภา ตันตราจิน. ความคิดทางสังคมการเมืองของเสกสรรค ประเสริฐ

กุล. (๒๕๕๖)Y

•  อุเชนทร เชียงเสน. “ประวัติศาสตรการเมืองภาคประชาชน: ความคิดและ

ปฏิบัติการของ “นักกิจกรรมทางการเมือง” ในปจจุบัน.” (๒๕๕๖)Y

•  โครงการวิจัย “ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย” ของทีมอาจารยอภิชาต

สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตรกับคณะ (๒๕๕๓-๒๕๕๖)Y

•  Andrew Walker. Thailand’s Political Peasants: Power in the Modern

Rural Economy. (2012)Y

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 3

Page 4: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

๑) บริบทความคิดการเมืองหลังพฤษภาคม ๒๕๓๕  

การเมืองหลัง ๒๕๓๕/ เศรษฐกิจหลัง ๒๕๓๕/

วิกฤตY รัฐประหาร รสช. ๒๕๓๔ &

การลุกฮือพฤษภา ๒๕๓๕Y

วิกฤตตมยำกุง ก.ค. ๒๕๔๐ &

เงินกูพวงเง่ือนไข IMF Y

ปญหาY นักเลือกต้ัง/ระบอบเลือกต้ังธิปไตยY ทุนนิยมโลกาภิวัตนY

คำตอบY การเมืองภาคประชาชนY เศรษฐกิจทางเลือกชุมชน/พอเพียงY

ทักษิณY ประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่กินไดY ประชานิยมเพื่อทุนนิยมY

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 4

Page 5: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

๒) โจทย์ใหญ่ทางการเมืองของฝ่ายเสื้อเหลืองและพันธมิตร

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 5

Page 6: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

ความคิดของเสกสรรค์ในบริบทกระแสความคิดการเมืองปัจจุบัน  

•  อำนาจทุน: ทุนนิยมโลกาภิวัตน à sovereignty เส่ือม à nationalism เส่ือม à political consensus & consent เส่ือม = ความไรเสถียรภาพทางการเมืองเรื้อรังเพราะรัฐขาดพรองความชอบธรรม, ฉันทมติและฉันทานุมัติจากสังคมภาคสวนตาง ๆ นอกคูหาเลือกต้ังY

•  เหลืองเห็น แดงมองขาม นิติราษฎรจบแค มิ.ย. - ธ.ค. ๒๔๗๕ (อำนาจรัฐ, เครือขายอำมาตย) ไมข้ึนม.ค. - มี.ค. ๒๔๗๕ ดวยซ้ำ (เคาโครงเศรษฐกิจของ หลวงประดิษฐมนูธรรม ซ่ึงมีที่มาจากวิกฤตเศรษฐกิจทุนนิยมตกต่ำใหญทั่วโลก ค.ศ. ๑๙๒๙) ขณะที่อำนาจทุนโลกสำคัญข้ึนเรื่อย ๆ และเปนเนื้อเดียวกับอำนาจรัฐ (ดูตอนน้ำทวม)Y

•  แตวิธีแกของเหลืองคือเผด็จการทหารหรืออำนาจพิเศษของคนดีผูมีความเปนไทยมากกวา ซ่ึงไม work Y

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 6

Page 7: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

๓) โจทยใหญทางการเมืองของฝายเสื้อแดงและแนวรวม

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 7

Page 8: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

มุมมองต่อชนบทที่เปลี่ยนไป  ภาพเดิมกอนรัฐประหาร ๒๕๔๙/ ภาพใหมหลังรัฐประหาร ๒๕๔๙/

ชนบท = เกษตรY เกษตรเปนสวนรองที่ลดนอยถอยลงของเศรษฐกิจชนบทY

ชาวนายากจน ทำไดไมพอกินY ชาวนารายไดปานกลางผลิตภาพต่ำพยุงไวดวยเงินอุดหนุนจากรัฐ ปญหาหลักคือความ

เหลื่อมล้ำภายในและภายนอกมิติตาง ๆY

อยูภายใตระบบอุปถัมภY ดึงอำนาจภายนอก (ไมวาผี,รัฐ,ทุน,ชุมชน) มาตะลอมใชเพื่อดูดเอาทรัพยากร, ทุนและ

เทคโนโลยีมาเพิ่มผลิตภาพY

ขาดความรูการศึกษาY รอบรูโลกกวางผานเครือขายสายใยชาวบานนอกถิ่น (แรงงานอพยพไปทำงานตางถิ่น

แลวสงเงินกลับบาน)Y

ซ้ือสิทธ์ิขายเสียงY สังคมการเมืองชนบทที่ตอรองตะลอมกดดันอำนาจภายนอกและขัดแยงตรวจสอบถวง

ดุลกันภายในตามธรรมนูญชนบทY

การเมืองภาคประชาชนเปนทางออกY การเลือกต้ังระดับตาง ๆ เปนทางหลักในการตอรองกดดันชวงชิงนโยบายและ

ทรัพยากรจากรัฐ การเมืองภาคประชาชนเปนสวนนอยY

เศรษฐกิจพอเพียง/ชุมชนเปนทางเลือกY เศรษฐกิจการคาที่ดึงดูดปจจัยภายนอกมาเพิ่มผลิตภาพชวยใหประคองฐานะคนชั้น

กลางไวไดY27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 8

Page 9: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

จุดอับตันของสังคมการเมืองชนบท  1)  ในทางเศรษฐกิจ ภาวะรัฐโอบอุมอุดหนุนจุนเจือชาวนารายไดปานกลางผลิต

ภาพต่ำดังที่เปนอยูจะยั่งยืนยาวนานไดยาก มีขีดจำกัด รัฐจะกระเตงอุมเลี้ยง

ไขเลี้ยงตอยพวกเขาซ่ึงเปนประชากรสวนใหญในชนบทไปไดนานแคไหน?

ปญหาขาดทุนและเส่ียงสูงจากนโยบายจำนำขาวทุกเม็ดเปนตัวอยางY

2)  คานิยมธรรมนูญชนบทของสังคมการเมืองชนบทมีลักษณะคับแคบ เฉพาะ

สวน parochial และแตกตางตรงขามกับประชาสังคมอยางที่เปนอยู หากไม

ปรับเปลี่ยนคลี่คลายขยายตัว ก็ยากจะพาไปสูสังคมการเมืองรวมกันในระดับ

ชาติอันเปนที่รับไดของหลักการเมืองสากลสมัยใหม เชน ทาทีไมใสใจไยดี

เรื่องสิทธิมนุษยชนในกรณีฆาตัดตอนยาเสพติด เปนตนY

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 9

Page 10: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

๔) ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับศีลธรรม

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 10

Page 11: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

คําถามต่อธรรมวิทยาแห่งพลเมืองใหม่ ���ที่แยกสังคมการเมืองออกจากศีลธรรม  

•  ผูเขียนใชกรอบแนวคิดเรื่องธรรมวิทยาแหงพลเมือง (civic หรือ civil religion) ของ Robert Bellah เพื่อศึกษาความคิดซ่ึงอยูเบื้องหลังความขัดแยงทางการเมืองปจจุบันระหวางเส้ือเหลือง -เส้ือแดง โดยพบวาอุดมการณของพวกเส้ือแดงหลัก ๆ แลวเปนผลผลิตทางความคิดของนักประวัติศาสตร ซ่ึงปฏิเสธคานิยมแบบจารีตของไทยทั้งที่เปนคานิยมทางศีลธรรมและการเมือง ที่ผูกโยงอยางใกลชิดกับพุทธศาสนาและระบบกษัตริย เหลาประกาศกของธรรมวิทยาแหงพลเมืองใหมซ่ึงสวนใหญเปนนักประวัติศาสตรอาชีพชั้นนำของไทย เลือกที่จะทดแทนส่ิงเหลานี้ดวยตัวระบอบประชาธิปไตยที่เนนความเทาเทียมกัน ซ่ึงก็ตองอาศัยการดำรงอยูของ มวลมหาประชาชนผูลวงรูแจงและความแนนอนวาจะตองเกิดข้ึนของกระบวนการทางประวัติศาสตรอีกทีหนึ่งกอน ในขณะที่ความต่ืนตัวทางการเมืองและความใฝฝนในความเสมอภาค (ทั้งในแงของผลประโยชนและส่ิงอื่นใด) อาจถือไดวาเปนคุณสมบัติอยางหนึ่งของการเปน พลเมืองที่ดี แตเปนเรื่องไมงายนักที่จะเห็นวาธรรมวิทยาแหงพลเมืองที่ปราศจากเนื้อหาทาง ศาสนาหรือจริยธรรมเลยจะสามารถยึดโยงประชาชาติใดใหอยูดวยกันไดเปนเวลาที่นานพอ สังคมในอุดมคติที่ไมตองการสำนึกทางศีลธรรมนี้อาจเกิดข้ึนไดจริง แตจะเหมาะหรือไมกับการพัฒนาจิตวิญญาณของมนุษยเปนเรื่องที่ยังตองการคำตอบ[

สมบัติ จันทรวงศ, “ความแตกแยกของธรรมวิทยาแหงพลเมืองกับมุมมองทางปรัชญาการเมืองฯ”, ๒๕๕๕ Y

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 11

Page 12: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

วิจารณ์แห่งวิจารณ:์ ���

ปัญหาของสังคมการเมืองที่ถือลัทธิยึดศีลธรรมเป็นเจ้าเรือน  

•  “...คนชั่วที่แอบอางเปนคนไทย...” :

[ศีลธรรม+ชาตินิยม+การเมือง

วัฒนธรรม+กฎหมาย+ความเปน

พลเมือง+เอกลักษณชาติ]Y

•  Politics + Morality in a free

marketplace of moral ideas ✔ Y

•  Politics + Moralism esp. a self-

centered, coercive one ?

Y

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 12

“ตามรอยพระยุคลบาทกับการมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศของทหารอาชีพ”Y

อาคารรณภากาศ โรงเรียนนายเรืออากาศ เขตสายไหม กรุงเทพฯ ๓๑ ส.ค. ๒๕๔๙Y

Page 13: โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

วิจารณ์แห่งวิจารณ:์ ���

ปัญหาของสังคมการเมืองที่ถือลัทธิยึดศีลธรรมเป็นเจ้าเรือน  

•  Irreducible moral pluralism in the modern world Y

•  No free marketplace of moral ideas in Thai society Y

•  Moralizing pretensions of the political eliteY

•  Unchecked & unbalanced self-proclaimed arbiter of public morality/

Moral Thainess ISOY

•  The irresoluble contradiction between [the principle of “the end

justifies the means” à la politics] & [the principle of “the moral unity of

means and end” à la moral life]Y

27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 13