Top Banner
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 33 33 สรุปหลักกฎหมาย สัญญาจางทําของ (Hire of Work) บทที1. บทนํา ลักษณะของการจางนอกเหนือจากสัญญาสัญญาจางแรงงานแลว สัญญาจางทําของก็เปน การจางอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งถูกบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 เอกเทศสัญญา สัญญาจางทําของ (Hire of Work) มีลักษะเปนสัญญาตางตอบแทนเชนเดียวกับสัญญาจางแรงงาน แต มีความแตกตางกันในหลายลักษณะ ในการศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับสัญญาจางทําของ ผูศึกษาจะตอง พยายามทําความเขาใจและแยกความแตกตางของสัญญาจางทําของกับสัญญาอื่น ที่มีลักษณะ ใกลเคียงกับสัญญาจางทําของใหได ทั้งนี้เพราะบทบัญญัติที่นํามาปรับใชกับสัญญาแตละสัญญานั้น อาจมีความแตกตางกัน ทั้งในเรื่องของความสมบูรณของสัญญา สิทธิหนาที่ของคูสัญญา อายุความ เปนตน ตัวอยางเชน นายเอก โทรศัพทไปสั่งซื้ออิฐจากบริษัทโท จํากัด ซึ่งเปดบริษัทผลิตและขายอิฐ ซึ่งโดยทั่วไปจะผลิตอิฐมาตรฐานขาย แตนายเอกไดตกลงใหบริษัทโท จํากัด จัดทําอิฐชนิดพิเศษกวา อิฐทั่ว ไปโดยเปนอิฐทนไฟอยางดีและมีราคาสูงกวาปกติ ปญหาวา การทํานิติกรรมสัญญาดังกลาว เปนสัญญาอะไร หากพิจารณาจากถอยคําที่ใชอาจทําใหเขาใจวา เปนสัญญาซื้อขาย แตหากพิจารณาถึง ลักษณะของนิติสัมพันธดังกลาวแลวพบวาเปนสัญญาซึ่งถือเอาความสําเร็จของการทําอิฐชนิดพิเศษ เปนสําคัญ ดังนั้น จึงเปนสัญญาจางทําของ 1 1 คําพิพากษาฎีกาที6144/2539 การซื้อขายและการรับจางทําของตางกันที่การซื้อขายมุงถึงการ โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน สวนการรับจางทําของมุงถึงการงานที่ทําและผลสําเร็จของงานเปนสําคัญ ในการติดตอ สั่งทอผาระหวางจําเลยกับโจทกครั้งแรก ๆไดทําเปนสัญญาซื้อขายเปนหนังสือ ตอมาจึงสั่งทอดวยวาจาโดยขอตกลง ในการสงมอบผาและการชําระราคายังเปนไปตามที่เคยกําหนดไวในสัญญาซื้อขาย และในการทอผาตามที่จําเลยสั่ง โจทกจะไปแจงโรงงานทอผาของผูอื่นใหดําเนินการทอให โดยฝายจําเลยมิไดเขาไปควบคุมตรวจตราการทอผา และ เมื่อโจทกนําผาที่ทอเปนตัวอยางมาใหจําเลยดู และจําเลยพอใจสั่งใหดําเนินการทอแลวเมื่อโรงงานทอผาไดเริ่มทอ ในระหวางที่มีการทอผาจําเลยจะยกเลิกการทอผาไมได ซึ่งแสดงวาจําเลยไมมีโอกาสที่จะเขาตรวจสอบการทํางาน ของโจทกขณะที่มีการทอผาและไมมีอํานาจบอกเลิกสัญญาในระหวางที่มีการทอผา ดังนีนิติสัมพันธระหวางโจทก กับจําเลยที1 จึงเปนสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย เมื่อการสั่งทอทั้งไมไดมีหลักฐานการซื้อขายเปนหนังสือลงลายมือ ชื่อผูตองรับผิด หรือไดวางประจําไวหรือไดมีการชําระหนี้บางสวนแลว โจทกจึงฟองรองใหบังคับคดีแกจําเลย สําหรับผาที่มีการสั่งทอดังกลาวไมได พิจารณาเทียบกับ คําพิพากษาฎีกาที2537/2520 โจทกทําเสาไฟฟาคอนกรีตอัดแรงสงแกการไฟฟา นครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาค สัญญาที่โจทกทํากับการไฟฟาทั้งสองระบุวาเปนหนังสือสัญญาซื้อขาย ขอความในหนังสือสัญญาแสดงใหเห็นวาคูสัญญามีเจตนามุงจะใหมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยเพื่อตอบแทนการ
29

เอกเทศสัญญา 2-2

Nov 14, 2014

Download

Documents

api-3821739
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

33

33

สรุปหลักกฎหมาย สัญญาจางทําของ (Hire of Work)

บทท่ี 1. บทนํา ลักษณะของการจางนอกเหนือจากสัญญาสัญญาจางแรงงานแลว สัญญาจางทําของก็เปนการจางอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งถูกบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 เอกเทศสัญญา สัญญาจางทําของ (Hire of Work) มีลักษะเปนสัญญาตางตอบแทนเชนเดียวกับสัญญาจางแรงงาน แตมีความแตกตางกันในหลายลักษณะ ในการศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับสัญญาจางทําของ ผูศึกษาจะตองพยายามทําความเขาใจและแยกความแตกตางของสัญญาจางทําของกับสัญญาอื่น ๆ ที่มีลักษณะใกลเคียงกับสัญญาจางทําของใหได ทั้งนี้เพราะบทบัญญัติที่นํามาปรับใชกับสัญญาแตละสัญญานั้นอาจมีความแตกตางกัน ทั้งในเรื่องของความสมบูรณของสัญญา สิทธิหนาที่ของคูสัญญา อายุความ เปนตน ตัวอยางเชน นายเอก โทรศัพทไปสั่งซื้ออิฐจากบริษัทโท จํากัด ซ่ึงเปดบริษัทผลิตและขายอิฐ ซ่ึงโดยทั่วไปจะผลิตอิฐมาตรฐานขาย แตนายเอกไดตกลงใหบริษัทโท จํากัด จัดทําอิฐชนิดพิเศษกวาอิฐทั่ว ๆ ไปโดยเปนอิฐทนไฟอยางดีและมีราคาสูงกวาปกติ ปญหาวา การทํานิติกรรมสัญญาดังกลาวเปนสัญญาอะไร หากพิจารณาจากถอยคําที่ใชอาจทําใหเขาใจวา เปนสัญญาซื้อขาย แตหากพจิารณาถงึลักษณะของนิติสัมพันธดังกลาวแลวพบวาเปนสัญญาซึ่งถือเอาความสําเร็จของการทําอิฐชนิดพิเศษเปนสําคัญ ดังนั้น จึงเปนสัญญาจางทําของ1

1 คําพิพากษาฎีกาที่ 6144/2539 การซื้อขายและการรับจางทําของตางกันที่การซื้อขายมุงถึงการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน สวนการรับจางทําของมุงถึงการงานที่ทําและผลสําเร็จของงานเปนสําคัญ ในการติดตอสั่งทอผาระหวางจําเลยกับโจทกครั้งแรก ๆไดทําเปนสัญญาซื้อขายเปนหนังสือ ตอมาจึงสั่งทอดวยวาจาโดยขอตกลงในการสงมอบผาและการชําระราคายังเปนไปตามที่เคยกําหนดไวในสัญญาซื้อขาย และในการทอผาตามที่จําเลยสั่ง โจทกจะไปแจงโรงงานทอผาของผูอื่นใหดําเนินการทอให โดยฝายจําเลยมิไดเขาไปควบคุมตรวจตราการทอผา และเมื่อโจทกนําผาที่ทอเปนตัวอยางมาใหจําเลยดู และจําเลยพอใจสั่งใหดําเนินการทอแลวเมื่อโรงงานทอผาไดเริ่มทอ ในระหวางที่มีการทอผาจําเลยจะยกเลิกการทอผาไมได ซึ่งแสดงวาจําเลยไมมีโอกาสที่จะเขาตรวจสอบการทํางานของโจทกขณะที่มีการทอผาและไมมีอํานาจบอกเลิกสัญญาในระหวางที่มีการทอผา ดังนี้ นิติสัมพันธระหวางโจทกกับจําเลยที่ 1 จึงเปนสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย เมื่อการสั่งทอทั้งไมไดมีหลักฐานการซื้อขายเปนหนังสือลงลายมือช่ือผูตองรับผิด หรือไดวางประจําไวหรือไดมีการชําระหนี้บางสวนแลว โจทกจึงฟองรองใหบังคับคดีแกจําเลย สําหรับผาที่มีการสั่งทอดงักลาวไมได

พิจารณาเทียบกับ คําพิพากษาฎีกาที่ 2537/2520 โจทกทําเสาไฟฟาคอนกรีตอัดแรงสงแกการไฟฟานครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาค สัญญาที่โจทกทํากับการไฟฟาทั้งสองระบุวาเปนหนังสือสัญญาซื้อขาย ขอความในหนังสือสัญญาแสดงใหเห็นวาคูสัญญามีเจตนามุงจะใหมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยเพื่อตอบแทนการ

Page 2: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

34

34

บทท่ี 2. ความหมายและลักษณะสําคัญของสัญญาจางทําของ 2.1 ความหมาย “สัญญาจางทําของ” (Hire of Work) คือ สัญญาซึ่งประกอบดวยคูสัญญาสองฝาย ฝายหนึ่งเรียกวา “ผูวาจาง” อีกฝายหนึ่งเรียกวา “ผูรับจาง” โดยผูรับจางตกลงรับจะทําการสิ่งใดสิง่หนึง่จนสําเร็จใหแกผูวาจาง และผูวาจางจะการจายสินจางเพื่อตอบแทนการทํางานใหสําเร็จดังกลาวให (มาตรา 587)2 2.2 ลักษณะสําคัญของสัญญาจางทําของ 2.2.1 ลักษณะทั่วไปของสัญญาจางทําของ 1. เปนสัญญาตางตอบแทน 2. สมบูรณดวยการแสดงเจตนา (ไมมีแบบ)3

ใชราคา มิไดมุงหวังในผลสําเร็จในการงานแมขอความในสัญญาจะไดกําหนดคุณสมบัติและลักษณะทรัพยที่จะตองสงมอบวาจะตองเปนไปตามแบบและรายการแนบทายสัญญา ก็เห็นไดวาเปนการกําหนดรายละเอียดไวเปนเงื่อนไขในการรับซื้อ สัญญาดังกลาวจึงเขาลักษณะสัญญาซื้อขายหาใชสัญญาจางทําของไม และ

คําพิพากษาฎีกาที่ 2169-2170/2534 โจทกที่ 1 ประกอบธุรกิจจําหนายคอนกรีตผสมเสร็จ (Ready Mixed Concrete) เมื่อมีลูกคาสั่งซื้อโจทกที่ 1 จะแจงโจทกที่ 2 สงคอนกรีตผสมเสร็จใหแกลูกคา โดยรถยนตบรรทุกที่มีเครื่องผสมคอนกรีตในตัว ทําการผสมคอนกรีตตามอัตราสวนหรือสูตรที่ลูกคากําหนด แลวนําไปเทยังหนวยงานที่ลูกคากําหนดความสัมพันธระหวางโจทกท่ี 1 กับลูกคาตางมีเจตนาใหมีการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยหรือคอนกรีตผสมเสร็จ เพื่อตอบแทนการใชราคา อันเขาลักษณะของสัญญาซื้อขายคูสัญญามิไดหวังผลสําเร็จในการงานเปนสาระสําคัญอันจะทําใหเปนสัญญาจางทาํของ

2 มาตรา 587 “อันวาจางทําของนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกวาผูรับจาง ตกลงจะทําการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสําเร็จใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกวาผูวาจาง และผูวาจางตกลงจะใหสินจางเพื่อผลสําเร็จแหงการที่ทํานั้น”

3 คําพิพากษาฎีกาที่ 2326/2544 สัญญาจางทําของ กฎหมายมิไดบัญญัติใหตองกระทําตามแบบหรือตองมีหลักฐานเปนหนังสือจึงจะฟองรองบังคับคดีกันได เพียงแตผูวาจางตกลงจะใหสินจางเพื่อผลสําเร็จแหงการที่ทํานั้นก็เปนการเพียงพอที่จะฟองรองบังคับคดีกันได ดังนั้น แมเอกสารตามที่โจทกอางจะไมมีลายมือช่ือของจําเลยในฐานะผูวาจาง ก็ใชเปนพยานหลักฐาน เพื่อประกอบการพิจารณาวาจําเลยไดตกลงวาจางใหโจทกทําการดังกลาวหรือไมได

คําพิพากษาฎีกาที่ 931/2480 พฤตติการณที่ไมถือวาไดมีสัญญาจางทําของเกิดขึ้นแลวจําเลยยื่นประกวดราคารับเหมากอสราง ถึงแมโจทกจะตกลงสนองรับใบประกวดราคาของจําเลยแลวก็ดีแตเมื่อโจทกจําเลยยังจะตองทําสัญญาเปนลายลักษณอักษรกันอีกช้ันหนึ่งดังนี้ จะถือวาไดมีสัญญาจางทําของเกิดขึ้นระหวางโจทกจําเลย

Page 3: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

35

35

3. มีวัตถุประสงคแหงสัญญา คือ มุงหมายถงึความสําเร็จของงานที่ทําเปนสําคัญ4 ขอสังเกต

• เมื่อสัญญาจางทําของมุงถึงความสําเร็จของงานที่ใหทําเปนสําคัญมากกวาแรงงานจากฝายผูรับจาง ดังนั้นลักษณะการบังคับบัญชาจึงมีนอยทําใหผูเปนผูรับจางมีความเปนอิสระในการทํางานมากกวาลูกจางในสัญญาจางแรงงาน

• การจางทําของ นอกจากหมายถึงการทํางานที่กอใหเกิดวัตถุที่มีรูปรางแลวยังหมายความรวมถึงงานที่มีลักษณะตองการผลสําเร็จที่ไมมีรูปรางอีก เชน การจางใหวาความ จางเก็บหรือทวงหนี้ หรือจางใหงดเวนการกระทําอันใดอันหนึ่ง เปนตน 2.2.2 ลักษณะเฉพาะของสัญญาจางทําของ 1. สินจาง (คาตอบแทนหรือคาจาง) “สินจาง” โดยปกติมักจะจายเปนจํานวนเงิน (เงินตรา) แตคูกรณีอาจตกลงใหจายสินจางเปนทรัพยสินอยางอื่นก็ได เชน นาย ก. ตกลงวาจางนาย ข. ใหเกี่ยวขาวโดย ข. จะตองเกี่ยวใหเสร็จทั้งแปลงและตกลงชําระสินจางเปนขาวเปลือกจํานวน 2 เกวียน เมื่อเกี่ยวขาวเสร็จ กําหนดเวลาในการจายสินจาง(มาตรา 602)5 โดยทั่วไปการจายสินจางจะกระทําเมื่อมีการรับมอบงานที่ใหทําตามสัญญา ซ่ึงบางครั้งอาจมีกําหนดการสงมอบไวเปนงวด ๆ (สวน) เชน สัญญาวาจางใหสรางบานกําหนดใหสงมอบงานเปนงวด ๆ โดยตกลงจายสินจางเปนงวด ๆ ตามงานที่สงมอบให เปนตน ลักษณะของจายสินจางจะเปนแบบใดจึงขึ้นอยูกับกับการตกลงของคูสัญญา

แลวไมได จําเลยยื่นประกวดราคารับเหมากอสรางตามคําเชื้อเชิญของโจทก แลวจําเลยขอถอนใบประกวดราคาของตนเสียดังนี้ เมื่อโจทกตอบรับใบประกวดราคาของจําเลยในเวลาอันสมควรตองถือวาไดมีคําสนองรับใบประกวดของจําเลย และมีผลผูกพันจําเลยตามใบประกวดราคานั้น ผูประมูลสรางไมยอมทําสัญญากอสราง ผูจางจึงใหประกวดราคาใหมดังนี้จํานวนเงินที่ผิดกันระหวางการประมูลทั้งสองนั้นไมใชคาเสียหายในการผิดสัญญาประมูล

4 คําพิพากษาฎีกาที่ 3194/2547 จําเลยทําสัญญาจางโจทกใหทําการโฆษณาผลิตภัณฑสินคาใหจําเลยและโจทกตกลงรับจะทําการโฆษณาผลิตภัณฑสินคาให เมื่อทําการโฆษณาแลวจําเลยตกลงจะชําระเงินคาโฆษณาใหแกโจทก ไมใชเปนเรื่องที่โจทกจําเลยมีเจตนาใหมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินสิ่งใดสิ่งหนึ่งแกจําเลย และจําเลยตกลงจะใชราคานั้น ไมเขาลักษณะสัญญาซื้อขายตาม ป.พ.พ. บรรพ 3 ลักษณะ 1 วาดวยซื้อขาย แตเปนเรื่องโจทกผูรับจางตกลงจะทําการโฆษณาผลิตภัณฑสินคาจนสําเร็จใหแกจําเลยผูวาจาง และจําเลยตกลงจะชําระเงินคาโฆษณาหรือสินจางเพื่อผลสําเร็จแหงการงานที่ทํานั้น อันเขาลักษณะของการจางทําของตาม ป.พ.พ. มาตรา 587

5 มาตรา 602 “อันสินจางนั้นพึงใชใหเมื่อรับมอบการที่ทํา ถาการที่ทํานั้นมีกําหนดวาจะสงรับกันเปนสวน ๆ และไดระบุจํานวนสินจางไวเปนสวน ๆ ไซร ทาน

วาพึงใชสินจางเพื่อการแตละสวนในเวลารับเอาสวนนั้น”

Page 4: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

36

36

ขอพิจารณาเกี่ยวกับการจายสินจางกับความเสียหาย การพังทลาย หรือบุบสลายของการงานที่ใหทํากอนมีการสงมอบการงานที่ใหทํา การจะจายสินจางในกรณีดังกลาวหรือไมนั้นจะตองพิจารณาดูวาสัญญาดังกลาว ฝายใดเปนผูจัดหาสัมภาระในการทําการงานตามสัญญา โดยใชหลักเกณฑในเรื่องการรับบาปเคราะหและภยัพิบัติที่เกิดกับทรัพย ผูเปนเจาของทรัพยยอมตองรับความเสียงภัยที่เกิดขึ้นซึ่งมิใชเกิดจากความผิดของอีกฝายหนึ่ง ซ่ึงพอสรุปโดยแยกพิจารณาใน 2 ลักษณะคือ (ก) กรณีผูรับจางเปนผูจัดหาสัมภาระ และ (ข) กรณีผูวาจางเปนผูจัดหาสัมภาระ

(ก) กรณีผูรับจางเปนผูจัดหาสัมภาระ ถาเกิดการพังทลาย หรือบุบสลายกอนสงมอบ โดยมิใชความผิดของฝายใด ผูวาจางก็ไมจําเปนตองจายสินจาง (มาตรา 603)6

(ข) กรณีผูวาจางเปนผูจัดหาสัมภาระ ถาหากเกิดการพังทลายหรือบุบสลายกอนการสงมอบโดยมิใชความผิดของฝายใด ผูวาจางก็ไมตองจายสินจางใหแกผูรับจาง เวนแตการพังทลายหรือบุบสลายนั้นเกิดขึ้นโดยฝายผูวาจางเปนผูกอใหเกิดขึ้นเองผูวาจางยังคงตองชําระสินจางใหกับผูรับจาง (มาตรา 604)7 2. เคร่ืองมือและสําภาระสําหรับใชในการทํางาน (ก) เคร่ืองมือ หมายถึง ส่ิงที่ใชเปนเครื่องมือเพื่ออํานวยความสะดวกและจัดทําการงานตามสัญญา เชน การจางใหสรางบาน เครื่องมือที่ใชในการสรางบาน ไดแก เครื่องผสมปูน นั่งราน ไมแบบ เปนตน หนาที่ในการจัดหาเครื่องมือนั้นหากไมไดตกลงกันไวระหวางผูวาจางกับผูรับจาง ผูรับจางจะตองเปนผูจัดหามาเอง (มาตรา 588)8

6 มาตรา 603 “ถาผูรับจางเปนผูจัดหาสัมภาระ และการที่จางทํานั้นพังทลายหรือบุบสลายลงกอนได

สงมอบกันถูกตองไซร ทานวาความวินาศอันนั้นตกเปนพับแกผูวาจาง หากความวินาศนั้นมิไดเปนเพราะการกระทําของผูรับจาง

ในกรณีเชนวานี้ สินจางก็เปนอันไมตองใช” 7 มาตรา 604 “ถาผูวาจางเปนผูจัดหาสัมภาระ และการที่จางทํานั้นพังทลายหรือบุบสลายลงกอนได

สงมอบกันถูกตองไซร ทานวาความวินาศนั้นตกเปนพับแกผูวาจาง หากความวินาศนั้นมิไดเปนเพราะการกระทําของผูรับจาง

ในกรณีเชนวานี้ สินจางก็เปนอนัไมตองใช เวนแตความวินาศนั้นเปนเพราะการกระทําของผูวาจาง” 8 มาตรา 588 “เครื่องมือตาง ๆสําหรับใชทําการงานใหสําเร็จนั้นผูรับจางเปนผูจัดหา”

Page 5: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

37

37

(ข) สัมภาระ หมายถึง ส่ิงที่ใชเปนสวนประกอบในการจัดทําการงานตามสัญญา เชน การจางใหสรางบาน สัมภาระที่ใชในการสรางบาน ไดแก ปูน อิฐ ตะปู สี กระเบื้อง เปนตน การจัดหาสัมภาระที่จะนํามาใชในการทํางานนั้นไมมีกฎหมายกําหนดไววาเปนหนาที่ของฝายใด ขึ้นอยูกับการตกลงของคูสัญญาเองหากไมมีการตกลงกันไวก็ตองพิเคราะหตามพฤติการณ หรือจารีตประเพณีแหงทองถ่ินวาฝายใดควรจะมีหนาที่ในการจัดหาสัมภาระ การจัดหาสัมภาระนั้นมีผลเก่ียวพันไปถึงหนาท่ีความรับผิดของผูรับจางในงานที่ทําดวยซ่ึงสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้ คือ (1) กรณีผูรับจางเปนผูจัดหาสัมภาระ

ผูรับจางจะตอง จัดหาสัมภาระชนิดท่ีดีมาใชในงาน (มาตรา 589)9 การที่กฎหมายกําหนดใหตองจัดสัมภาระชนิดที่ดีมาใชเชนนี้ก็เพราะของที่ทํานั้นจะตกเปนของผูวาจางเมื่อทําเสร็จและสงมอบ ถาสัมภาระที่นํามาทําเปนของหรืองานนั้นคุณภาพไมดี ของหรืองานที่สําเร็จขึ้นมานั้นก็จะไมดีตามไปดวย ซ่ึงขอนี้ตางกันในเรื่องที่ผูวาจางเปนผูจัดหาสัมภาระตามที่ไดกลาวมาแลว โดยในเรื่องนั้นกฎหมายไมไดกําหนดวาผูจางตองจัดหาสัมภาระชนิดที่ดี ทั้งนี้ก็เพราะวาถาผูวาจางใหผูรับจางทําของโดยใชสัมภาระชนิดไมดี ของหรืองานที่สําเร็จก็จะไมดีตามไปดวย

ผูรับจางกับความรับผิดในความชํารุดบกพรองของสัมภาระที่ตนจัดหามานั้น มาตรา 595 10 ใหนําเอาบทบัญญัติในลักษณะซื้อขายมาใชบังคับ (มาตรา 472 ถึงมาตรา 474) กลาวคือ บทบัญญัติเกี่ยวกับความรับผิดของผูขายเพื่อความชํารุดบกพรองในทรัพยที่ขาย ซ่ึงสําหรับความรับผิดของผูรับจางในกรณีนี้ ไดแก

(ก) ถาสัมภาระที่ผูรับจางจัดหามาชํารุดบกพรอง ไมวาผูรับจางจะไดรูถึงความชํารุดบกพรองนั้นหรือไมก็ตาม ผูรับจางตองรับผิดในความชํารุดบกพรองนั้นจะอางความไมรูเพื่อใหตนนั้นพนความรับผิดไมได (มาตรา 472)11

9 มาตรา 589 “ถาสัมภาระสําหรับทําการงานที่กลาวนั้นผูรับจางเปนผูจัดหา ทานวาตองจัดหาชนิดที่ดี” 10 มาตรา 595 “ถาผูรับจางเปนผูจัดหาสัมภาระไซร ความรับผิดของผูรับจางในการบกพรองนั้น ทาน

ใหบังคับดวยบทแหงประมวลกฎหมายนี้ ลักษณะซื้อขาย” 11 มาตรา 472 “ในกรณีที่ทรัพยสินซึ่งขายนั้นชํารุดบกพรองอยางหนึ่งอยางใดอันเปนเหตุใหเสื่อม

ราคาหรือเสื่อมความเหมาะสมแกประโยชนอันมุงจะใชเปนปกติก็ดี ประโยชนที่มุงหมายโดยสัญญาก็ดี ทานวาผูขายตองรับผิด

ความที่กลาวมาในมาตรานี้ยอมใชได ทั้งที่ผูขายรูอยูแลวหรือไมรูวาความชํารดุบกพรองมีอยู”

Page 6: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

38

38

(ข) แตถาผูวาจางรูหรือนาจะรูถึงความชํารุดบกพรองของสัมภาระหรือความชํารุดบกพรองนั้นเห็นไดชัดแจงเวลารับมอบงานหรือของผูที่ผูรับจางไดทําขึ้นนั้นและผูวาจางรับเอาของนั้นไวโดยไมอิดเอื้อนเมื่อเกิดความเสียหายเพราะความชํารุดบกพรองนั้น ผูรับจางไมตองรับผิด (มาตรา 473)12

(ค) การฟองรองผูรับจางใหรับผิดในความชํารุดบกพรองของสัมภาระ ผูวาจางตองฟองเสียภายในเวลา 1 ป นับแตที่ไดพบเห็นความชํารุดบกพรองนั้น (มาตรา 474)13

(2) กรณีผูวาจางเปนผูจัดหาสัมภาระ

ผูรับจางจะตองใชสัมภาระที่ผูวาจางจัดหามานั้นดวยความระมัดระวังและใชอยางประหยัดและหากทํางานเสร็จแลวปรากฏวายังมีสัมภาระเหลืออยูผูรับจางจะตองคืนใหแก ผู ว าจ าง(มาตรา 590)14 ที่ เปนเชนนี้ เพราะสัมภาระนั้นเปนทรัพย สิน(กรรมสิทธิ์)ของผูวาจาง

หากผูรับจางรูอยูแลววา สัมภาระที่ผูวาจางจัดหามานั้นไมเหมาะ ผูรับจางจะตองบอกกลาวตักเตือนผูวาจาง แตหากไมไดบอกกลาวตักเตือนและสัมภาระที่ผูวาจางจัดหามาซึ่งมีสภาพไมดีนั้นสงผลใหงานที่ทํานั้นเกิดความชํารุดบกพรอง หรือกอใหเกิดความชักชาในงานที่ทํา เชนนี้ ผูรับจางจะตองรับผิดในความชํารุดบกพรองหรือความลาชาของการงานที่ทํานั้นดวย (มาตรา 591)15 ที่กฎหมายบัญญัติไวเชนนี้เพราะ

12 มาตรา 473 “ผูขายยอมไมตองรับผิดในกรณีดังจะกลาวตอไปนี้ คือ (1) ถาผูซื้อไดรูอยูแลว แตในเวลาซื้อขายวามีความชํารุดบกพรองหรือควรจะไดรูเชนนั้นหากไดใช

ความระมัดระวังอันจะพึงคาดหมายไดแตวิญูชน (2) ถาความชํารุดบกพรองนั้นเปนอันเห็นประจักษแลวในเวลาสงมอบ และผูซื้อรับเอาทรัพยสินนั้น

ไวโดยมิไดอิดเอื้อน (3) ถาทรัพยสินนั้นไดขายทอดตลาด” 13 มาตรา 474 “ในขอรับผิดเพื่อชํารุดบกพรองนั้น ทานหามมิใหฟองคดีเมื่อพนเวลาปหนึ่งนับแตเวลา

ที่ไดพบเห็นความชํารุดบกพรอง” 14 มาตรา 590 “ผูรับจางจะตองใชสัมภาระที่ผูวาจางจัดหามานั้นดวยความระมัดระวังและประหยัด

อยาใหสิ้นเปลืองเสียเปลา และเมื่อทํางานเสร็จแลวมีสัมภาระเหลือตองคืนใหแกผูวาจาง” 15 มาตรา 591 “ถาสัมภาระที่ผูวาจางจัดหามานั้นมีสภาพไมดี เปนเหตุใหงานที่ทํานั้นเกิดความชํารุด

บกพรอง หรือกอใหเกิดความชักชาในงานที่ทํา ผูรับจางไมตองรับผิดในความชํารุดบกพรองหรือความลาชานั้น เวนแตผูรับจางรูอยูแลววา สัมภาระนั้นไมเหมาะแลวไมไดบอกกลาวตักเตือนผูวาจาง”

Page 7: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

39

39

ตามปกติผูรับจางยอมรูดีวาสัมภาระนั้น ๆ มีคุณภาพดีหรือไมดีอยางไร ถานํามาทําเปนของแลวจะเหมาะสมหรือสมบูรณตามที่กําหนดในสัญญาหรือไมอยางไร

บทท่ี 3. หนาท่ีและความรับผิดของคูสัญญา 3.1 หนาท่ีและความรับผิดของผูรับจาง

3.1.1 หนาท่ีในการจัดหารเครื่องมือและสัมภาระตามที่ตกลงไวในสัญญา (มาตรา 590 และมาตรา 591)

3.1.2 ตองทํางานจนสําเร็จตามสัญญา16 ขอสังเกต งานที่ผูรับจางจะตองทําใหสําเร็จนั้น ผูรับจางไมจําเปนจะตองเปนผู

ลงมือทําเองเสมอไป ผูรับจางอาจเปนเพียงผูควบคุมดูแลใหผูอ่ืนทํา หรือจางใหผูอ่ืนทําแทนทั้งหมดหรือบางสวนก็ได เวนแต สาระสําคัญแหงสัญญาจะมุงเนนถึงความรูความสามารถเฉพาะตัวของผูรับจาง(มาตรา 607 )17

3.1.3 ตองยอมใหผูวาจางหรือตัวแทนของผูวาจางเขาตรวจตราการงานที่ทํา โดยผูรับจางจะตองอํานวยความสะดวกในการเขาตรวจการทาํงาน (มาตรา 592)18 แตอยางไรก็ตามการเขาตรวจการทํางานนัน้จะตองไมเปนการขัดขวางการทํางานของผูรับจางดวย

3.1.4 ตองทํางานโดยไมชักชา (มาตรา 593)19

16 มาตรา 587 “อันวาจางทําของนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกวาผูรับจาง ตกลงจะทําการงาน

สิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสําเร็จใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกวาผูวาจาง และผูวาจางตกลงจะใหสินจางเพื่อผลสําเร็จแหงการที่ทํานั้น”

17 มาตรา 607 “ผูรับจางจะเอาการที่รับจางทั้งหมดหรือแบงการแตบางสวนไปใหผูรับจางชวงทําอีกทอดหนึ่งก็ได เวนแตสาระสําคัญแหงสัญญานั้นจะอยูที่ความรูความสามารถของตัวผูรับจาง แตผูรับจางคงตองรับผิดเพื่อความประพฤติหรือความผิดอยางใด ๆ ของผูรับจางชวง”

18 มาตรา 592 “ผูรับจางจําตองยอมใหผูวาจางหรือตัวแทนของผูวาจางตรวจตราการงานไดตลอดเวลาที่ทําอยูนั้น”

19 มาตรา 593 “ถาผูรับจางไมเริ่มทําการในเวลาอันควร หรือทําการชักชาฝาฝนขอกําหนดแหงสัญญาก็ดี หรือทําการชักชาโดยปราศจากความผิดของผูวาจาง จนอาจคาดหมายลวงหนาไดวาการนั้นจะไมสําเร็จภายในกําหนดเวลาที่ไดตกลงกันไวก็ดี ผูวาจางชอบที่จะเลิกสัญญาเสียได มิพักตองรอคอยใหถึงเวลากําหนดสงมอบของนั้นเลย”

Page 8: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

40

40

การทํางานใหเสร็จถือวาเปนหนาที่หลักของผูรับจาง ดังนั้น หากผูรับจางไมเร่ิมทําในเวลาอันควรหรือทํางานชักชาไมตามสัญญา โดยมิใชความผิดของผูวาจาง จนเปนที่คาดหมายไดวางานนั้นจะไมเสร็จภายในกําหนดเวลาที่ตกลงไว ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดโดยไมตองรอใหถึงกําหนดเวลาสงมอบงานนั้น และในทางปฏิบัติมักมีการกําหนดคาปรับไวกรณีที่การทํางานไมเสร็จหรือเสร็จไมทันตามสัญญาไวดวย

3.1.5 ตองรับผิดเกี่ยวกับความชํารดุบกพรองในการงานที่ทํา (มาตรา 594)20 ในกรณีที่คาดหมายลวงหนาไดแนนอนวา งานที่ทํานั้นจะเกดิการชํารุดบกพรองขึ้นกอนทํางานนั้นเสร็จหรือกอนทําการสงมอบ ผูวาจางมีสิทธิ์บอกกลาวใหผูรับจางแกไข ถาหากผูรับจางแกไขไมได ผูวาจางจะไมรับมอบงานนั้นกไ็ด และยังมีสิทธิมอบงานใหบุคคลภายนอกแกไขซอมแซมแทนโดยผูรับจางตองเปนผูรับผิดในคาใชจายนัน้ ขอสังเกต - การจะนําการงานนั้นไปใหบุคคลภายนอกทําการแกไขหรือซอมแซมจะกระทําไดตอเมื่อผูวาจางไดบอกกลาวและกําหนดเวลาพอสมควรใหผูรับจางแกไขแลวแตผูรับจางไมดําเนินการแกไขให

3.1.6 ตองรับผิดในการสงมอบเนิ่นชา (ลาชา) (มาตรา 596)21 หากผูรับจางสงมอบงานที่ทําไมทันเวลาที่กําหนดไวในสัญญาหรือเมื่อพนเวลาอันควรในกรณีไมมีกําหนดเวลาไวในสัญญา ผูวาจางมีสิทธิลดสินจางหรือเลิกสัญญาไดหากสัญญานั้นมีสาระสําคัญอยูที่เวลาในการสงมอบ ตัวอยางเชน สัญญาวาจางใหทําขนมเพื่อนํามาเลี้ยงแขกในงานวันคลายวันเกิด สัญญาเชนนี้ยอมถือเอากําหนดเวลาสงมอบาเปนสาระสําคัญ แตอยางไรก็ตามผูรับจางก็ไมตองรับผิดแมสงมอบลาชาหากผูวาจางยอมรับมอบการที่ทํานั้นแลวโดยมิไดอิดเอื้อน (มาตรา 597)22

20 มาตรา 594 “ถาในระหวางเวลาที่ทําการอยูนั้นเปนวิสัยจะคาดหมายลวงหนาไดแนนอนวา การที่ทํา

นั้นจะสําเร็จอยางบกพรองหรือจะเปนไปในทางอันฝาฝนขอสัญญาเพราะความผิดของผูรับจางไซร ผูวาจางจะบอกกลาวใหผูรับจางแกไขสิ่งที่บกพรองใหคืนดี หรือทําการใหเปนไปตามสัญญา ภายในเวลาอันสมควรซึ่งกําหนดใหในคําบอกกลาวนั้นก็ได ถาและคลาดกําหนดนั้นไปทานวาผูวาจางชอบที่จะเอาการนั้นใหบุคคลภายนอกซอมแซมหรือทําตอไปไดซึ่งผูรับจางจะตองเสี่ยงความเสียหายและออกคาใชจายทั้งสิ้น”

21 มาตรา 596 “ถาผูรับจางสงมอบการที่ทําไมทันเวลาที่ไดกําหนดไวในสัญญาก็ดี หรือถาไมไดกําหนดเวลาไวในสัญญาเมื่อลวงพนเวลาอันควรแกเหตุก็ดี ผูวาจางชอบที่จะลดสินจางลง หรือถาสาระสําคัญแหงสัญญาอยูที่เวลา ก็ชอบที่จะเลิกสัญญาได”

22 มาตรา 597 “ถาผูวาจางยอมรับมอบการที่ทํานั้นแลวโดยมิไดอิดเอื้อน ผูรับจางก็ไมตองรับผิดเพื่อการที่สงมอบเนิ่นชา”

Page 9: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

41

41

3.1.7 ความรับผดิในการสงมอบงานที่ชํารุดบกพรอง กรณีผูรับจางเปนผูจัดหาสัมภาระ

เมื่อเกิดความชํารุดบกพรองตองนําบทบัญญัติ มาตรา 472 และมาตรา 473 ในเรื่องของสัญญาซื้อขายมาบังคับใช (มาตรา 595) ตัวอยางเชน นายเอก รับจางสรางบานใหนายโท โดยนายเอกเปนผูจัดหาสัมภาระ ปรากฏวาบานที่สรางขึ้นมีความชํารุดบกพรองแมวานายเอกผูรับจางจะทราบหรือไมก็ตามวามีความชํารุด เชนนี้ นายเอกก็ยกเปนขอตอสูไมไดตามมาตรา 472 วรรคสอง

กรณีผูวาจางเปนผูจัดหาสัมภาระ เมื่อมีความชํารุดบกพรองเกิดขึ้นเนื่องจากสัมภาระนั้นเอง ผูรับจางไม

ตองรับผิดไมวาจะเปนความชํารุดบกพรองที่เกิดขึ้น กอน หรือ หลัง สงมอบงาน เวนแต ผูรับจางจะรูวาสัมภาระนั้นไมเหมาะสมกับงานที่ทําแลวไมทักทวง (มาตรา 591)23

ขอยกเวนความรับผิด ในเรื่องของการชํารุดบกพรองก็มีลักษณะเชนเดียวกับการสงมอบงาน

ลาชา ผูวาจางหากไมทักทวงและยอมรับเอาการงานที่ทํานั้น ซ่ึงปรากฏวามีการชํารุดบกพรองอยูจะเรียกใหผูรับจางรับผิดไมไดเวนแตความชํารุดบกพรองนั้นจะไมสามารถพบไดในขณะที่รับมอบหรือเปนกรณีที่ผูวาจางไดปดบังความชํารุดบกพรองนั้น (มาตรา 598)24

23 มาตรา 591 “ถาสัมภาระที่ผูวาจางจัดหามานั้นมีสภาพไมดี เปนเหตุใหงานที่ทํานั้นเกิดความชํารุด

บกพรอง หรือกอใหเกิดความชักชาในงานที่ทํา ผูรับจางไมตองรับผิดในความชํารุดบกพรองหรือความลาชานั้น เวนแตผูรับจางรูอยูแลววา สัมภาระนั้นไมเหมาะแลวไมไดบอกกลาวตักเตือนผูวาจาง”

24 มาตรา 598 “ถาผูวาจางยอมรับมอบการที่ทํานั้นแลวทั้งชํารุดบกพรองมิไดอิดเอื้อนโดยแสดงออกชัดหรือโดยปริยาย ผูรับจางก็ไมตองรับผิดเวนแตความชํารุดบกพรองนั้นเปนเชนจะไมพึงพบไดในขณะเมื่อรับมอบ หรือผูรับจางไดปดบังความนั้นเสีย”

Page 10: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

42

42

ระยะเวลาที่ผูรับจางตองรับผดิในความชํารดุบกพรอง ถาไมมีการกําหนดระยะเวลาไวเปนอยางอื่นในสัญญา ผูรับจางจะตองรับผิดในความชํารุดบกพรองที่ปรากฏขึ้นในโดยแยกพิจารณา ดังนี้ (มาตรา 600)25

- กรณีท่ัวไป ผูรับจางจะตองรับผิดในความชํารุดบกพรองท่ีปรากฏขึ้นภายในเวลา 1 ปนับแตเวลาสงมอบ

- กรณีของสิ่งปลูกสรางลงบนพื้นดิน (ยกเวน เรือนโรงที่สรางดวยไม) ผูรับจางจะตองรับผิดในความชํารุดบกพรองท่ีปรากฏขึ้นภายในเวลา 5 ปนับแตเวลาสงมอบ

- กรณีผูรับจางไดปดบังความชํารุดบกพรองนั้น ผูวาจางมีสิทธิเรียกใหผูรับจางรับผิดไดแมความชํารุดนั้นจะปรากฏขึ้นภายหลัง 1 ป หรือ 5 ป

ตัวอยางเชน กรณีท่ี 1. นาย ก. จาง นาย ข. วาดภาพติดผนัง ปรากฏวาหลังจากสงมอบ

ภาพวาดนํามาติดตั้งที่บานของนาย ก. แลว 2 ป ภาพวาดดังกลาวเกิดการชํารุดขึ้นโดยมีรองรอยของการหลุดรอนของสีซ่ึงเกิดขึ้นเนื่องนาย ข. ใชสีที่ไมมีคุณภาพ กรณีเชนนี้ นาย ข. ไมตองรับผิดในความชํารุดดังกลาวเพราะความชํารุดปรากฏขึ้นหลังจากสงมอบไปแลว 2 ป ดังนั้น ผูรับจางจึงไมตองรับผิดในความชํารุดบกพรองท่ีปรากฏขึ้นเกินกวาเวลา 1 ปนับแตเวลาสงมอบ

กรณีท่ี 2. บริษัท ก. จาง บริษัท ข. เปนผูรับเหมาสรางอาคารพาณิชยใหแกตน ปรากฏวาหลังจากสงมอบอาคารและมีการตรวจรับอาคารแลว 2 ป เกิดรอยราวขึ้นเปนทางยาว โดยจากการตรวจสอบพบวาเกิดขึ้นเนื่องจากบริษัท ข. ใชเหล็กที่ไมไดมาตรฐาน กรณีเชนนี้ บริษัท ข. ตองรับผิดในความชํารุดดังกลาวเพราะอาคารพาณิชยดังกลาวเปนสิ่งปลูกสรางลงบนพื้นดินซึ่งมิใชเรือนโรงที่สรางดวยไม และความชํารุดปรากฏขึ้นหลังจากสงมอบเพียง 2 ป ดังนั้น ผูรับจางจะตองรับผิดในความชํารุดบกพรองท่ีปรากฏขึ้นภายในเวลา 5 ปนับแตเวลาสงมอบ

กรณีท่ี 3. บริษัท ก. จาง บริษัท ข. เปนผูรับเหมาสรางบานพักตางอากาศใหแกตน โดยบานหลังดังกลาวทําดวยไมสักทองทั้งหลัง ปรากฏวาหลังจากสงมอบบานและมีการตรวจรับแลว 2 ป บานเกิดพังลงมา โดยจากการตรวจสอบพบวาเกิดขึ้นเนื่องจากบริษัท ข. ไมไดทําการอัดดินใหแนนตามมาตรฐานที่ตกลงไว กรณีเชนนี้ บริษัท ข. ไมตองรับผิดในความชํารุดดังกลาวเพราะบานพักหลังดังกลาวเปนสิ่งปลูกสรางลงบนพื้นดินซึ่งซึ่งมีลักษณะเปนเรือนโรงที่สรางดวยไม และ

25 มาตรา 600 “ถามิไดกําหนดไวเปนอยางอื่นในสัญญาไซร ทานวาผูรับจางจะตองรับผิดเพื่อการที่ทํา

ชํารุดบกพรอง เพียงแตที่ปรากฏขึ้นภายในปหนึ่งนับแตวันสงมอบ หรือที่ปรากฏขึ้นภายในหาป ถาการที่ทํานั้นเปนสิ่งปลูกสรางกับพื้นดิน นอกจากเรอืนโรงทําดวยเครื่องไม

แตขอจํากัดนี้ทานมิใหใชบังคับเมื่อปรากฏวาผูรับจางไดปดบังความชํารุดบกพรองนั้น”

Page 11: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

43

43

ความชํารุดปรากฏขึ้นหลังจากสงมอบไปแลว 2 ป ดังนั้น ผูรับจางจึงไมตองรับผิดในความชํารุดบกพรองท่ีปรากฏขึ้นภายหลังเวลา 1 ปนับแตเวลาสงมอบ

กรณีท่ี 4. บริษัท ก. จาง บริษัท ข. เปนผูรับเหมาสรางอาคารพาณิชยใหแกตน ปรากฏวาหลังจากสงมอบอาคารและมีการตรวจรับอาคารแลว 6 ป ปรากฏรอยราวขึ้นเปนทางยาว โดยจากการตรวจสอบพบวาเกิดขึ้นเนื่องจากบริษัท ข. ใชเหล็กที่ไมไดมาตรฐาน ซ่ึงกอนการสงมอบบริษัท ข. ก็ทราบดีแตไดทําการทาสีปดทับรอยราวดังกลาวไวเพื่อไมใหบริษัท ก. ตรวจสอบได กรณีเชนนี้ แมจะปรากฏความชํารุดขึ้นเกิดกวา 5 ป นับแตสงมอบ แตเนื่องจากบริษัท ข. ผูรับจางไดปดบังความชํารุดบกพรองนั้นไว บริษัท ข. จึงตองรับผิดในความชํารุดดังกลาว

ขอสังเกต หากในสัญญาจางทําของมีการทําขอตกลงไวในสัญญาวา “ผูรับจางเปนอัน

หลุดพนความรับผิดไมวาความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นจากเหตุใด ๆ นับจากวันท่ีผูวาจางไดลงนามในเอกสารตรวจรับงานไวเรียบแลว” กรณีดังกลาวถือเปนการตกลงไวแตกตางจากมาตรา 600 ซ่ึงมีผลใชบังคับไดเพราะมาตรา 600 ดังกลาวมิใชบทบัญญัติที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (มาตรา 151) ดังนั้น ผูวาจางจะตองตรวจสอบใหดีกอนการรับมอบวาการงานที่ใหทํานั้นเปนไปตามที่ตกลงไวหรือไม

อายุความในการฟองรองใหผูรับจางรับผิดในความชํารุดบกพรอง

มีอายุความ 1 ป นับแตปรากฏเหตุชํารุดบกพรองขึ้น (มาตรา 601)26 ขอสังเกต การฟองรองใหผูรับจางรับผิดตามสัญญาซึ่งมิใชการฟองให

รับผิดเพราะการงานที่ทําชํารุดบกพรองไมอยูในบังคับมาตรา 601 ตัวอยางเชน การฟองใหรับผิดกรณีไมสงมอบตามที่ตกลงไวในสัญญา หรือการฟองใหรับผิดตามสัญญาในกรณีที่มีการตกลงไวแตกตางจากมาตรา 600

คําพิพากษาฎีกาท่ี 1245/2516 ความชํารุดบกพรองตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 601 หมายความถึง ความชํารุดบกพรองซึ่งเกิดขึ้นตามที่บัญญัติไวในมาตรา 598 มาตรา 599 และมาตรา 600 อันหมายถึงความชํารุดบกพรองในตัวทรัพยที่ผูรับจางสงมอบใหกับผูวาจางครบถวนแลว มิใชหมายถึงการไมปฏิบัติใหครบถวนตามสัญญา จําเลยไมสงมอบลูกรังและทรายใหโจทกใหครบถวนตามสัญญาจําเลยจึงเปนฝายผิดสัญญา ตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหโจทก ซ่ึงโจทกมีสิทธิเรียกรองไดภายใน 10 ป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 164(มาตรา 193/30)

26 มาตรา 601 “ทานหามมิใหฟองผูรับจางเมื่อพนปหนึ่ง นับแตวันการชํารุดบกพรองไดปรากฏขึ้น”

Page 12: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

44

44

คําพิพากษาฎีกาท่ี 4004/2534 จําเลยที่ 1 ใชสิทธิเรียกรองใหโจทกชําระคาเสียหายอันเกิดจากการที่โจทกผิดสัญญาไมทํางานใหแลวเสร็จ อายุความใชสิทธิเรียกรองเชนนี้ไมมีกฎหมายบัญญัติไวเปนอยางอื่นจึงมีอายุความ 10 ป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 164 จะนําอายุความเรียกรองคาเสียหายเกี่ยวกับการชํารุดบกพรองของการที่ทํา ตามมาตรา 601 มาปรับไมได

คําพิพากษาฎีกาท่ี 6018/2537 โจทกฟองวา อาคารตาง ๆ ที่จําเลยที่ 1 รับจางโจทกกอสรางและสงมอบใหโจทกเสร็จแลวเกิดชํารุดบกพรองเสียหายภายใน 12 เดือน นับแตวันที่โจทกรับมอบงาน โจทกมีหนังสือแจงใหจําเลยที่ 1 ซอมแซมแกไขแลว จําเลยที่ 1ไมจัดการแกไขซอมแซมความชํารุดบกพรองใหเปนที่เรียบรอย โจทกไมสามารถใชประโยชนในอาคารไดโดยสมบูรณ โจทกจึงไดจาง ณ. ทําการซอมแซมจนเสร็จสมบูรณ ขอใหจําเลยที่ 1 ชําระคาจางที่โจทกไดจาง ณ. ทําการซอมแซม ฟองของโจทกมิใชเปนการฟองเรียกคาเสียหายเพื่อความชํารุดบกพรอง อันมีอายุความ 1 ปตาม ป.พ.พ. มาตรา 601 เพราะโจทกฟองบังคับตามขอตกลงที่ทํากันไว ซ่ึงโจทกและจําเลยที่ 1 ตองผูกพันปฏิบัติตามสัญญาตอกันอยูอีก เมื่อจําเลยที่ 1 ไมปฏิบัติตามสัญญาจายคาจางที่โจทกไดชําระใหแก ณ.ไป จําเลยที่ 1 จึงเปนฝายผิดสัญญาโจทกฟองขอใหจําเลยที่ 1 รับผิดตามสัญญาได การฟองขอใหจําเลยที่ 1 รับผิดตามสัญญาดังกลาวไมมีกฎหมายบัญญัติอายุความไวโดยเฉพาะ จึงมีอายุความ 10 ป ตามมาตรา 164 เดิม (มาตรา 193/30 ที่แกไขใหม)

คําพิพากษาฎีกาท่ี 2031/2541 ตามสัญญาจางระหวางโจทกกับจําเลยที่ 1 และที่ 2 มีขอตกลงเรื่องความชํารุดบกพรองไวในสัญญาวา หากงานกอสรางที่จําเลยที่ 1 รับจางทําและจําเลยที่ 2 เปนผูออกแบบและควบคุมเกิดความชํารุดบกพรองภายใน 1 ป นับแตวันสงมอบและโจทกมีหนังสือแจงใหจําเลยที่ 1 และที่ 2 ซอมแซมแกไขแลว แตจําเลยที่ 1 และที่ 2 ไมซอมแซมแกไขหรือซอมแซมแกไขแลว แตไมเรียบรอย โจทกมีสิทธิจางผูอ่ืนซอมแซมแกไขแทนได และจําเลยที่ 1 และที่ 2 จะตองรับผิดชอบในคาจางที่โจทกตองจายใหแกผูอ่ืนนั้น เมื่อจําเลยที่ 1 และที่ 2 มิไดปฏิบัติตามขอตกลงยอมถือวาเปนการผิดสัญญา โจทกยอมฟองไดตามขอสัญญา กรณีจึงไมใชเร่ืองที่จะนําอายุความตาม ป.พ.พ.มาตรา 600 และ 601 มาใชบังคับ เพราะบทบัญญัติแหงมาตราทั้งสองใชบังคับเฉพาะกรณีที่ไมมีขอตกลงในสัญญาเปนอยางอื่น กรณีในคดีนี้เปนเรื่องมิไดมีบทบัญญัติเร่ืองอายุความไวโดยเฉพาะ จึงตองนําบทบัญญัติเร่ืองอายุความทั่วไป 10 ป ตาม ป.พ.พ.มาตรา 164 ที่ใชบังคับในขณะที่โจทกอาจบังคับสิทธิเรียกรองไดมาใชบังคับ

Page 13: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

45

45

3.2 หนาท่ีและความรับผิดของผูวาจาง 3.2.1 จัดหาเครื่องมือและสัมภาระหากไดมีการตกลงไว 3.2.2 ชําระสินจางใหกับผูรับจาง (มาตรา 602)27 แตผูรับจางก็มีสิทธิยึดหนวงสินจางไวได หากผูรับจางผิดสัญญาโดยสงมอบเนิ่นชาหรือสงมอบการที่ทําชํารุดบกพรอง เวนแต ผูรับจางจะใหประกันตามสมควร (มาตรา 599)28 อายุความเรียกรองสินจาง ถาผูวาจางไมชําระสินจาง ผูรับจางจะตองฟองเรียกสินจางภายในระยะเวลาเทาใดนั้นจะตองพิจารณาเปนกรณีไปวาเปนสัญญาจางทําของในลักษณะใด เชน คาจางวาความ มีกําหนดอายุความ 2 ป (มาตรา 193/34 (16))29 เปนตน 3.2.3 หนาที่อ่ืน ๆ ตามที่ตกลงไวในสัญญา เชน ทําสัญญาวาจางใหกอสรางอาคารพาณิชย โดยผูวาจางจะสงมอบที่ดินที่มีการปรับสภาพพรอมลงมือปลูกสรางใหแกผูรับจางดําเนินการปลูกสราง ตลอดจนเปนผูมีหนาที่ยื่นขออนุญาตปลูกสรางตอเทศบาล เปนตน บทท่ี 4. การระงับของสัญญาจางทําของ 4.1 ระงับโดยผลของกฎหมาย 4.1.1 เมื่อผูรับจางไดปฏิบัติตามสัญญาสําเร็จและสงมอบใหแกผูวาจางและผูวาจางไดชําระสินจางใหแกผูรับจางไปแลว 4.1.2 เมื่อการงานที่ทํานั้นตกเปนพนวิสัย โดยมิใชความผิดของคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่ง (มาตรา 219 ประกอบ 603 และ 604)30

27 มาตรา 602 “อันสินจางนั้นถึงใชใหเมื่อรับมอบการที่ทํา ถาการที่ทํานั้นมีกําหนดวาจะสงรับกันเปน

สวน ๆ และไดระบุจํานวนสินจางไวเปนสวน ๆ ไซร ทานวาพึงใชสินจางเพื่อการแตละสวนในเวลารับเอาสวนนั้น” 28 มาตรา 599 “ในกรณีที่สงมอบเนิ่นชาไปก็ดี หรือสงมอบการที่ทําชํารุดบกพรองก็ดี ทานวาผูวาจาง

ชอบที่จะยึดหนวงสินจางไวได เวนแตผูรับจางจะใหประกันตามสมควร” 29 มาตรา 193/34 “สิทธิเรียกรองดังตอไปนี้ ใหมีกําหนดอายุความสองป … (16) ทนายความหรือผูประกอบวิชาชีพทางกฎหมาย รวมท้ังพยานผูเช่ียวชาญ เรียกเอาคาการงานที่ทํา

ให รวมทั้งเงินที่ไดออกทดรองไปหรือคูความเรียกเอาคืนซึ่งเงินเชนวานั้นที่ตนไดจายลวงหนาไป …” 30 มาตรา 219 “ถาการชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นภายหลังที่

ไดกอหนี้ และซึ่งลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบนั้นไซร ทานวาลูกหนี้เปนอันหลุดพนจากการชําระหนี้นั้น” ถาภายหลังที่ไดกอหนี้ขึ้นแลวนั้น ลูกหนี้กลายเปนคนไมสามารถจะชําระหนี้ไดไซร ทานใหถือ

Page 14: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

46

46

4.1.3 ถาสาระสําคัญของสัญญาจางทําของอยูที่ความรูความสามารถของผูรับจางโดยเฉพาะ เมื่อผูรับจางตายหรือตกเปนผูไมสามารถทําการงานที่รับจางนั้นตอไปไดโดยมิใชความผิดของผูรับจาง สัญญาจางทําของยอมระงับไป (มาตรา 606 วรรคแรก) และในกรณีที่มีการงานที่ผูรับจางไดทําไปบางแลวบางสวนและเปนประโยชนแกผูวาจาง ผูวาจางจะตองรับเอาไวและจายสินจางใหตามสวนของการงานที่ไดทําไป (มาตรา 606 วรรคสอง)31 4.2 ระงับโดยการแสดงเจตนาเลิกสัญญา 4.2.1 คูสัญญาแสดงเจตนาเลิกสัญญา 4.2.2 คูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งผิดสัญญา และคูสัญญาอีกฝายหนึ่งใชสิทธิบอกเลิกสัญญา (สิทธิตามสัญญา หรือตามที่กฎหมายกําหนด เชน มาตรา 593 และมาตรา 596) 4.2.3 เมื่อผูวาจางใชสิทธิบอกเลิกสัญญาตามมาตรา 60532 คือ กอนที่จะถึงกําหนดเวลาสงมอบงาน ผูวาจางจะเลิกสัญญาก็ไดโดยเสียคาสินไหมทดแทนใหแกผูรับจางเพื่อความเสียหายที่เกิดจากการเลิกสัญญานั้น

คําพิพากษาฎีกาท่ี 6675/2541 สัญญาจางวาความเปนสัญญาจางทําของตาม ป.พ.พ.มาตรา 587 ถือเอาผลสําเร็จของงานคือการดําเนินคดีหรือทําหนาที่ทนายความตั้งแตตระเตรียมคดีและวาตางหรือแกตางในศาลไปจนคดีถึงที่สุด และการจายสินจางตองถือเอาความสําเร็จของผลงาน หรือ เสมือนวาเปนพฤติการณที่ทําใหการชําระหนี้ตกเปนอันพนวิสัยฉะนั้น

มาตรา 603 “ถาผูรับจางเปนผูจัดหาสัมภาระ และการที่จางทํานั้นพังทลายหรือบุบสลายลงกอนไดสงมอบกันถูกตองไซร ทานวาความวินาศอันนั้นตกเปนพับแกผูวาจาง หากความวินาศนั้นมิไดเปนเพราะการกระทําของผูรับจาง

ในกรณีเชนวานี้ สินจางก็เปนอันไมตองใช” มาตรา 604 “ถาผูวาจางเปนผูจัดหาสัมภาระ และการที่จางทํานั้นพังทลายหรือบุบสลายลงกอนไดสง

มอบกันถูกตองไซร ทานวาความวินาศนั้นตกเปนพับแกผูวาจาง หากความวินาศนั้นมิไดเปนเพราะการกระทําของผูรับจาง

ในกรณีเชนวานี้ สินจางก็เปนอันไมตองใช เวนแตความวินาศนั้นเปนเพราะการกระทําของผูวาจาง” 31 มาตรา 606 “ถาสาระสําคัญแหงสัญญาอยูที่ความรูความสามารถของตัวผูรับจางและผูรับจางตายก็

ดี หรือตกเปนผูไมสามารถทําการที่รับจางนั้นตอไปไดดวยมิใชเพราะความผิดของตนก็ดี ทานวาสัญญานั้นยอมเปนอันสิ้นลง

ถาและการสวนที่ไดทําขึ้นแลวนั้นเปนประโยชนแกผูวาจางไซรทานวาผูวาจางจําตองรับเอาไวและใชสินจางตามสมควรแกสวนนั้น ๆ”

32 มาตรา 605 “ถาการที่จางยังทําไมแลวเสร็จอยูตราบใด ผูวาจางอาจบอกเลิกสัญญาได เมื่อเสียคาสินไหมทดแทนใหแกผูรับจางเพื่อความเสียหายอยางใด ๆ อันเกิดแตการเลิกสัญญานั้น”

Page 15: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

47

47

จายสินจางตามที่ตกลงกันไว แมขอตกลงวาผูวาจางจะชําระสินจางใหเต็มตามจํานวนในสัญญาจาง ไมวาผูวาจางจะเลิกสัญญาในชั้นใดหรือเวลาใดก็ไมใชขอสัญญาที่ผูกมัดตัดทอนเสรีภาพของผูวาจางเพราะมิไดหามเด็ดขาด มิใหผูวาจางถอนทนาย เพียงแตมีเงื่อนไขวาหากถอนทนายผูวาจางก็ยังตองชําระคาสินจางเต็มจํานวนในสัญญาเทานั้น จึงไมขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชนขอตกลงเชนวาจึงมีผลบังคับได

แตการที่จําเลยผูวาจางไดถอนโจทกจากการเปนทนายความกอนที่คดีจะถึงที่สุดดังกลาวเปนกรณีที่ถือไดวา จําเลยผูวาจางไดใชสิทธิเลิกสัญญาจางทําของในระหวางที่การท่ีวาจางยังทําไมแลวเสร็จ ซ่ึงจําเลยในฐานะที่เปนผูวาจางและเปนเจาของคดีความมีผลประโยชนและมีสวนไดเสียในฐานะลูกความในคดีดังกลาวมีสิทธิที่จะกระทําได หากผูวาจางไมมีความไววางใจในตัวทนายความตาม ป.พ.พ.มาตรา 605 และเมื่อจําเลยไดใชสิทธิดังกลาวขางตนแลว ยอมจะเกิดผลตามกฎหมายตามมา กลาวคือ ในสวนของการงานอันโจทกไดกระทําไปแลวจําเลยผูวาจางตองใชเงินตามราคาคาแหงการนั้น ๆ ตาม ป.พ.พ.มาตรา 391วรรคสาม รวมทั้งตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอยางใด ๆ อันเกิดแตการเลิกสัญญาใหแกโจทกผูรับจางตามมาตรา 605 และไมอาจถือไดวาจํานวนเงินคาจางตามขอตกลงในสัญญาจางวาความเปนจํานวนเงินคาแหงการงานที่โจทกไดทําใหแกจําเลย หรือเปนจํานวนเงินที่มีกําหนดในสัญญาวาใหใชเปนเงินตอบแทนอันจะตองใชเงินตามจํานวนดังกลาวใหแกโจทกผูรับจาง เพราะเทากับเปนการกําหนดคาสินไหมทดแทนไวลวงหนาอันมีลักษณะเปนเบี้ยปรับนั่นเอง ซึ่งหากจํานวนเงินคาปรับนั้นสูงเกินสวน ศาลยอมมีอํานาจลดลงเปนจํานวนพอสมควรไดตามมาตรา 383 การใชเงินตามราคาคาแหงการงานที่โจทกไดกระทําไปแลวจึงตองพิจารณาจากขอเท็จจริงเกี่ยวกับการงานที่โจทกไดกระทําไปแลวทั้งหมด และพฤติการณแวดลอมอ่ืน ๆ ประกอบกับความเปนธรรมและความเหมาะสม และศาลมีอํานาจกําหนดใหไดตามสมควร

จํานวนเงินที่ศาลกําหนดใหจําเลยชําระแกโจทกตามคาแหงการงานที่โจทกไดกระทําไปแลว ซ่ึงกอนหนานั้นยังไมรูจํานวนที่แนนอน โจทกจึงไมมีสิทธิคิดดอกเบี้ยตามขอตกลงในสัญญาจางวาความ คงมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยไดในอัตรารอยละ 7.5 ตามกฎหมายนับแตวันฟองเปนตนไป

Page 16: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

48

48

สรุปขอแตกตางของสัญญาจางแรงงานกบัสัญญาจางทําของ 1. ความแตกตางในเรื่องวัตถุประสงคของสัญญา

สัญญาจางแรงงานมุงถึงแรงงานหรือความสามารถของลูกจางเปนสําคัญ แตสัญญาจางทําของมุงถึงผลสําเร็จของงานเปนสําคัญกลาวคือ สัญญาใดนายจางตองการเพียงแตจะใชแรงงานลูกจางเทานั้น สวนงานที่ลูกจางทําไปนั้นจะเปนผลสําเร็จหรือไม ไมสําคัญ ลูกจางเปนแตเพียงทํางานใหนายจางเทานั้นเปนพอแลว สัญญาดังกลาวเปนสัญญา จางแรงงาน แตถาสัญญาใดผูรับจางตองทํางานของผูวาจางจนสําเร็จ โดยผูวาจางตองการแตเพียงผลงานเทานั้นไมคํานึงวาผูรับจางจะทํางานมากนอยเพียงไร ดังนี้แลวสัญญานั้นก็เปนสัญญาจางทําของ 2. ความแตกตางในเรื่องของการจายสินจาง

กลาวคือ ถาการคํานวณสินจางนั้นใชระยะเวลาตามที่ไดทํางานเปนชั่วโมง วัน เดือน หรือ ป เปนเครื่องคํานวณสินจางของลูกจาง สัญญานั้นก็เปน สัญญาจางแรงงาน แตถาสัญญาใดใชวิธีคํานวณสินจางตามผลสําเร็จของงานแลว สัญญานั้นก็เปนสัญญาจางทําของ 3. ความแตกตางในเรื่องความสมัพันธของคูสญัญา 3.1 ความสําคัญของคูสัญญา จางแรงงานเปนสัญญาเฉพาะตัว นายจางก็ดี ลูกจางก็ดีจะโอนสิทธิของตนไมได เวนแตดวยความตกลงทั้งฝายนายจางและลูกจาง (มาตรา 577) แตจางทําของไมใชสัญญาเฉพาะตัว เวนแตสาระสําคัญแหงสัญญาจะอยูที่ความรูความสามารถของผูรับจาง (มาตรา 606) 3.2 การควบคุมดูแลงานตามสัญญา จางแรงงาน ลูกจางมีหนาที่ตองฟงคําบังคับบัญชาของนายจางในการทํางานที่จาง (มาตรา 583) แตจางทําของ ผูรับจางไมมีหนาที่เชนนั้นตอผูวาจาง ขอสําคัญตองทํางานใหเสร็จ จะทําโดยวิธีใดก็ได ผูวาจางไมมีสิทธิช้ีแจง ควบคุม บงการอยางใด (คําพิพากษาคําพิพากษาฎีกาที่ 316-318/2500, และคําพิพากษาฎีกาที่ 1648/2509) 3.3 การใชอุปกรณตาง ๆ ในการทํางาน สัญญาจางแรงงาน ลูกจางทํางานใหกับนายจางโดยใชความรูความสามารถแรงกายของตนเองโดยใชอุปกรณ เครื่องมือตาง ๆ ของนายจาง แตสัญญาจางทําของโดยทั่วไปหากไมมีการตกลงกันไวเปนอยางอื่น ผูรับจางเปนผูหาเครื่องมือมาเอง (มาตรา 588)

Page 17: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

49

49

4. ความแตกตางในเรื่องความรบัผิดในทางละเมิด สัญญาจางแรงงาน นายจางตองรวมกันรับผิดกับลูกจางบุคคลภายนอกในผลแหงการ

ละเมิดที่ลูกจางไดกระทําไปในทางการที่จาง (มาตรา 425)33 แตจางทําของผูวาจางไมตองรับผิดในผลแหงการละเมิดของผูรับจาง เวนแตผูวาจางจะเปนผูผิดในสวนการงานที่ส่ังใหทําหรือในคําสั่งที่ตนใหไวหรือในการเลือกหาผูรับจาง (มาตรา 428)34 ตัวอยางเชน นายธนะจางนายเกงมาเปนคนงานสรางบานในลักษณะสัญญาจางแรงงานโดยตกลงใหคาแรงงานเปนรายวัน นายเกงมีหนาที่ตอกเสาเขม็ หากนายเกงประมาทเลินเลอขณะทํางานทําใหเสาเข็มลมทับบานหลังถัดไป นายธนะตองรวมรับผิดในความเสียหายในผลแหงการละเมิดที่ลูกจางไดกระทําไปในทางการที่จางตามมาตรา 425 แตหากเปนกรณีที่นายธนะวาจางใหนายเกงซึ่งเปนผูรับเหมาตอกเสาเข็มมาทําการตอกเสาเข็มใหโดยตกลงคาจางตามความสําเร็จของงาน ซ่ึงมีลักษณะเปนสัญญาจางทําของ เชนนี้ นายเกงประมาทเลินเลอทําใหเสาเข็มลมทับบานหลังถัดไป นายธนะไมตองรับผิด เวนแตนายธนะจะเปนผูผิดในสวนการงานที่ส่ังใหทําหรือในคําสั่ งที่ ใหไว หรือเปนกรณีที่นายธนะจางชางไมที่ไมมีความสามารถหรือมีความสามารถไมเพียงพอในการกอสรางมาทํางานตามมาตรา 428

**************************************************

33 มาตรา 425 “นายจางตองรวมกันรับผิดกับลูกจางในผลแหงละเมิด ซึ่งลูกจางไดกระทําไปใน

ทางการที่จางนั้น” 34 มาตรา 428 “ผูวาจางทําของไมตองรับผิดเพื่อความเสียหายอันผูรับจางไดกอใหเกิดขึ้นแก

บุคคลภายนอกในระหวางทําการงานที่วาจางเวนแตผูวาจางจะเปนผูผิดในสวนการงานที่สั่งใหทํา หรือในคําสั่งที่ตนใหไวหรือในการเลือกหาผูรับจาง”

Page 18: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

50

50

สัญญาจางทําของ

ลักษณะสําคัญ การจัดหาสัมภาระ หนาที่ของผูรับจาง หนาที่ของผูวาจาง สัญญาระงับเมื่อ 1.เปนสัญญาตางตอบแทน ผูวาจางเปนผูจัดหา ผูรับจางเปนผูจัดหา ตองทํางานจนสําเร็จ(ม.583) จายสินจาง

2.สมบูรณดวยการแสดง เจตนา(ไมมีแบบ) เสียหายกอนสงมอบ ตามสัญญา

3. มุงหมายถึงความสําเร็จของงานที่ทําเปนสําคัญ

ตองยอมใหผูวาจางหรือตัวแทน ของผูวาจางเขาตรวจตราการงานที่ทํา(ม.592)

ตาม ม.602

ผูวาจางไมตองจายสินจาง (ม.603)

ตองทํางานโดยไมชักชา (ม.593

โดยผลของกฎหมาย 1. ปฏิบัติตามสัญญาครบถวนแลว 2. การงานที่ทํานั้นตกเปนพนวิสัย

(ม.219, 603, 604) 3. ผูรับจางตายหรือตกเปนผูไม

สามารถทําการงานที่รับจางนั้นตอไปได (ม.606 ว.1)

ผูวาจางไมตองจายสินจาง เวนแต ผูวาจางเปนผูกอใหเกิดขึ้น

(ม.604)

รับผิดเกี่ยวกับความชํารุดบกพรองในการงานที่ทํา (ม.594)

ตองจัดหาชนิดที่ดี ( ม.589 )

ผูรับจางเปนผูจัดหา ตองรับผิดในการสงมอบ

นําบทบัญญัติเรื่องชํารุดบกพรองในลักษณะซื้อขายมาใชบังคับ มาตรา 595 (ม.472 - 474)

ลาชา (ม.596)

ระงับโดยการแสดงเจตนาเลิกสัญญา 1. คูสัญญาแสดงเจตนาเลิกสัญญา 2. คูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งผิด

สัญญา และคูสัญญาอีกฝายหนึ่งใชสิทธิบอกเลิกสัญญา เชน ม.593 ,596)

3. ผูวาจางบอกเลิกสัญญา ม.605 ชํารุดบกพรอง(ม.598 )

Page 19: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

51

51

การรับผิดในกรณีเกิดการชํารุดบกพรองในการงานที่ทํา

1. กรณีผูรับจางเปนผูจัดหาสมัภาระ 2. กรณีผูวาจางเปนผูจัดหาสมัภาระ ระยะเวลาที่ผูรับจางตองรับผิดในความชํารุดบกพรอง

เมื่อเกิดความชํารุดบกพรองตองนําบทบัญญัติ มาตรา 472 และ 473 ในเรื่องของสัญญาซื้อขายมาบังคับใช (มาตรา 595)

ถาไมมีการกําหนดระยะเวลาอื่นไวในสัญญา ผูรับจางจะตองรับผิดในความชํารุดบกพรองที่ปรากฏขึ้นในเวลา 1 ปนับแตเวลาสงมอบ หรือในเวลา 5 ป ในกรณีของสิ่งปลูกสรางลงบนพื้นดิน ยกเวนเรือนโรงที่สรางดวยไม แตระยะเวลาดังกลาวจะไมนํามาใชหากผูรับจางไดปดบังความชํารุดบกพรองนั้น (มาตรา 600)

เมื่อมีความชํารุดบกพรองเกิดขึ้นเนื่องจากสัมภาระนั้นเอง ผูรับจางไมตองรับผิดไมวาจะเปนความชํารุดบกพรองที่เกิดขึ้น กอน หรือ หลัง สงมอบงาน เวนแตผูรับจางจะรูวาสัมภาระนั้นไมเหมาะสมกับงานที่ทําแลวไมทักทวง

หากมีการสงมอบเนิ่นชาหรือสงมอบงานที่ชํารุดบกพรอง ผูวาจางมีสิทธิยึดหนวงสินจางไว เวนแตผูรับจางเสนอใหหลักประกันตามสมควร (มาตรา 599)

อายุความ การฟองรองใหผูรับจางรับผิดในความชํารุดบกพรอง มีอายุความ 1 ป นับแตปรากฏเหตุชํารุดบกพรองขึ้น (มาตรา 601)

ขอยกเวนความรับผิด มาตรา 597 “ถาผูวาจางยอมรับการที่ทํานั้นแลวโดยไมอิดเอื้อน ผูรับจางก็ไมตองรับผิดเพื่อการที่สงมอบเนิ่นชา”

Page 20: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

52

52

ขอแตกตางของสัญญาจางแรงงานกับสัญญาจางทําของ

สัญญาจางแรงงาน สัญญาจางทําของ

วัตถุประสงคของสัญญา มุงถึงแรงงานหรือความสามารถของลูกจางเปนสําคัญ มุงถึงผลสําเร็จของงานเปนสําคัญ

การจายสินจาง การจายสินจางเปนการจายเพื่อตอบแทนการทํางาน มักใชระยะเวลาตามที่ไดทํางานเปนชั่วโมง/วัน/เดือน/ป เปนเครื่องคํานวณสนิจาง

การจายสินจางเปนการจายเพื่อตอบแทนผลสําเร็จของงาน และมักจายเมื่อการงานทีท่ําเสร็จตามที่ตกลงไว

เปนสัญญาเฉพาะตวั ไมใช สัญญาเฉพาะตัว ลูกจางมีหนาทีต่องฟงคําบังคับบัญชาของนายจาง ผูรับจางไมมีหนาที่ตองทํางานใหเสร็จ ใชอุปกรณ เครื่องมือตาง ๆ ของนายจาง หากไมมกีารตกลงกันไวเปนอยางอื่น ผูรับจางเปนผูหาเครื่องมือมาเอง นายจางตองรวมกันรับผิดกบัลูกจางบุคคลภายนอกในผลแหงการละเมิดที่ลูกจางไดกระทาํไปในทางการที่จาง (ม.425)

ของผูวาจางไมตองรับผิดในผลแหงการละเมิดของผูรับจาง เวนแตผูวาจางจะเปนผูผิดในสวนการงานที่สั่งใหทําหรือในคําสั่งที่ตนใหไวหรือในการเลอืกหาผูรับจาง (ม.428)

ความสัมพันธของคูสัญญาในลักษณะตางๆ

ลูกจางเปนผูไดลิขสิทธิ์ในงานที่สรางสรรคขึ้น เวนแตจะตกลงเปนอยางอืน่ในสัญญา

ผูวาจางเปนผูไดลิขสิทธิ์ในงานที่สรางสรรคขึ้น เวนแตจะตกลงเปนอยางอื่นในสัญญา

Page 21: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

53

53

สัญญาจาง

สัญญาฉบับนี้ทําขึ้น ณ ….……………………………… วันที…่……..เดือน ……………………..พ.ศ. …………

ระหวาง….…………………………………..บานเลขที่……….ถนน ………………………ตําบล/แขวง……………………………อําเภอ/เขต………………………จังหวัด…………………...ซ่ึงตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่งกับ ….…...………….…………บานเลขที่……….ถนน ………………ตําบล/แขวง………………………อําเภอ/เขต…………จังหวัด………………...ซ่ึงตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูรับจาง” อีกฝายหนึ่งโดยมีขอตกลงกันดังตอไปนี้

ขอ 1. ผูวาจางตกลงจางผูรับจางใหทําการ……………………………………..…………….ที่ตําบล/แขวง……………..อําเภอ/เขต………………………..จังหวัด……………………ใหถูกตองตามแบบแปลนและรายละเอียดที่แนบทายสัญญาทุกประการเปนราคารวมทั้งสิ้น…………....บาท (…………………………………บาทถวน) ขอ 2. ผูรับจางตกลงรับทําการตามที่กําหนดในสัญญาขอ 1. โดยสัญญาวาจะจัดหาสิ่งของชนิดที่ดีใชเครื่องมือดี และชางฝมือดี เพื่อประกอบการตามสัญญานี้จนแลวเสร็จ ขอ 3. ในวันทําสัญญานี้ ผูรับจางไดนําหลักประกันเปนหนังสือคํ้าประกันของ…………….เปนจํานวนรอยละ……………ของราคา…………………… (………..……………………บาท) มามอบไวแกผูวาจางเพื่อประกันการปฏิบัติตามสัญญาหลักประกันดังกลาวมีอายุประกันหลังจากวันกิจการแลวเสร็จภายในกําหนดความรับผิดชอบตามสัญญาถาวันแลวเสร็จตามสัญญาตองยึดออกไปดวยเหตุใด ๆ ก็ตาม ผูรับจางตองนําหลักประกันมามอบใหแกผูวาจางใหมีอายุการประกันใหครบความรับผิดชอบตามสัญญาเสมอไป

หลักประกันที่ผูรับจางนํามามอบไวขางตน ผูวาจางจะคืนใหเมื่อผูรับจางพนจากขอผูกพันตามสัญญาแลว ขอ 4. ผูวาจางตกลงจายคาจางและผูรับจางตกลงรับจางเปนงวด ๆ ดงันี้

งวดที่ 1. เปนเงิน………………………………………………………………………บาท จายใหเมื่อผูรับจางได………………………………………………………………………………..… ซ่ึงจะแลวเสร็จภายในวันที…่……….เดือน…………………..พ.ศ. ………………

งวดที่ 2. เปนเงิน………………………………………………………………………บาท จายใหเมื่อผูรับจางได……………………………………………………………………….……… ซ่ึงจะแลวเสร็จภายในวันที่………….เดือน……………………………………..พ.ศ. ………………

Page 22: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

54

54

งวดที่ 3. เปนเงิน………………………………………………………………………บาท จายใหเมื่อผูรับจางได………………………………………………………………………………… ซ่ึงจะแลวเสร็จภายในวันที่………….เดือน……………………………………..พ.ศ. ……………… ขอ 5. ผูรับจางสัญญาวา จะเริ่มลงมือทํางานจาง ณ สถานที่ที่กําหนด

ภายในวันที่………….เดือน………………..พ.ศ. ………………และใหแลวเสร็จบริบูรณ ภายในวันที่………….เดือน………………..พ.ศ. ……………..ถาผูรับจางมิไดลงมือทํางาน

ภายในกําหนดดังกลาวก็ดี หรือมีเหตุใหผูวาจางเชื่อไดวา ผูรับจางไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จบริบูรณภายในกําหนดเวลาก็ดี ลวงกําหนดเวลาแลวเสร็จบริบูรณไปแลวก็คือหรือผูรับจางทําผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดก็ดี ผูวาจางมีสิทธิจะบอกเลิกสัญญา และมีอํานาจจางผูอ่ืนทํางานจางนี้ตอจากผูรับจางไดดวย การที่ผูวาจางไมบอกเลิกสัญญาตามความในวรรคหนึ่ง ไมเปนเหตุใหผูรับจางพนจากความรับผิดชอบตามสัญญานี้

ขอ 6. เมื่องานแลวเสร็จเรียบรอยและผูวาจางไดรับมอบงานจากผูรับจางหรือจากผูรับจางคนใหมในกรณีผูรับจางผิดสัญญาและผูรับจางใชสิทธิเลิกสัญญาตามขอ 5. ถามีเหตุชํารุดเสียหายเกิดขึ้นแกงานจางนี้ภายในกําหนด……ป…..เดือน นับแตวันที่ไดรับมอบงานโดยใหนับวันที่ไดเร่ิมมอบงานเปนวันเริ่มตน ซ่ึงเหตุเสียหายนั้นเกิดจากความบกพรองของผูรับจาง จะเปนโดยทําไวไมเรียบรอยหรือใชส่ิงของที่ไมดีหรือทําไมถูกตองตามหลักวิชาก็ตาม ผูรับจางตองรีบทําการแกไขใหเปนที่เรียบรอยภายในระยะเวลาที่ผูวาจางจะกําหนด โดยไมคิดเอาคาสิ่งของแรงงานหรือคาใชจายอื่นใดจากผูวาจางอีก ถาผูรับจางบิดพล้ิวไมแกไขซอมแซมภายในกําหนด………….วัน นับแตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจากผูวาจางโดยใหนับวันที่ไดรับแจงเปนวันเริ่มตนหรือแกไขซอมแซมไมแลวเสร็จเรียบรอยนอยภายในเวลาที่ผูวาจางกําหนด ผูวาจางมีสิทธิจางผูอ่ืนใหทํางานจางนั้นแทนผูรับจางได

ถางานที่จางเกิดชํารุดบกพรองเสียภายขึ้นหลังจากระยะเวลาที่กําหนดขางตน ผูรับจางยังตองรับผิดตามบัญญัติไวในประมวลแพงและพาณิชยดวย

ในกรณีที่ผูวาจางใชสิทธิจางผูอ่ืนทํางานจางแทนผูรับจางตามสัญญาขอ 5. และขอ 6. วรรคหนึ่ง ผูรับจางจายเงินคาจาง คาสิ่งของ คาคุมงาน และคาใชจายอื่นใด (ถามี) ตามจํานวนที่ผูวาจางตองเสียไปโดยสิ้นเชิง และผูรับจางยังคงตองรับผิดชอบตามสัญญา ขอ 13. เสมือนหนึ่งงานที่ทํานั้นเปนงานจางของตน

ขอ 7. เนื่องจากพันธะซึ่งจะมีตอกันตามสัญญานี้ ผูรับจางยินยอมใหบรรดางานที่ผูรับจางไดทําขึ้นรวมทั้งโรงงาน ส่ิงปลูกสรางและสิ่งของตาง ๆ ที่ไดนํามาไว ณ สถานที่ทํางานจาง โดยเฉพาะเพื่องานดังกลาวในสัญญาขอ ……ใหตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูวาจางทั้งสิ้นแตถามีอันตรายหรือความเสียหายอยางใด ๆ เกิดขึ้นแกส่ิงเหลานั้น แมจะเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัยประการใดก็ตาม ผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดในความเสียหายเหลานั้น และจัดหามาใหมหรือแกไขใหคืนดี ทั้งนี้ภายในพันธะที่

Page 23: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

55

55

มีอยูในสัญญาอันยังไมถึงที่สุด เวแตภายหลังเวลาสงมอบ ซ่ึงผูรับจางจําตองรับผิดชอบเพียงความบกพรองและเพียงในความเสียหายที่มีขึ้นภายในระยะเวลาที่กลาวในสัญญา ขอ 6.

ในกรณีที่ผูรับจางทํางานแลวเสร็จบริบูรณตามสัญญา ถามีส่ิงของเหลืออยูเทาใดผูวาจางยอมใหผูรับจางนําเอากลับคืนไป

ขอ 8. สัญญานี้มีรูปแบบและรายละเอยีดดงันี้ ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… และใหถือวารูปแบบรายการตาง ๆ ดังกลาวเปนสวนหนึง่ของสัญญา ขอ 9. ผูรับจางสัญญาวา จะไมทํางานจางนี้โดยไมมี แบบ รูป และรายละเอียดที่ถูกตองเปน

อันขาด ทั้งจะรักษาแบบ รูป และรายละเอียดนี้ไว ณ สถานที่ทํางานจางใหเรียบรอยและโดยเปดเผยเพื่อใหผูวาจาง หรือกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานตรวจไดทุกเวลา

ขอ 10. ผูรับจางสัญญาวาจะไมเอางานทั้งหมดหรือสวนหนึ่งสวนใดแหงสัญญานี้ไปใหผูอ่ืนรับจางชวงอีกทอดหนึ่ง โดยมิไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากผูวาจาง แตทั้งนี้ผูรับจางยังตองรับผิดชอบงานที่ใหชวงไปนั้นทุกประการ

ขอ 11. ผูรับจางจะตองควบคุมงานที่รับจางนี้อยูตลอดเวลาที่งานยังไมแลวเสร็จหรือจะมอบหมายใหผู อ่ืนเปนผูควบคุมงานแทนตนก็ได ในกรณีเชนวานี้ ใหผู รับจางแจงชื่อผูไดรับมอบหมายใหผูวาจางทราบเปนหนังสือ และผูควบคุมงานแทนผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดชอบแทนผูรับจาง คําสั่งตาง ๆ ซ่ึงไดแจงแกผูแทนของผูรับจางถือไดวาไดแจงแกผูรับจางแลว

ขอ 12. ในกรณีที่ผูรับจางตั้งตัวแทนไปควบคุมงานตาม ขอ 11. ถาผูวาจางขอใหเปลี่ยนตัวแทนใหม ผูรับจางยินยอมเปลี่ยนตัวไดทันที โดยจะไมเรียกคาเสียหาย หรือถือเปนเหตุยึดวันทําการออกไป ถาผูรับจางจะเปลี่ยนผูควบคุมงานตองแจงชื่อผูนั้นใหผูวาจางทราบเปนหนังสือทุกครั้งดวย

ขอ 13. ผูรับจางจะตองรับผิดชอบตออุบัติเหตุ หรือภยันตราย ความเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึ้นจากการงานของผูรับจางเอง และตองรับผิดชอบในเหตุเสียหายอันเกิดแกทรัพยสินของผูวาจางซึ่งมีอยูในบริเวณที่ทําการจางนี้ โดยการกระทําของคนงาน ชาง หรือบริวารของผูรับจางดวย

ขอ 14. ผูรับจางจะตองจายเงินคาจางแกลูกจางของตนตามอัตราคาจางและกําหนดเวลาที่ผูรับจางและลูกจางไดตกลงหรือสัญญากันไว

ถาผูรับจางไมจายเงินคาจางใหแกลูกจางตามวรรคหนึ่ง ผูรับจางยอมใหผูวาจางเอาเงินคาจางที่ผูวาจางจะตองจายใหแกผูรับจาง จายใหแกลูกจางของผูรับจางได และใหถือวาเงินจํานวนที่จายไปนี้เปนเงินคาจางที่ผูรับจางไดรับไปจากผูวาจางแลว

Page 24: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

56

56

การที่ผูรับจางไมจายคาจางใหแกลูกจางของตนตามวรรคสอง นอกจากยอมใหผูวาจางจายเงินคาจางใหแกลูกจางของผูรับจางแลว ยังใหถือวาผูรับจางผิดสัญญานี้ดวย และผูวาจางจะยกเลิกสัญญาเสียทั้งหมดก็ได

ขอ 15. ถาผูวาจางแตงตั้งกรรมการตรวจการจางหรือควบคุมงานไวประจํา ณ ที่ทําการจางหนี้ในเวลาที่ผูรับจางเตรียมการหรือกําลังทํางานจางนี้อยูก็ดี กรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานมีสิทธิจะเขาไปตรวจการงานทุกเวลา ผูรับจางหรือผูแทนของผูรับจางจักตองใหความสะดวกและชวยเหลือตามสมควร การที่คณะกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานแทนคณะกรมการตรวจการจางหาทําใหผูรับจางพนความรับผิดชอบตามสัญญาขอหนึ่งขอใดไม

ขอ 16. กอนหรือระหวางทํางานจางอยู ถาปรากฏวาแบบรูปหรือรายละเอียดตอทายสัญญานี้คลาดเคลื่อนผิดไปอยางหนึ่งอยางใด ผูรับจางสัญญาวาจะปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของคณะกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานแทนคณะกรรมการตรวจการจาง และถาคําวินิจฉัยนี้ถูกตองกับรายงานอันใดอันหนึ่งที่ปรากฏในแบบรูปแลว ผูรับจางตองถือวาเปนอันเด็ดขาด ถาอันหนึ่งอันใดมิไดระบุไวในรายการละเอียด แตเปนการจําเปนจะตองทํางานเพื่อใหเสร็จบริบูรณถูกตองตามแบบรูป ผูรับจางสัญญาวาจะจัดการ ๆ ใหโดยไมคิดคาใชจายใด ๆ เพิ่มเติม ทั้งนี้ รายการที่คลาดเลื่อนหรือมิไดระบุไวดังกลาวจะตองมิใชสวนที่เปนสาระสําคัญ

ขอ 17. กรณีที่ผูวาจางแตงตั้งกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานแทนคณะกรรมการตรวจการจาง ผูรับจางยอมใหกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมมีอํานาจตรวจและควบคุมใหเปนไปตามขอกําหนดในสัญญาแบบรูปและรายการละเอียด โดยใหอํานาจสั่งเปล่ียนแปลง แกไขเพิ่มเติม หรือตัดทอนกิจการจางนี้ได เพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดในสัญญา แบบรูปแบบและรายการละเอียดเติม หรือตัดทอนกิจการจางนี้ได เพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดในสัญญา แบบรูปแบบและรายการละเอียดและถาผูรับจางขัดขืนก็ใหคณะกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานแทนคณะกรรมการตรวจการจางมีอํานาจสั่งหยุดกิจการนั้นไวช่ัวคราวได และความลาชาในกรณีเชนนี้ผูรับจางจะถือเปนเหตุขอยืดวันทําการออกไปมิได

ขอ 18. ผูวาจางมีสิทธิที่จะทําการแกไขหรือเพิ่มเติมหรือลดงานจากแบบรูปและรายการละเอียดตามสัญญาไดทุกอยางโดยไมตองเลิกสัญญานี้ การเพิ่มเติมหรือลดงานจะตองคิดและตกลงราคากันใหม และถาตองการเพิ่มหรือลดเงินหรือยืดเวลาออกไปอีกก็จะไดตกลง ณ บัดนั้น

ขอ 19. ถาผูรับจางสงมอบงานลาชากวาวนัแลวเสร็จตามสัญญา แตผูวาจางยังมิไดบอกเลิกสัญญา ผูรับจางยอมใหผูวาจางดําเนินการดงัตอไปนี้ คือ

ปรับผูรับจางเปนรายวัน วันละ ……………บาท (………………..………………….) นับแตวันที่ลวงเลยกําหนดวันแลวเสร็จตามสัญญาจนถึงวันที่งานแลวเสร็จบริบูรณ

Page 25: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

57

57

เรียกคาเสียหายอันเกดิขึ้นจากการที่ผูรับจางทํางานลาชา (ถามี) เรียกคาใชจายในการควบคุมงาน ในเมื่อผูวาจางตองจางผูควบคุมงานั้นอีกตอหนึ่งนับแต

วันที่ลวงเลยกําหนดวันแลวเสร็จตามสัญญา จนถึงวันที่ผูรับจางสงมองานโดยคิดเปนรายวัน วันละ …………………………..บาท (……………………………….)

ในระหวางที่มีการปรับนั้น ถาผูวาจางเห็นวาผูรับจางไมอาจปฏิบัติตามสัญญาตอไปไดผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาและใชสิทธิตามสัญญาขอ 20 นอกเหนือจากการปรับจนถึงวันบอกเลิกสัญญาดวย

ขอ 20. ถาผูวาจางบอกเลิกสัญญาแลว ผูรับจางยอมใหผูวาจางดําเนินการดังตอไปนี้ ริบหลักประกันสัญญาดังกลาวในสัญญาขอ 3 ยินยอมใหผูวาจางเรียกเอาคาจางที่เพิ่มขึ้น

เพราะจางบุคคลอื่นทําการนี้ตอไปจนงานแลวเสร็จบริบูรณ เรียกเอาคาใชจายในการควบคุมงาน ในเมื่อผูวาจางตองจางผูควบคุมงานนั้นอีกตอหนึ่งจน

แลวเสร็จบริบูรณ เรียกคาเสียหายอันพึงมีจากผูรับจาง ขอ 21. เมื่อผูวาจางบอกเลิกสัญญาแลว บรรดางานที่ผูรับจางไดทําขึ้นและสิ่งของตาง ๆ ที่ได

นํามาไว ณ สถานที่ทํางานจางนั้น โดยเฉพาะเพื่องานจางดังกลาวผูรับจางยอมใหตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูวาจาง โดยผูรับจางจะเรียกคาตอบแทนและคาเสียหายใด ๆ ไมไดเลยและผูรับจางยอมใหผูวาจางมีสิทธิระงับการจางที่คางชําระสําหรับงานที่ทําไปแลวเพื่อเปนการชําระหนี้

ในกรณีที่ตองจางบุคคลอื่นทํางานที่คางอยูใหแลวเสร็จบริบูรณ หากปรากฏวาเงินคางานที่เหลือจายไมพอสําหรับการทํางานรายนี้เปนจํานวนเทาใด ผูรับจางยอมใหผูวาจางหักเงินจํานวนนั้นจากคาจางที่คางชําระตามวรรคหนึ่งและยอมรับผิดชดใชเงินจํานวนที่ยังขาดอยูนั้นจนครบถวน

หากมีเงินคาจางตามสัญญาที่หักไวจายเปนคาปรับและคาเสียหายแลว ยังเหนืออยูอีกเทาใดผูวาจางจะคืนเงินใหแกผูรับจางหมด

ขอ 22. ถาผูรับจางหรือบริวารของผูรับจางไดกอสรางโรงงานหรือส่ิงปลูกสรางใด ๆ ลงในบริเวณที่รับจางก็ดี หรือทําใหเปนหลุมเปนบอก็ดี ผูรับจางสัญญาวาจะจัดการรักษาความสะอาดตลอดเวลาที่ทํางานจาง และเมื่องานจางแลวเสร็จจะตองร้ือถอนสิ่งปลูกสรางและกลบเกลื่อนพื้นดินใหเรียบรอย และขนเศษอิฐ เศษไม และสิ่งที่รกรุงรังออกไปใหพนบริเวณที่รับจางพรอมทั้งทําความสะอาดบริเวณที่รับจางและสิ่งปลูกสรางใหเรียบรอยอยูในสภาพที่ผูวาจางใชการไดทันที

Page 26: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

58

58

สัญญานี้ไดทําขึ้นสองฉบับ มีขอความเปนอยางเดยีว คูสัญญาไดอานเขาใจขอความโดยละเอียดตลอดแลวจึงไดลงลายมือช่ือพรอมทั้งประทับตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญตอหนาพยานและเกบ็ไวฝายละฉบับ

ลงชื่อ………………………………….ผูวาจาง (………………………………….)

ลงชื่อ………………………………….สถาปนิก

(………………………………….)

ลงชื่อ………………………………….พยาน (………………………………….)

ลงชื่อ………………………………….พยาน

(………………………………….)

Page 27: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

59

59

สัญญาจางเหมากอสรางบานและสิ่งปลกูสราง (โครงการบานจัดสรร)

วันที…่…….เดือน……………พ.ศ……………

สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นที่…………………..……………….เลขที่………ถนน…………………. ตําบล/แขวง………………………..….อําเภอ/เขต………….……..จังหวัด………………………… ระหวาง………………….…………….………ตั้งอยูเลขที่……..……ถนน………………………… ตําบล/แขวง……………………….อําเภอ/เขต………….……..จังหวัด…………………………ซ่ึงตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่ง กับ ………………...………….…………..อยูเลขที่……..……ถนน…………………………… ตําบล/แขวง………………….อําเภอ/เขต………….……..จังหวัด……………………...……….ซ่ึงตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูรับจาง” อีกฝายหนึ่ง คูสัญญาทั้งสองฝายตกลงทําสัญญากันดังมีขอความตอไปนี้ ขอ 1. ผูวาจางตกลงวาจางและผูรับจางตกลงรับจางกอสรางบานและสิ่งปลูกสรางบนที่ดินแปลงเลขที่…………โฉนดเลขที่……………....……ในโครงการ “……………………………….” ซ่ึงตั้งอยู ณ …………..……โดยจะเริ่มดําเนินการกอสรางในเดือน………………พ.ศ……………... และจะดําเนินการกอสรางดังกลาวใหแลวเสร็จในเดือน……………..พ.ศ……………… ทั้งนี้ ตองกอสรางตามรูปแบบ รายละเอียดของแบบ และรายละเอียดกําหนดการดําเนินงานที่แนบทายสัญญานี้และถือวาเปนสวนหนึ่งของสัญญาฉบับนี้ดวย ขอ 2. การกอสรางและสิ่งปลูกสรางตองยึด Contract DrawingและShop Drawing เปนหลัก ขอ 3. คูสัญญาตกลงราคาคาจางเหมากอสรางรวมเปนเงินทั้งสิ้น………………………บาท (…………………………………..)รวมภาษีมูลคาเพิ่ม ขอ4. ผูรับจางจะเปนผูดําเนินการจัดหาเครื่องมือเครื่องใชตางๆที่ตองใชในการกอสรางทั้งหมด ขอ 5. ผูรับจางจะเปนผูดําเนินการจัดหาวัสดุส่ิงของที่ใชในการกอสรางตามรายการแนบทายสัญญานี้และถือวาเปนสวนหนึ่งของสัญญานี้ดวย ขอ 6. เพื่อเปนหลักประกันในการปฏิบัติตามสัญญานี้ผูรับจางไดนําหนังสือค้ําประกันของธนาคารตามแบบที่ผูวาจางยินยอมซึ่งออกโดย…………………………………….สาขา…………….เลขที่…..……….ลงวันที่…….เดือน……………….พ.ศ…………….

Page 28: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

60

60

ขอ 7. งานกอสรางตามสัญญาฉบับนี้ไมรวมถึงงานและคาใชจายตอไปนี้ 7.1 คาธรรมเนียมการขออนุญาตทุกชนิด 7.2 สนามหญา 7.3 คาธรรมเนียมสําหรับมิเตอรน้ําประปาและไฟฟา 7.4 งานประปาและไฟฟานอกอาคาร ขอ 8. ผูวาจางตกลงชําระคาจางเหมารวมคาวัสดุส่ิงของทั้งหลายตามเงื่อนไขดังตอไปนี้ 8.1 คาจางชําระลวงหนาตองชําระภายใน…………….วัน นับแตวันทําสัญญาฉบับนี้ ในอัตรารอยละ………….ของคาเหมา และคาวัสดุส่ิงของรวมเปนจํานวนเงิน………………….บาท(…………………………………..) เพื่อเปนประกันการปฏิบัติตามสัญญา 8.2 คาจางอีกรอยละ……….……จะชําระเปนรายเดือน คํานวณผลตามผลงานที่แลวเสร็จตามรายละเอียดเงื่อนไขการชําระเงินและการกอสราง แปลนหมายเลขที่………..ที่แนบทายสัญญานี้และเปนสวนหนึ่งของสัญญาฉบับนี้ดวยผูวาจางตองชําระเงินประกันไวในอัตรารอยละ…………ของจํานวนคาจางรายเดือนที่เรียกเก็บนั้น เงินประกันที่ไดทําการหักไวในวรรคกอน ผูวาจางตองชําระใหแกผูรับจางภายใน ……….วัน นับแตวันที่ผูวาจางไดตรวจรับงานเรียบรอยแลว ขอ 9. ในกรณีที่ผูวาจางประสงคจะทําการแกไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมรูปแบบหรือรายละเอียดของบานหรือส่ิงปลูกสราง ผูวาจางตองทําการแจงใหผูรับจางทราบเปนลายลักษณอักษรลวงหนาไมนอยกวา……….วัน โดยผูวาจางตองรับผิดชอบคาใชจายที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ ผูรับจางสงวนสิทธิ์ที่จะยอมรับหรือไมยอมรับการแกไข เปล่ียนแปลง หรือเพิ่มเติมนั้น โดยคํานึงถึงความจําเปนและผลเสียหายอันอาจเกิดขึ้นไดเนื่องจากการแกไขเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมนั้น ขอ 10. ผูวาจางตองทําการตรวจรับงานภายในเวลา……..…….วัน นับแตวันที่ไดรับการแจงจากผูรับจาง หากไมตรวจรับงานภายในเวลาดังกลาว ใหถือวาไดตรวจรับงานแลวโดยปริยาย ขอ 11. ผูรับจางตกลงรับผิดชดใชคาเสียหายเปนจํานวนรอยละ…………….ของคาจางรับเหมากอสรางทั้งหมดตามโครงการ เมื่อปรากฏวาผู รับจางไมดําเนินการกอสรางภายในกําหนดเวลา………….วัน นับแตวันที่คูสัญญาทั้งสองฝายไดลงลายมือช่ือในสัญญานี้ ขอ 12. ผูรับจางสงวนสิทธิ์ที่จะนํางานบางสวนตามสัญญาฉบับนี้ไปใหผูอ่ืนทําได ทั้งนี้ผูรับจางจะเปนผูรับผิดชอบในงานกอสรางนั้นเองทุกประการเสมือนหนึ่งวาผูรับจางเปนผูทํางานนั้น ขอ 13. ผูรับจางตองรับผิดตออุบัติเหตุ อันตราย หรือความเสียหายอื่น ๆ อันเกิดขึ้นจากการกอสรางและตองชดใชคาเสียหายนั้นแกผูเสียหาย ขอ 14. ระหวางการกอสรางผูรับจางตองดูแลรักษาบริเวณรอบ ๆ การกอสรางใหสะอาดอยูเสมอ

Page 29: เอกเทศสัญญา 2-2

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาจางทําของ) โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

61

61

ขอ 15. ในกรณีที่มีเหตุในอันที่ไมอาจจะหลีกเลี่ยงไดโดยไมใชความผิดอันเกิดจากผูรับจางหรือผูวาจางขอแกไข เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมการกอสราง เปนเหตุใหการกอสรางหยุดชะงักหรือลาชากวากําหนด ใหขยายกําหนดระยะเวลาสงมอบงานตามขอ 1. ออกไปเทาที่ระยะเวลาที่ตองสูญเสียไปเพราะเหตุดังกลาว ขอ 16. ในกรณีที่คาวัสดุ คาใชจาย หรือคาดําเนินการอื่นใดทั้งหมดนั้นไดปรับอัตราสูงขึ้น โดยไมใชเปนผลสืบเนื่องมาจากผูรับจาง ผูวาจางจะเปนผูรับภาระคาใชจายขางตนตามอัตราที่เปล่ียนแปลงเพิ่มขึ้นไปตามความเปนจริง และหากเหตุดังกลาวมีผลใหการกอสรางหยุดชะงักหรือลาชากวากําหนดใหขยายกําหนดระยะเวลาสงมอบงานตามขอ 1. ออกไปเทาที่ระยะเวลาที่ตองสูญเสียไปเพราะเหตุดังกลาว ขอ 17. ในกรณีที่ผูวาจางผิดนัดชําระเงินงวดใดงวดหนึ่งตามที่กําหนดในขอ 8. หรือผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด หรือไมสามารถดําเนินโครงการไดสําเร็จเสร็จสิ้นผูรับจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที และใหกรรมสิทธิ์ในบานและสิ่งปลูกสรางเปนของผูรับจางโดยไมจําเปนตองคืนเงินคาจางและคาวัสดุส่ิงของที่ไดรับไวแลว นอกจากนี้ หากมีความเสียหายเกิดขึ้นแกผูรับจาง ผูวาจางตองรับผิดชอบชดใชคาเสียหายแกผูรับจางดวย ขอ 18. ภายใตบังคับสัญญาขอ 15. และ ขอ 16. หากผูรับจางสงมอบงานลาชาออกไปอีกหรือการสงมอบงานไดลาชาออกไปจากเวลาที่กําหนดไวตามปกติ ในกรณีที่ไมมีการขยายเวลาออกไปเพราะมีเหตุแทรกแซงอื่น ๆ ตามขอ 15. และขอ 16. ผูรับจางยินยอมใหผูวาจางปรับเปนเงินไดจํานวนเงินทั้งสิ้นไมเกินวันละ………………………บาท (……………………………………) ขอ 19. ในกรณีที่ผูรับจางผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด ยกเวนการสงมอบงานลาชา ผูรับจางตองรับผิดชดใชคาเสียหายแกผูวาจางสําหรับความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้น สัญญานี้ทําขึ้นเปนสองฉบับมีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาทั้งสองฝายไดอานและเขาใจขอความในสัญญาโดยตลอดแลวจึงลงลายมือช่ือไวเปนหลักฐานตอหนาพยาน และตางก็เก็บไวคนละฉบับ ลงชื่อ…………………….…..….……ผูวาจาง ลงชื่อ………..…….………….…….ผูรับจาง (……………………………………) (……………………………………) ลงชื่อ…………………….…..….……พยาน ลงชื่อ…………………….…..….……พยาน (……………………………………) (……………………………………)