Top Banner
70

หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Jan 26, 2023

Download

Documents

Khang Minh
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 2: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 3: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 4: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 5: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 6: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 7: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 8: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 9: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 10: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 11: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 12: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 13: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 14: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 15: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 16: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

13

หมวดท่ี 2 รายการประกอบแบบรูป

งานปรับปรุงระบบผลิตและจายน้ําประปามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย

1. วัตถุประสงค - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย มีความประสงค กอสรางงานปรับปรุงระบบผลิตและจายน้ําประปามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย ดังรายการตอไปน้ี

1.1 งานกอสราง 1.1.1 งานร้ือถอน งานรื้อถอนตนไมและอาคาร A B C จํานวน 3 อาคารของเดิม 1.1.2 งานเดินทอสุขาภิบาล(ประปาน้ําดี) บริเวณแนวบานพักตามแบบ 1.1.3 งานซอมแซมพ้ืนถนนหรือฟุตบาท ทางเดิน 1.1.4 งานร้ือถอนขางถนนพรอมทําพ้ืนกลับใหเหมือนเดิม จํานวน 10 จุด 1.1.5 งานทําฐานรากถังผลิตประปาอัตโนมัติ (ถังตกตะกอนและกรองอัตโนมัติ ) ขนาดตามแบบ 1.1.6 งานทําถังเก็บน้ําใส จํานวน 3 ถัง ขนาดตามแบบ 1.1.7 งานทําถนน ยาวประมาณ 22 ม. 1.1.8 งานปรับปรุงทาสีอาคารประปาของเดิม ตามแบบ 1.1.9 งานภูมิสถาปตยกรรมรอบสระประปา ตามแบบ 1.1.10 งานระบบไฟฟา เช่ือมระบบถังผลิตนํ้าท้ังหมด ตามแบบ 1.1.11 งานกอสรางอาคารเก็บสารเคมี เปนอาคาร ค.ส.ล. ขนาด 1 ช้ัน 1.1.12 งานกอสรางอาคารสํานักงานประปา เปนอาคาร ค.ส.ล. ขนาด 1 ช้ัน 1.1.13 งานติดต้ังถังผลิตประปาอัตโนมัติ (ถังตกตะกอนและกรองอัตโนมัติ ) ขนาด 50 ลบ.ม./ชม. จํานวน 2 ถัง 1.1.14 งานระบบเติมสารเคมี ระบบผลิตประปา 1.1.15 งานเปลี่ยนถังกรองกรองน้ําระบบA.V.G.F.ถังระบบผลิตชุดเดิม100ลบ.ม./ช.ม.และงานเปลี่ยนทอข้ึนหอถังสูงท้ังหมด 1.1.16 งานซอม พนทราย เคลือบสีอีพอกซ่ีระบบผลิตเดมิ มีองคประกอบใชสอยดังน้ี

ช้ันลาง ประกอบดวย โถงทางเดิน หองสํานักงาน หองเก็บอุปกรณ หองเก็บของ หองนํ้า เฉลียงทางเขา สรุปมีเน้ืองานบริเวณโดยรอบอาคาร นอกเหนือจากตัวอาคาร ดังน้ี

1) งานติดตั้งสายไฟฟาเช่ือมเขาอาคาร จากเสาไฟตนท่ี 3 เขาตัวอาคาร ระยะตามแบบ 2) งานติดตั้งทอ PVC. เช่ือมตอทอประปามหาวิทยาลัย บริเวณปมนํ้าดานหลังอาคารของเดิม ระยะตามแบบ 3) งานติดตั้งถังบําบัดนํ้าเสีย 1000 ลิตร จํานวน 1 ชุด ปลอยนํ้าเสียท้ิงลงทางระบายนํ้ามหาวิทยาลัย

2. วิธีการกอสราง 2.1 งานปรับปรุงบริเวณกอสราง SITE CLEARING 2.1.1 การเตรียมงาน

2.1.1.1 ผูรับจางจะตองดําเนินการตรวจสอบสํารวจบริเวณท่ีจะทําการกอสรางใหรูสภาพตางๆ ของสถานท่ีกอสราง เพ่ือท่ีจะไดเปนแนวทางในการพิจารณาในการทํางาน SITEWORK ตางๆ และลูทางสําหรับการขนสงวัสดุกอสราง

2.1.1.2 ผูรับจางจะตองรังวัดสถานท่ีกอสราง วางผัง จัดทําระดับ แนว และระยะตางๆ ตรวจสอบความถูกตอง ของหมุด หลักเขต และจัดทํารายงานถึงความถูกตอง หรือความคลาดเคลื่อน หรือความไมแนนอน แตกตางไปจากแบบกอสรางเปนลายลักษณอักษร ใหคณะกรรมการ ฯ ตรวจสอบความถูกตองกอนดําเนินงานข้ันตอไป

2.1.1.3 ผูรับจางจะตองปฏิบัติ และรับผิดชอบในการทํางาน ใหเปนไปตามกฎหมายแรงงาน หรือเทศบัญญัติรวมท้ังระเบียบขอบังคับตางๆ เพ่ือใหการปฏิบัติงานกอสรางครั้งน้ีเปนไปอยางเรียบรอย และถูกตองตามกฎหมาย

2.1.1.4 ผูรับจางจะตองหาวิธีปองกันความเสียหายอันอาจจะเกิดข้ึนกับทรัพยสินของผู อ่ืนและสาธารณูปโภค ขางเคียง และตองประกันอุบัติเหตุอันอาจจะเกิดข้ึนตอทรัพยสิน สวัสดิภาพของคนงาน และบุคคลอ่ืนอันสืบเน่ืองมาจากการปฏิบัติงานกอสราง หากมีความเสียหายใดๆ ท่ีเกิดข้ึน ไมวาจะเปนการกระทํา ของผูรับจาง หรือบริวาร หรือผูอ่ืนซึ่งปฏิบัติงานกอสรางในงานน้ี ผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดชอบ และ เปนผูชดใชคาเสียหายท้ังสิ้น

Page 17: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

14 2.1.2 งานปรับพ้ืนท่ี

หลังจากดําเนินการรื้อถอนอาคาร หรือสิ่งปลูกสราง และสิ่งกีดขวางอ่ืนๆ ท้ังท่ีอยูบนดินและใตดิน และขนยายออกจาก

บริเวณกอสรางแลว ใหดําเนินการปรับระดับพ้ืนดนิใหเรียบเสมอกัน พรอมท่ีจะดําเนินการ วางผังกอสรางอาคาร กําหนดแนว และระดับเริ่มตน

กอสราง ตามท่ีกําหนดในแบบและรายการประกอบแบบ ตามสัญญาตอไป (งานรื้อถอนโรงเลี้ยงไกของเดิม ทางสาขาจะดําเนินการเอง ) --------------------------

Page 18: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

15

หมวดท่ี 3 งานวิศวกรรมโครงสราง 1. การเจาะสํารวจดิน (ยกเลิก)

1 ใหผูรับจางทําการเจาะสํารวจดินโดยวิธี BORING TEST ตามหลักการทางวิศวกรรมโยธา ความลึกหลุมเจาะไมนอยกวา 10 ม. โดยจะตองสรุปผลใหชัดเจน 2 ตาํแหนงท่ีจะทําการเจาะสํารวจ รวมท้ังจํานวนจุดท่ีจะทําการเจาะสํารวจ ใหอยูในดุลยพินิจของ วิศวกรผูทําการเจาะสํารวจดิน ท้ังน้ีจํานวนจุดท่ีทําการเจาะสํารวจดินตองไมนอยกวา 1 จุดตอหน่ึงหลัง 3 การรายงานผลการเจาะสํารวจดิน ผูรับจางจะตองสงรายงานผลการเจาะสํารวจดิน ผลการวิเคราะห และขอเสนอแนะ ใหคณะกรรมการตรวจการจางเพ่ือพิจารณาอนุมัติ กอนดําเนินการกอสราง

2. คุณสมบัติของผูทําการเจาะสํารวจดิน (ยกเลิก) 1 ตองเปนวิศวกรประเภท สามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพวิศวกรควบคุม หรือ 2 สถาบันการศึกษา หรือนิติบุคคล ซึ่งมีวิศวกรประจํา ประเภทสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพวิศวกรควบคุม

3. เสาเข็มตอก Dai 0.22x0.22 m. safe load 20 ตัน/ตน. (ความยาวตามผลทดสอบดิน) 3.1.ใหใชเสาเข็มตอก หลอในท่ี (แบบ Dry Process) ขนาด 0.22x0.22 m.

ความยาว 6 เมตร รับนํ้าหนักปลอดภัยไดไมนอยกวาตนละ 20 ตัน การคิดคํานวณเพ่ือเสนอราคากอสราง ใหถือความยาวของเสาเข็มท่ีกําหนดใหขางตนเปนเกณฑ แตถาภายหลังปรากฏวาความยาวของเสาเข็มท่ีใชจริงตองเปลี่ยนแปลงไปจากท่ีกําหนดไว ทางราชการจะคิดหักเงินคืนจากผูรับจาง ในกรณีท่ีเข็มมีความยาวนอยกวาท่ีกําหนดไว และ/หรือคิดเพ่ิมเงินใหแกผูรับจาง ในกรณีท่ีเข็มมีความยาวมากกวาท่ีกําหนดไว โดยคํานึงถึงราคาเข็ม ตามสภาพความเปนจริงของทองตลาดในขณะน้ันเปนเกณฑ ในการคิดหักและเพ่ิมเงิน

4. ฐานราก ขนาดตามแบบรูป หรือตามท่ีคณะกรรมการเห็นสวมควร 4.1 ใหกอสรางฐานรากความลึก “D” จากระดับดินเดิม 1.50 เมตร สําหรับอาคารท่ีกอสรางบนสภาพดินเดิมปกติท่ี

เปนพ้ืนราบ แบบของฐานรากใหใชฐานรากแบบมีเสาเข็ม 4.2 ความลึกฐานรากสําหรับอาคารท่ีกอสรางบนสภาพดินเดิมท่ีเอียงลาดหรือเปนท่ีลุม ซึ่งมีจะตองถมดินจนถึงระดับ

+ 0.00 ของอาคารท่ีจะกอสราง จะตองกําหนดความลึกของฐานรากตามสภาพของดินเดิม

5. เหล็กเสริมคอนกรีต CEMENT REINFORCEMENT 5.1. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 20 - 2543 เหล็กเสนเสริมคอนกรีต: เหล็กกลม ( SR 24 ) 5.2. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก.24-2548 เหล็กเสนเสริมคอนกรีต:เหล็กขอออย (SD30หรือ SD30T และ SD40

หรือ SD40T) 5.3. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 138 - 2535 ลวดผูกเหล็ก คุณสมบัติของเหล็กเสริมคอนกรีต ดังตอไปน้ี ก. เหล็กเสนกลม (SR-24)

หนวยแรงดึงถึงจุดคลาก (Yield Stress) มีคาไมนอยกวา 240 เมกาปาสกาล (ประมาณ 24 กก./มม.2) ใชสําหรับเหล็กท่ีมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 ถึง 9 มิลลิเมตร คุณสมบัติอ่ืนๆ ตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 20 - 2543 เหล็กเสนเสริมคอนกรีต: เหล็กกลม

ข. เหล็กขอออย (SD30หรือ SD30T และ SD40หรือ SD40T) หนวยแรงดึงถึงจุดคลาก (Yield Stress) SD30 มีคาไมนอยกวา 300 เมกาปาสกาล (ประมาณ 30 กก./มม.2) และ SD40มีคาไมนอยกวา 400 เมกาปาสกาล (ประมาณ 40 กก./มม.2) ใชสําหรับเหล็กท่ีมีขนาดเสนผาศูนยกลางตั้งแต 12 ถึง 32 มิลลิเมตรคุณสมบัติอ่ืนๆ ตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 24 - 2548 เหล็กเสนเสริมคอนกรีต: เหล็กขอออย

6. คุณสมบัติของคอนกรีตโครงสรางฐานราก เสา คาน (1) วัสดุท่ีใชทําคอนกรีตเพ่ือหลอเสาเข็มจะตองมีคุณสมบัติตามท่ีกําหนดในหมวดท่ี 1 รายการท่ัวไป ขอ 2. วัสดุกอสราง (2) กําลังอัดประลัยของคอนกรีตไมนอยกวา 240 กก./ตร.ซม. เมื่อทดสอบดวยแทง กระบอกมาตรฐานขนาด Ø15x30 ซม.

ท่ีมีอายุครบ 28 วัน ( หรือ 280 Ksc. ทรงลูกบาศก ) หรือมีคากําลังอัดประลัยมากกวาคาท่ีอายุ 28 วัน

Page 19: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

16

(3) ในกรณีท่ีคณะกรรมการตรวจการจางสงสัยวา คอนกรีตท่ีใชเทโครงสรางฐานราก เสา คาน ตนใดตนหน่ึงอาจจะไมไดคุณภาพตามท่ีกําหนดในขอ (2) คณะกรรมการมีสิทธ์ิสั่งใหทําการเจาะเอาแทงคอนกรีตของเสาเข็มตนน้ัน ๆ ไปทดสอบกําลังอัดได คาใชจายในการทดสอบน้ี ใหผูรับจางเปนผูรับผิดชอบและจะตองมีวุฒิวิศวกร โยธาเปนผูลงนามรับรองผลการตรวจสอบ

7. คุณสมบัติของคอนกรีตโครงสรางพ้ืน GS , S (1) วัสดุท่ีใชทําคอนกรีตเพ่ือหลอเสาเข็มจะตองมีคุณสมบัติตามท่ีกําหนดในหมวดท่ี 1 รายการท่ัวไป ขอ 2. วัสดุกอสราง (4) กําลังอัดประลัยของคอนกรีตไมนอยกวา 240 กก./ตร.ซม. เมื่อทดสอบดวยแทง กระบอกมาตรฐานขนาด Ø15x30 ซม.

ท่ีมีอายุครบ 28 วัน ( หรือ 280 Ksc. ทรงลูกบาศก ) หรือมีคากําลังอัดประลัยมากกวาคาท่ีอายุ 28 วัน (5) ในกรณีท่ีคณะกรรมการตรวจการจางสงสัยวา คอนกรีตท่ีใชเทโครงสรางพ้ืน ตนใดตนหน่ึงอาจจะไมไดคุณภาพตามท่ี

กําหนดในขอ (2) คณะกรรมการมีสิทธ์ิสั่งใหทําการเจาะเอาแทงคอนกรีตของเสาเข็มตนน้ัน ๆ ไปทดสอบกําลังอัดได คาใชจายในการทดสอบน้ี ใหผูรับจางเปนผูรับผิดชอบและจะตองมีวุฒิวิศวกร โยธาเปนผูลงนามรับรองผลการตรวจสอบ

---------------------------------

Page 20: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

17

หมวดท่ี 4 งานสถาปตยกรรม

1 งานผิวพ้ืน ใหยึดวัสดุตามแบบรูป หากไมมีรายละเอียดในรายการ ใหนําเสนอคณะกรรมการตรวจรบัพัสด ุหรือพิจารณากอนการดําเนินการ

1.1. (F.1) งานพ้ืน ค.ส.ล. ซีเมนตขัดเรียบ การทําผิวขัดเรียบหลังจากเทพ้ืน ค.ส.ล. แลวผิวยังหมาดๆ อยูใหใชเกรียงไมปาดผิวใหเรียบหามผูรับจางแยก ทํางานเทคอนกรีตกอน แลวจึงทําผิวเรียบในวันหลัง เพราะผิวปูนทรายจะแตกราวไดในภายหนาและจะตองทําการบมพ้ืนทันทีท่ีท้ิงใหพ้ืนดังกลาวเซ็ทตัวแลวภายใน 24 ชม. โดยการ ใชกระสอบชุบนํ้าคลุม หรือปนขอบดินเหนียวขังนํ้าใหความชุมช้ืนไวตลอดเวลา 7 วัน

1.2. (F.2) งานพ้ืน ค.ส.ล. กระเบ้ืองเคลือบเซรามิค ขนาด 12 x 12 น้ิว เกรด A มีมอก.37-2529 สีลาย ใหผูรับจางเสนอใหคณะกรรมการฯ เลือก ภายนอกใชชนิดกันลื่น ภายในใชผิวเรียบ

1) ขอกําหนดท่ัวไป 1.1 ผูรับจางจะตองสงรายละเอียด ขอกําหนดคุณสมบัติของผลิตภัณฑท่ีใช ขอมูลทางเทคนิค ขอแนะนําการติดตั้ง และขอมูล

อ่ืนๆ ท่ีเก่ียวกับสินคาของตนตามท่ีผูควบคุมงานตองการเพ่ือพิจารณาตรวจสอบ 1.2 ผูรับจางตองจัดทํา Shop Drawing เพ่ือใหผูควบคุมงานตรวจสอบโดยแสดงรายละเอียดดังตอไปน้ี

ก. แปลน และรูปดานของการปูกระเบ้ืองท้ังหมด ระบุรุนของกระเบ้ืองแตละรุนใหชัดเจน ข. แบบขยายการติดตั้งบริเวณ ขอบ มุม รอยตอ จุดจบ ตําแหนงของเสนแบงแนว หรือ เสนขอบคิ้ว PVC และ เศษของกระเบ้ืองทุกสวน ค. อัตราความลาดเอียงและทิศทางการไหลของนํ้าของพ้ืนแตละสวน ง. แบบขยายอ่ืน ท่ีเก่ียวของหรือจําเปนตามท่ีผูควบคุมงานตองการ อาทิ ตําแหนงติดตั้งอุปกรณงานระบบท่ีเก่ียวของ เชน สวิตช ปลั๊ก ทอระบายนํ้าท่ีพ้ืน หรือ ชองซอมบํารุง ตางๆเปนตน

1.3 ผูรับจางจะตองจัดหาวัสดุแรงงานและอุปกรณอ่ืน ๆ ท่ีจําเปนในการบุ ปูกระเบ้ือง ตามระบุในแบบรูปและรายการ รวมถึงการทําความสะอาดปองกันมิใหสวนท่ีทําการตกแตงแลวชํารุดเสียหาย

2) วัสดุ 2.1 วัสดุท่ีนํามาใช ตองเปนวัสดุใหมท่ีไดมาตรฐานของผูผลิต ปราศจากรอยราว หรือตําหนิใดๆ 2.2 รายละเอียด รูปแบบ ชนิด ขนาด ความหนา สี และลวดลาย ตามท่ีระบุในแบบ

2.3 ใหใชกระเบ้ืองช้ันคุณภาพท่ี 1 ขนาดใหเปนไปตามแบบ คุณสมบัติไมต่ํากวา มอก. 37-2529 กระเบ้ืองดินเผาปูพ้ืน เปนกระเบ้ืองสําหรับปูพ้ืนท้ังหมด 3) วิธีการดําเนินงาน

3.1 การเตรียมผิว

ก. ทําความสะอาดพ้ืนผิวท่ีจะปูกระเบ้ืองใหสะอาดปราศจากฝุนผงคราบไขมันและสกัดเศษปูนทรายท่ีเกาะอยูออกใหหมด

ลางทําความสะอาดดวยนํ้า ข. เทปูนทรายหรือฉาบปูนรองพ้ืน เพ่ือปรับระดับใหไดดิ่ง ไดฉาก ไดแนว ไดความลาดเอียงตามขอกําหนดท่ีระบุไวในงาน

ฉาบปูน ขูดขีดผิวใหเปนรอยหยาบตลอดพ้ืนท่ีขณะท่ีผิวปูนทรายยังหมาดๆอยู ค. หลังจากเทปูนทรายหรือฉาบปูนรองพ้ืนแลว 24 ช่ัวโมง ใหทําการบมตลอด 3 วัน แลวจึงเริ่มดําเนินการปูกระเบ้ือง ง. การเตรียมแผนกระเบ้ือง ใหนําไปแชนํ้า กอนนํามาใช จ. กอนปูกระเบ้ืองตองทําระบบกันซึมพ้ืนหองนํ้า หรือพ้ืนระเบียง ตามภาพประกอบ

Page 21: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

18

ฉ. กอนปูกระเบ้ือง ใหราดนํ้าทําความสะอาดพ้ืนใหเรียบรอย และใชกาวซีเมนตในการยึดติดกระเบ้ือง ดวยการโบกใหท่ัว

พ้ืน หรือผนัง แลวจึงปูกระเบ้ือง โดยใหถือปฏิบัติตามท่ีระบุในรายละเอียดผลิตภัณฑ และดําเนินการตามมาตรฐานผูผลิตโดยเครงครัด

3.2 การปูกระเบ้ือง

ก. ทําการหาแนวกระเบ้ือง กําหนดจํานวนแผน และเศษแผนตามความเห็นชอบของผูควบคุมงาน แนวกระเบ้ืองท่ัวไปให

หางกันประมาณ 2 มิลลิเมตร หรือตามท่ีระบุไวในแบบ

ข. ทําความสะอาดผิวปูนทรายรองพ้ืนใหสะอาด ปราศจากคราบไขมัน และเศษปูนทรายหรือสิ่งสกปรกอ่ืนใด แลวพรมนํ้าให

เปยกโดยท่ัวกันเริ่มปูกระเบ้ืองตามแนวท่ีแบงไว โดยใชกาวซีเมนตเปนตัวยึด

ค. จัดแตงแนวใหตรงกันทุกดานท้ังพ้ืนและผนัง การเขามุมกระเบ้ืองตองใชวิธีเจียรขอบ 45 องศาประกบเขามุมเวนแตจะ

ระบุไวเปนอยางอ่ืน

ง. กดเคาะแผนกระเบ้ืองใหแนนไมเปนโพรง ในกรณีท่ีเปนโพรงจะตองรื้อออกและทําการบุใหม

จ. ขอบมุมกระเบ้ืองโดยท่ัวไป ใหใชเสน PVC สําเร็จรูปติดตั้งตามลักษณะของแตละมุมสวนสีเปนไปตามท่ีระบุ

ฉ. ไมอนุญาตใหปูกระเบ้ืองทับขอบวงกบใดๆ ทุกกรณี

ช. หลังจากปูกระเบ้ืองแลวเสร็จ ท้ิงใหกระเบ้ืองแหงแข็งตัวโดยไมถูกกระทบกระเทือนเปนระยะเวลา อยางนอย 2 วัน ยา

แนวรอยตอดวยกาวซีเมนตสําหรับยาแนวโดยเฉพาะ โดยใชสีตามท่ีสถาปนิกกําหนดให

ซ. ผิวกระเบ้ืองท้ังหมดเมื่อปูเสร็จเรียบรอยแลวจะตองไดดิ่ง ไดแนว ไดระดับ เรียบสม่ําเสมอ ความไมเรียบรอยใดๆ ท่ี

เกิดข้ึนตามความเห็นของสถาปนิก ผูรับจางจะตองดําเนินการแกไขโดยเปนคาใชจายของผูรับจางท้ังหมด

ฌ. ท้ิงไวจนปูนยาแนวแหงหมาดๆ จึงเริ่มเช็ดทําความสะอาดคราบนํ้าปูนท่ีติดอยูบนแผนกระเบ้ืองออกใหเรียบรอย

ญ. ทําความสะอาดผิวกระเบ้ือง แลวลง Wax ขัดใหท่ัวอยางนอย 1 ครั้ง

ฎ. กระเบ้ืองดินเผาท่ีไมไดเคลือบผิว หลังจากปูเสร็จแลว จะตองเคลือบผิวดวยนํ้ายาเคลือบใสประเภท PENETRATION

SEALER ใหท่ัวพ้ืนอยางนอย 2 เท่ียว

Page 22: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

19 1.5 บัวพ้ืน PVC ขนาด 4" หนา 8 มม. ชนิดแบบตัน มีรายละเอียดตามภาพแสดง

2 งานผิวผนัง ใหยึดวัสดุตามแบบรูป หากไมมีรายละเอียดในรายการ ใหนําเสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือพิจารณากอน

การดําเนินการ 2.1 รายการผิวผนัง

2.1.1 (ผ.1) ผนังกออิฐบฉาบปูนเรียบ 2 ดาน อิฐตองเปนอิฐท่ีเผาสุกพอดีและไมแตกเปราะไดงาย และเปนผนังกออิฐมอญครึ่งแผน ฉาบปูนเรียบ 2 ดาน 2.1.2 (ผ.2) ผนังกออิฐฉาบปูนปูกระเบ้ืองเคลือบเซรามิค ขนาด 12” x 12“ หรือขนาด 8” x 16 “ สลับ 4”x16”หรือขนาด 8"x 8" เกรด A มีมอก.37-2529 สีลาย ใหผูรับจางเสนอใหคณะกรรมการฯ เลือก ภายนอกใชชนิดกันลื่น ภายในใชผิวเรียบ และงานปูกระเบ้ืองเซรามิกหองนํ้า ใหแนวพ้ืนตรงกับแนวผนังและทุกมุมใสบัวกาบกลวย PVC สีใกลเคียงกับสีกระเบ้ืองกรุผนัง หรือสีท่ีคณะกรรมการตรวจการจางเลือก 2.1.3 (ผ.3) ผนังไมระแนงสังเคราะหสําเร็จรูปประเภทไฟเบอรซีเมนต ขนาด 75 x 3000 x 8 มม. ตีเวนรอง 2” โครงคราวเหล็กกลองกลวงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด 3” x 3” หนา 2 มม. 2.1.4 (ผ.4) ผนงัเหล็กรีดลอน BMT หนา 0.35 มม. มีAZ150 (ไมมีฉนวน)

2.2 การเก็บรักษา วัสดุกอทุกชนิดจะตองจัดวางเรียงใหเปนระเบียบเรียบรอยและมั่นคง การเก็บเรียงซอนกันควรสูงไมเกิน 2 เมตร บริเวณท่ีเก็บ

จะตองไมถูกสิ่งสกปรก หรือนํ้าท่ีจะกอใหเกิดตะไครนํ้า หรือราไดท้ังน้ีวัสดุกอท่ีมีสิ่งสกปรกจับแนนหรืออินทรียวัตถุ เชน ราหรือตะไครนํ้าจับ จะนําไปใชกอไมได

2.3 การกอ 2.3.1) ผนังกอบนพ้ืน คสล. ทุกแหง ผิวหนาของพ้ืน คสล. จะตองสกัดผิวใหขรุขระ แลวทําความสะอาดและราดนํ้าใหเปยก

เสียกอนท่ีจะกอผนัง และโดยเฉพาะการกอผนังริมนอกโดยรอบอาคารและ โดยรอบหองนํ้าจะตองเทคอนกรีตกวางเทากับผนังกอและสูงจากพ้ืน คสล. 10 ซม. กอนจึงกอผนังทับได เพ่ือกันนํ้ารั่วซึม

2.3.2) ผนังกอชนเสา คสล. ผิวหนาของเสา คสล. จะตองสกัดผิวใหขรุขระแลวทําความสะอาดและราดนํ้าใหเปยกเสียกอน กอนท่ีจะกอผนัง และจะตองยื่นเหล็กขนาด dia.6 มม. ยาว 30 ซม. ทุกระยะไมเกิน 80 ซม. ท่ีเตรียมไวในขณะเทคอนกรีตเสา ผนังกอท้ังหมดจะตองเสริมดวยเหล็กกางปลาขนาด 10x20 มม. ตามแนวนอนตลอดความยาวของกําแพงปลายท้ัง 2 ดานจะอยูระดับเดียวกับเหล็กท่ียื่นออกจากเสาเหล็กกางปลาจะตองฝงเรียบ ในแนวปูนกอขนาดความกวางของเหล็กกางปลาจะตองมีความกวางเทากับความกวางของวัสดุท่ีใชกอผนังเพ่ือชวยปดผนังกอ การตอเหล็กกางปลาใหตอซอนทับกันอยางนอย 20 ซม.

2.3.3) ใหกอคอนกรีตบล็อกในลักษณะแหง โดยไมจําเปนตองนําไปแชนํ้าหรือสาดนํ้ากอน เวนแตวาตองการทําความสะอาดกอนคอนกรีตบล็อกเทาน้ัน สวนการกอวัสดุกอประเภทอิฐตางๆ กอน นําอิฐมากอจะตองนําไปแชนํ้าใหเปยกเสียกอน

2.3.4) การกอผนังจะตองไดแนว ไดดิ่งและไดระดับและตองเรียบ โดยการท้ิงดิ่งและใชเชือกดึงจับระดับท้ัง 2 แนวตลอดเวลาผนังกอท่ีกอเปดเรียบรอยมีขนาดตามระบุในแบบกอสรางและจะตองมีเสาเอ็นหรือทับหลังโดยรอบ

2.3.5) แนวปูนจะตองหนาประมาณ 1 ซม. และตองใสปูนกอใหเต็มรอยตอโดยรอบแผนวัสดุกอนการเรียงกอตองกดกอนวัสดุกอ และใชเกรียงอัดใหแนนไมใหมีซอกมีรูหามใชปูนกอท่ีกําลังเริ่มแข็งตัวหรือเศษปูนกอท่ีเหลือรวงจากการกอมาใชกออีก

2.3.6) การกอผนังในชวงเดียวกันจะตองกอใหมีความสูงใกลเคียงกัน หามกอผนังสวนหน่ึงสวนใดสูงกวาสวนท่ีเหลือเกิน 1 เมตร และผนังกอหากกอไมแลวเสร็จในวันน้ัน สวนบนของผนังกอท่ีกอคางไวจะตองหาสิ่งปกคลุมเพ่ือปองกันฝน

2.3.7) ผู รับจ างจะต องทํ าช องเต รียม ไว ในขณ ะกอผ นั ง ส วนงานของระบบ อ่ืนๆ ท่ี เก่ี ยวข อง เชน ระบบ ไฟฟาระบบสุขาภิบาล ระบบปรับอากาศ ฯลฯ การสกัดและการเจาะผนังกอเพ่ือติดตั้งระบบดังกลาว จะตองยื่นขออนุมัติจากสถาปนิกเสียกอน เมื่อไดรับการอนุมัติแลวจึงจะดําเนินการไดท้ังน้ีจะตองดําเนินการสกัดเจาะดวยความประณีตและตองระมัดระวังมิใหผนังกอบริเวณใกลเคียงแตกราวเสียความแข็งแรงไป

Page 23: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

20

2.3.8) ผนังกอท่ีไมฉาบปูนหรือกอโชวแนวการกอจะตองจัดกอนวัสดุกอใหไดแนวดิ่งและไดแนวระดับผิวหนาเรียบไดระดับอยางสม่ําเสมอ โดยแนวปูนกอตองมีความกวางไมเกิน 15 มม.ยกเวนจากท่ีระบุเปนอยางอ่ืนแลวใหใชเครื่องมือขูดรอง รอยแนวปูนกอลึกเขาไปประมาณ 5 มม. และผนังกอโชวแนวภายนอกอาคาร เมื่อปูนแหงแข็งตัวดีแลว ผูรับจางจะตองท้ิงใหผนังแหงสนิท พรอมท้ังทําความสะอาดผนังใหเรียบรอยแลวทาดวยนํ้ายาประเภท Silicone เพ่ือกันซึมและปองกันพวกรา ตะไครนํ้าจับ

2.3.9) ผนังกอริมนอกโดยรอบอาคาร ในกรณีกอผนังชิดขอบดานในเสาและคานหรือในระหวางก่ึงกลางของเสาและคานในขณะเทคอนกรีต ผูรับจางจะตองเตรียมรองลึก 12 มม. กวางเทากับความหนาของผนังไวท่ีขางเสา และใตคาน คสล. ตลอดแนวผนังกอ

2.3.10) ผ นั งท่ี ก อชนคาน คสล . หรือ พ้ื น คสล . จะต องเวนช อ งไวป ระมาณ 10-20 ซม .เป น เวลาไม น อยกว า 3 วันเพ่ือใหปูนกอแข็งตัวและทรุดตัวจนไดท่ีเสียกอนจึงทําการกอใหชนทองคานหรือทองพ้ืนได

2.3.11) ผนังกอท่ีกอใหมจะตองไมกระทบกระเทือนหรือรับนํ้าหนักเปนเวลาไมนอยกวา 3 วัน หลังจากกอผนังเสร็จเรียบรอยแลว

2.4 การทําเสาเอ็นและคานเอ็น คสล. 2.4.1) เสาเอ็นท่ีมุมผนังกอทุกมุมหรือท่ีผนังกอหยุดลอยๆ โดยไมติดเสาคสล. หรือตรงท่ีผนังกอติดกับวงกบ ประตู-หนาตาง

จะตองมีเสาเอ็นขนาดของเสาเอ็นจะตองไมเล็กกวา 10 ซม. และมีความกวางเทากับผนังกอเสาเอ็นจะตองเสรมิดวยเหลก็ 2-dia.9 มม. และมีเหล็กปลอก dia. 6 มม. @ 20 ซม. เหล็กเสริมเสาเอ็นจะตองฝงลึกลงในพ้ืน และคานดานบน โดยโผลเหล็กเตรียมไว ผนังกอท่ีกวางเกินกวา 3 เมตร จะตองมีเสาเอ็นแบงครึ่งชวงสูงตลอดความสูงของผนังคอนกรีตท่ีใชเทเสาเอ็น จะตองใชสวน 1:2:4 โดยปริมาณ สวนหินใหใชหินเล็ก

2.4.2) คานทับหลัง ผนังกอท่ีกอสูงไมถึงทองคาน หรือพ้ืน คสล. หรือผนังท่ีกอชนใตวงกบหนาตาง หรือเหนือวงกบประตู-หนาตางท่ีกอผนังทับดานบนจะตองมีคานทับหลังและขนาดจะตองไมเล็กกวาเสาเอ็นตามท่ีระบุมาแลว และผนังกอท่ีสูงเกินกวา 3 เมตร จะตองมีคานทับหลังตรงกลางชวงเหล็กเสริมคานทับหลังจะตองตอกับเหล็กท่ีเสียบไวในเสาหรือเสาเอ็น คสล.

2.4.3) การทําเสาเอ็นในผนังคอนกรีตบล็อกใหเสียบเหล็ก 2 dia. 9 มม. ในชองบล็อก @ 2.00 ม. และเทปูนทรายใหเต็มชองแทนการทําเสาเอ็น คานเอ็นในคอนกรีตบล็อกโชวแนวใหใชคานทับหลัง (Lintel Block) รูปตัว U ใสเหล็กและกรอกปูนทรายใหเต็มชอง

2.5 การทําความสะอาด เมื่อกอผนังเสร็จเรียบรอยแลว ตองทําความสะอาดผิวหนังแนวปูนกอท้ัง 2 ดานใหปราศจากเศษปูนกอเกาะติดผนัง เศษปูนท่ี

ตกท่ีพ้ืนจะตองเก็บกวาดท้ิงใหหมด ใหเรียบรอยทุกครั้งกอนปูนแข็งตัว

2.6 การตกแตงผิวผนัง 2.6.1) การฉาบปูน

(1) ขอบเขตของงาน งานฉาบปูน หมายรวมถึง งานฉาบปูนผนังวัสดุกอสราง ผนัง ค.ส.ล. และงานฉาบปูน โครงสราง ค.ส.ล. เชน เสา คาน และทองพ้ืน ตลอดจนฉาบปูนในสวนท่ีมองเห็นดวยตาท้ังหมด นอกจากจะไดระบุไวเปนอยางอ่ืน (2) หลักการท่ัวไป (ก) การฉาบปูนท้ังหมดเมื่อฉาบครั้งสุดทายเสร็จเรียบรอยแลวผนังจะตองเรียบสะอาดสม่ําเสมอ ไมเปนรอยคลื่น และรอยเกรียงไดดิ่งไดระดับ ท้ังแนวนอน และแนวตั้ง มุมทุกมุมจะตองตรงไดดิ่งและฉาก (เวนแตท่ีระบุไวเปนพิเศษในแบบกอสราง) (ข) หากมิไดระบุลักษณะการฉาบปูนเปนอยางใดอยางหน่ึงใหถือวาเปนลักษณะการฉาบปูนเรียบท้ังหมด (ค) ผนังฉาบปูน การฉาบปูนใหทําการฉาบปูน 2 ครั้งเสมอ คือ ฉาบปูนรองพ้ืนและฉาบปูนตกแตง (3) วัสดุ

(ก) ปูนซีเมนต ใหปูนซีเมนตผสมตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 80-2517 (ข) ทราย เปนทรายนํ้าจืดท่ีสะอาด คมแข็ง ปราศจากดินหรือสิ่งสกปรกเจือปนหรือเคลือบอยู ผานตะแกรงรอนเบอร 4 100% ผานตะแกรงรอนเบอร 16 60-90% ผานตะแกรงรอนเบอร 50 10-30% ผานตะแกรงรอนเบอร 100 1-10% (ค) นํ้ายาผสมปูนฉาบนํ้ายาผสมปูนฉาบท่ีผูรับจางใชผสมแทนปูนขาวใหใชไดตามสัดสวน คําแนะนําของ

บริษัทผูผลิต โดยจะตองไดรับการอนุมัติจากบริษัทท่ีปรึกษาแลวจึงจะใชแทนได

Page 24: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

21

(ง) นํ้า ตองใสสะอาดปราศจากนํ้ามันกรดตางๆ ดาง เกลือ พฤกษธาตุ และสิ่งสกปรกเจื่อปน หามใชนํ้าจาก คู คลอง หรือแหลงอ่ืนใดกอนไดรับอนุญาต และนํ้าท่ีขุนจะตองทําใหใสและตกตะกอนเสียกอน จึงจะนํามาใชได (4) สวนผสมปูนฉาบ ปูนฉาบรองพ้ืนอัตราสวน 1:3 โดยใชปูนซีเมนต 1 สวน ผสมกับทรายกลาง 3 สวน (5) การผสมปูนฉาบ (ก) การผสมปูนฉาบจะตองนําสวนผสมเขารวมกันดวยเครื่องผสมคอนกรีต การผสมดวยมือ จะอนุมัติใหใชไดในกรณีท่ีผูควบคุมงานพิจารณาเห็นวาไดคุณภาพเทียบเทา ผสมดวยเครื่อง (ข) สวนผสมของนํ้าจะตองพอเหมาะกับการฉาบปูน ไมเปยกหรือแหงเกินไปทําใหปูนฉาบไมยึดเกาะผนัง (6) การเตรียมผิวฉาบปูน (ก) ผิว ค.ส.ล. ผิวท่ีจะฉาบจะตองทําใหผิวขรุขระเสียกอน อาจโดยการสกัดผิวหนาหรือใชทรายพนขัด หรือใชแปรงลวดขัด หรือใชกรดจําพวกมิวริแอติค ผสมกับนํ้า 1:6 สวน ลางผิวคอนกรีตแตตองลางและขจัดผงเศษวัสดุออกใหหมดกอนนํ้ามันทาไมแบบในการเทคอนกรีตจะตองขัดลางออกใหสะอาดดวยเชนเดียวกันแลวราดนํ้าและทานํ้าปูนซีเมนตขนๆ ใหท่ัวเมื่อนํ้าปูนแหงแลว ใหสลัดดวยปูนทราย 1:1 โดยใชแปรงหรือไมกวาดจุมสลัดเปนมัดๆ ใหท่ัว ท้ิงใหปูนทรายแหงแข็งตัวประมาณ 24 ชม. จึงราดนํ้าใหความชุมช้ืนตลอด 48 ชม. และท้ิงไวใหแหงจึงจะดําเนินงานข้ันตอไป (ข) ผิววัสดุกอ ผนังกอ วัสดุกอตางๆ จะตองท้ิงไวใหแหง และทรุดตัวจนคงท่ีแลวเสียกอน (อยางนอยหลังจากกอผนังเสร็จแลว 7 วัน) จึงทําการสกัดเศษปูนออก ทําความสะอาดผิวใหปราศจากไขมันหรือนํ้ามันตางๆ ฝุนผง (7) การฉาบปูน (ก) การฉาบปูนรองพ้ืน จะตองตั้งเฟยมทําระดับ จับเหลี่ยม เสาคานขอบค.ส.ล. ตางๆ ใหเรียบรอยไดแนวดิ่ง และแนวระดับ ผนังและฝาเพดานควรจะทําระดับไวเปนจุดๆ ใหท่ัวเพ่ือใหการฉาบปูนรวดเร็วและเรียบรอยข้ึนโดยใชปูนเค็ม สวนผสมปูนซีเมนต 1 สวน ทรายละเอียด 1 สวน ภายหลังปูนท่ีตั้งเฟยมทําระดับเสร็จเรียบรอยและแหงดีแลว ใหราดนํ้าหรือฉีดนํ้าใหบริเวณท่ีจะฉาบปูนตามอัตราสวนผสมและวิธีผสมตามท่ีกําหนดใหแลวใหฉาบปูนรองพ้ืนไดระดับใกลเคียงกันกับระดับแนวท่ีเฟยมไว (ความหนาของปูนฉาบรองพ้ืนประมาณ 10 มม.) โดยใชเกรียงไมฉาบอัดปูนใหเกาะติดแนนกับผิวพ้ืนท่ีฉาบปูน และกอนท่ีปูนฉาบรองพ้ืนจะเริ่มแข็งตัวใหขูดขีดผิวหนาของปูนฉาบใหขรุขระเปนรอยไปมาโดยท่ัวกัน เพ่ือใหการยึดเกาะตัวของปูนฉาบตกแตงยึดเกาะดีข้ึน เมื่อฉาบปูนรองพ้ืนเสร็จแลว จะตองบมปูนฉาบตลอด 48 ชม. และท้ิงไวใหแหงกอน 7 วัน จึงทําการฉาบปูนตกแตงได การฉาบปูนภายนอกตรงผนังวัสดุกอท่ีผนังกอตอกับโครงสรางคอนกรีตเสาคานใหปองกันการแตกราว โดยใชแผนตะแกรงชนิด GALVANIZED EXPANDED METAL JOINT STRIPS ตอกตะปูยึดยาวตลอดแนวรอยตอแลวจึงทําการฉาบปูนรองพ้ืนได (ข) การฉาบปูนตกแตง กอนฉาบปูนตกแตง ใหทําความสะอาดและราดนํ้าบริเวณท่ีจะฉาบปูนใหเปยกโดยท่ัวกันเสียกอนจึงฉาบปูนตกแตงได โดยใชอัตราสวนผสมตามท่ีกําหนดใหและฉาบปูนใหไดตามระดบัท่ีเฟยมไว การฉาบปูนในช้ันน้ีใหหนาไมเกิน 8 มม.) โดยใชไมเกรียงไมฉาบอัดปูนใหเกาะติดแนนกับช้ันปูนฉาบรองพ้ืน และตองหมั่นพรมนํ้าใหเปยกช้ืนตลอดเวลาฉาบ ขัดตกแตงปรับจนผิวไดระดับเรียบรอยตามท่ีตองการดวยเกรียงไมยาง เพ่ือปองกันการเวาหรือแอนของผิวปูนฉาบ สําหรับชองเปดตางๆ ตองฉาบปูนใหไดมุมของเปดเหลาน้ี ตามท่ีกําหนดไว โดยท่ีดานของมุมไดระดับเดียวกัน ไมเวาหรือปูตลอดแนว (ค) การฉาบปูนในลักษณะพ้ืนท่ีกวาง การฉาบปูนตกแตง หรือฉาบปูนรองพ้ืนบนพ้ืนท่ีระนาบนอน เอียงลาดหรือระนาบตั้ง ซึ่งมีขนาดกวางเกิน 9 ตารางเมตร หากในรูปแบบหรือรายละเอียดประกอบแบบกอสรางไดระบุใหมีแนวเสนแบงท่ีแสดงไวอยางชัดเจน ผูรับจางจะตองขอคําแนะนําพิจารณาจากผูควบคุมงานในการแบงแนวเสนปูนฉาบหรือใหใสแผนตะแกรงชนิด GALVANIZED EXPANDED METAL BEAD ชวยยึดปูนฉาบตลอดแนว หากผูรับจางมิไดปฏิบัติตามในกรณีดังกลาวขางตน ผูควบคุมงานอาจสั่งใหเคาะสกัดปูนฉาบออกแลวฉาบใหม โดยผูรับจางจะตองรับผิดชอบในคาใชจายท้ังหมด ในกรณีท่ีระบุใหฉาบปูนขัดผิวมันใหฉาบปูนตกแตงปรับใหไดระดับตกแตงผิวจนเรียบรอยแลว ใหใชนํ้าปูนขนๆ ทาโบกทับหนาใหท่ัว ขัดผิวเรียบดวยเกรียงเหล็ก ในกรณีท่ีระบุใหฉาบปูนผสมนํ้ายากันซึมขัดผิวมัน ปูนฉาบช้ันรองพ้ืนและปูนฉาบช้ันตกแตงจะตองผสมนํ้ายากันซึม ลงในสวนผสมของปูน ทราย ตามอัตราสวนและคําแนะนําของผูผลิตโดยเครงครัดและทําการขัดผิวมันดังท่ีระบุในรายละเอียดประกอบแบบกอสรางน้ี (8) การซอมผิวฉาบปูน ผิวปูนฉาบท่ีแตกราว หลุดรอนหรือปูนไมจับกับผวิพ้ืนท่ีท่ีฉาบไป หรือฉาบปูนซอมรอยสกัดตางๆ จะตองทําการซอมโดยการเคาะสกัดปูนฉาบเดิมออกเปนบริเวณกวางไมนอยกวา 10 ซม. และทําผิวใหขรุขระฉีดนํ้าลางใหสะอาดแลวฉาบปูนใหม ตามขอการฉาบปูนขางตนดวยทรายท่ีมีขนาดและคุณสมบัติเดียวกันกับผิวปูนเดิม ผิวปูนท่ีฉาบใหมแลวจะตองเรียบสนิทเปนเน้ือเดียวกับผิวปูนเดิม หามใชฟองนํ้าชุบนํ้าในการตกแตงผิวปูนฉาบซอมน้ี (9) การปองกันผิวปูนฉาบ

Page 25: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

22 จะตองบมผิวปูนฉาบท่ีฉาบเสร็จใหมๆ แตละช้ันใหมีความช้ืนอยูตลอดเวลา 82 ชม. โดยใชนํ้าพนเปนละอองละเอียดและพยายามหาทางปองกันและหลีกเลี่ยงมิใหถูกแสงแดดโดยตรง หรือมีลมพัดจัด การบมผิวน้ี ใหผูรับจางถือเปนสิ่งสําคัญท่ีจะตองใหการดูแลเปนพิเศษดวย

2.6.2) การฉาบปูนขัดมัน กรรมวิธีการทํางานเหมือนการฉาบปูนในขอ 2.6.1 หลังจากฉาบปูนผิวหนาและปรับจนไดระดับตกแตงผิวจนเรียบรอย

แลว ใหพรมนํ้า และโรยปูนซีเมนตผงทับหนาใหท่ัว ขัดผิวใหเรียบมันดวยเกรียงเหล็ก 2.6.3) การฉาบปูนขัดมันกันซึม ขณะผสมปูนฉาบท้ัง 2 ช้ัน ใหผสมนํ้ายากันซึม มีสัดสวนตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิตแลวจึงฉาบ

2.7 บัวเชิงผนัง ถามิไดระบุในแบบหรือรายการกอสรางใหชัดเจน ใหปฏิบัติตามรายการ ดังน้ี

1) บัวเชิงผนังของพ้ืนเซรามิค ใหบุดวยแผนเซรามิค สูง 4" สีตามท่ีกําหนดให

2) บัวเชิงผนังของพ้ืนทรายลาง, กรวดลาง, หินลางและหินขัด ใหใชวัสดุชนิดเดียวกันสูง 4" มุมท่ีจรดกันระหวาง

พ้ืนกับผนังใหทํามุมโคงรัศมี 1/2"

3 งานฝาเพดาน ใหยึดวัสดุตามแบบรูป หากไมมีรายละเอียดในรายการ ใหนําเสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือพิจารณากอนการดําเนินการ

(C1) ไมมีฝาเพดาน ทาสีอะครีลิค 100 % 4 งานหลังคา ใหยึดวัสดุตามแบบรูป หากไมมีรายละเอียดในรายการ ใหนําเสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือพิจารณากอนการดําเนินการ

4.1. หลังคาแผนเหล็กรีดลอนเคลือบสี ( สีแดง ) ความหนาสุทธิไมนอยกวา 0.35 มม. (BMT) คุณสมบัติ AZ150 พรอมฉนวนแผนโพลีเอธิลีนโฟมข้ึนรูปตามรูปหลังคาหนา 10 มม. FLASIHNG เหล็กเคลือบสีหนาสุทธิไมนอยกวา 0.35มม. ( BMT ) คุณสมบัติ AZ 150 ท้ังแผนหลังคาและ FLASHING ตองมีเอกสารรับรองจากบริษัทผูผลิตเหล็กวาใชเหล็กความหนาไมนอยกวากําหนด มีคุณสมบัติ AZ 150 หรือเอกสารรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ( ถามีประกาศใช )

4.2. แปเหล็กรูปพรรณตัว C ขนาด 75 x 45 x 15 หนา 2.3 มม. หรือขนาดตามแบบ 4.3. โครงถัก ประกอบดวย 4.3.1 เหล็กกลองกลวงสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด100x50หนา2.3มม. หรือขนาดตามแบบ 4.3.2 อะเสเหล็กกลองกลวงสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาด 100x50 หนา 2.3 มม. หรือขนาดตามแบบ 4.4. แผนเหล็กขนาด 0.20x0.20 ม. หนา 6 มม. หรือขนาดตามแบบ 4.5. สลักเกลียว 4- ศก.15 มม. ยาว 35 ซม. หรือขนาดตามแบบ 4.6. เหล็กฉาก L -40x40x4มม.ยาว 20 ซม. หรือขนาดตามแบบ

5 งานประตู หนาตาง และชองแสง ใหยึดวัสดุตามแบบรูป หากไมมีรายละเอียดในรายการ ใหนําเสนอคณะกรรมการตรวจรบัพัสด ุหรือพิจารณากอนการดําเนินการ ป.1 ประตูบานเปด วงกบ PVC. 2”x 4” ทําสีจากโรงงานผูผลิต

บานประตู PVC. และลูกฟกเกล็ด PVC. ทําสีจากโรงงานผูผลิต มือจับลูกบิด STAINLESS บานพับ STAINLESS 3” x 4” จํานวน 3 ชุด กลอน STAINLESS ขนาด 4”

ป.2 ประตูบานเปด วงกบอะลูมิเนียม 2”x 4” หนา 1.5 มม.สีธรรมชาติ กรอบบานทําจากอะลูมิเนียม หนา 1.5 มม. กระจกใส หนา 6 มม. และมีอุปกรณครบชุดตามแบบผูผลิต

ป.3 ประตูบานเปดเดี่ยว มีชองแสงกระจกใส หนา 6 มม. ติดตาย

วงกบไมเน้ือแข็ง 2”x 4” ทาสีนํ้ามัน บานประตูไมอัดยาง ทาสีนํ้ามัน มือจับลูกบิด STAINLESS บานพับ STAINLESS 3” x 4” จํานวน 3 ชุด

Page 26: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

23

กลอน STAINLESS ขนาด 8” กันชน กันชนแมเหล็ก

น.1 หนาตางบานกระทุงอะลูมิเนียม หนา 1.5 มม.สีธรรมชาติ กรอบบานทําจากอะลูมิเนียม หนา 1.5 มม. กระจกใส หนา 6 มม. และมีอุปกรณครบชุดตามแบบผูผลิต

น.2 หนาตางบานเกล็ดอะลูมิเนียมติดตาย วงกบอะลูมิเนียม 2”x4”หนา 1.5 มม. สีธรรมชาติ กรอบบานทําจากอะลูมิเนียม หนา 1.5 มม. กระจกใส หนา 6 มม. และมีอุปกรณครบชุดตามแบบผูผลิต

5.1 การติดต้ังประตู - หนาตาง

5.1.1 ผูรับจางจะตองทําการติดตั้งประตูหนาตางใหมั่นคงแข็งแรง เปด - ปด ไดสะดวก เมื่อปดจะตองสนิทเรียบรอย ปองกันลมและฝนไดเปนอยางดี เมื่อเปดจะตองมีขอยึดหรือมอุีปกรณรองรับมิใหเกิดความเสียหายใหกับประตหูนาตางหรอืผนัง การประกอบติดตั้งจะตองใชชางฝมือดีและมีความชํานาญเฉพาะดานการติดตั้งและแบงชองใหพอดีกับชวงอาคารและมีรอยตอแนวประทับแนบสนิทและปองกันการรั่วไหลของนํ้าฝนไดเปนอยางดี และยึดติดกับอาคารมั่นคงแข็งแรง

5.1.2 การปองกันการรั่วซึม รอยตอวงกบกับผนังคอนกรีตหรือผนังอิฐใหยาแนวรอยตอดวยวัสดุกันซึมโดยไดรับความเห็ น ช อ บ จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ก า ร จ า ง ท้ั ง น้ี ผู รั บ จ า ง จ ะ ต อ ง ดํ า เ นิ น ก า ร ต า ม ท่ี ร ะ บุ โ ด ย เค ร ง ค รั ด เ พ่ื อ ปองกันการรั่วซึมโดยเด็ดขาดหากมีการรั่วซึมเกิดข้ึน ผูรับจางจะตองซอมแซมและแกไขใหอยูในสภาพเรียบรอยผานการเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจการจาง

5.1.3 การติดตั้งประตู-หนาตาง ทุกจุดตองมีคานเอ็นทับหลังเปนกรอบโดยรอบ โดยเสริมเหล็กยืน 2 dia 9 มม. เหล็กปลอก dia 6 มม. @ 0.20

5.2 ประตูไม (Wood Doors)

5.2.1 ขอบเขตของงาน ผูรับจาง จะตองจัดหาวัสดุ อุปกรณ และแรงงาน ในการติดตั้งประตูไม ใหเปนไปตามระบุในแบบรูปและ รายการละเอียด

งานในหมวดน้ี รวมถึงงานติดตั้งประตูไม พรอมวงกบไม วงกบอลูมิเนียม วงกบเหล็ก ประตูชอง Duct และประตูไมอ่ืนๆ 5.2.2 วัสดุ

1) วงกบไม ใหถือตามระบุในแบบและรายการละเอียดใหใชไมตะเคียนทอง มาตรฐานไมช้ัน 1 ขนาด และรูปรางตามระบุ

2) วงกบอลูมิเนียม ใหถือตามระบุในแบบและรูปและรายการละเอียด หมวดประตูหนาตางอลูมิเนียม 3) ประตูไมอัด โดยท่ัวไปใหใชประตูไมอัดชนิดภายใน สําหรับประตูไมอัดติดตั้งโดยรอบอาคาร และในหองนํ้าทุก

หองและทางเขาหองนํ้าทุกหอง ใหใชชนิดภายนอกประตูไมอัดแผนเรียบท้ังสองชนิดจะตองมีคุณภาพเทียบเทาหรือดีกวา มอก. 192-2519 ผิวหนาโดยท่ัวไปใชไมอัดสัก (ยกเวนท่ีระบุไวเปนพิเศษในแบบ) ประตูทุกบานจะตองมีขนาดและชนิดตามระบุในแบบ หามใชประตูขนาดใหญกวามาตัดใหเล็กลง

4) ประตูและหนาตางไมสัก ใหใชประตูท่ีประกอบข้ึนจากไมสักเกรด 1 และจะตองประกอบข้ึนจากโรงงานใหเรียบรอยมีขนาดและรูปรางตามระบุในแบบ

5) อุปกรณสําหรับประตู ใหถือตามระบุในรายการละเอียด หมวดอุปกรณสําเร็จ 6) ไมกรอบบานประตู และ หนาตางใหใชไมสักอยางดี 7) ประตูและวงกบ PVC ใหใชตามมาตราฐานมอก.

5.2.3 การประกอบและติดตั้ง การประกอบและติดตั้งงานไมท้ังหมด จะตองกระทําดวยความประณีต และเปนไปตามหลักวิชาชางท่ีดี ถึงแมวาจะ

ไมไดแสดงรายละเอียดในแบบรูปและรายการก็ตาม 5.2.4 การตกแตง

วงกบไม บานประตูไม ใหทาดวยสีนํ้ามันท้ังหมด นอกจากระบุไวเปนอยางอ่ืนในแบบ

Page 27: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

24

5.3 ประตูหนาตางอลูมิเนียม (Aluminum Doors and Windows) 5.3.1 ขอบเขตของงาน งานในหมวดน้ีรวมถึงงานติดตั้งประตูหนาตางอลูมิเนียมกระจกติดตาย-กรอบอลูมิเนียมวงกบอลูมิเนียม และงาน

อลูมิเนียมอ่ืนๆ ตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด หากมิไดระบุเปนอยางอ่ืน ใหยึดรูปแบบและดําเนินการดังน้ี 5.3.2 คุณสมบัติของวัสดุ

1) เน้ือของอลูมิเนียม จะตองมีคุณภาพเทียบเทาหรือดีกวา มอก. 284-2530 ประเภท 7/6063 2) ผิวของอลูมิเนียม จะตองเปนสีตามคณะกรรมการเลือกภายหลัง หรือตามระบุในแบบและความหนาของ

Anodic Film จะตองไม ต่ํากวา 10 Micron ความคลาดเคลื่อนท่ียอมให (Allowable Tolerance) + 2 Micron 3) ขนาดความหนา และนํ้าหนักของ Section ทุกอันจะตองไมเล็กหรือบางกวาท่ีระบุในแบบ โดยท่ัวไป ความหนา

ของอลูมิเนียม จะเปนดังน้ี อลูมิเนียมชุดบานเลื่อน และชุดชองแสงท่ัวไป ความหนาไมนอยกวา 1.50 มม. อลูมิเนียมชุดประตูสวิง ชุดรางแขวน และชุดบานกระทุงความหนาไมนอยกวา 1.50 มม. อลูมิเนียมค้ิวหรือชิ้นอุปกรณประกอบ ความหนาไมนอยกวา 1.00 มม. ชุดหนาตาง-ประตูบานเลื่อน มีปกกันนํ้าขนาดกวาง 2 ซม. โดยรอบ ชุด Curtain Wall ความหนาอลูมิเนียมไมนอยกวา 2.3 มม. และเสริมเหล็กถาจําเปน อลูมิเนียมทุกชิ้น ระบุใหยึดคาความคลาดเคลื่อนความหนาบวก ลบ 10 %

5.3.3 แบบขยาย แบบขยายแสดง Section และรายละเอียดท่ีปรากฏในแบบรูปเปนเพียงขอกําหนดเพ่ือใชแสดงมาตรฐานของ

Section และการประกอบติดตั้งสําหรับอาคารในสัญญาน้ีเทาน้ัน ผูรับจางมีสิทธิในการเปลี่ยนแปลงรูปรางของ Section และรายละเอียดตางๆ ไดโดยจะตองเปนไปตามขอกําหนดตอไปน้ี และจะตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจการจางจึงจะทําการติดตั้งได

1) Section ตางๆ เมื่อประกอบเปนชุดแลวจะตองมีนํ้าหนักรวม/ความยาวไมนอยกวา 95% ของนํ้าหนักรวม/ความยาวท่ีกําหนดในแบบ

2) มาตรฐานในการประกอบและติดตั้งใกลเคียงกับท่ีระบุในแบบรูป 3) มาตรฐานในการกันนํ้า (Water Tight) เทียบเทากับท่ีระบุในแบบและรายการ 4) Section ท่ีนํามาติดตั้ง จะตองมีขนาด ความหนา และนํ้าหนัก ตามท่ีขออนุมัติ โดยยินยอมใหเกิดความ

ผิดพลาด (Allowable Tolerance) ตาม มอก.284-2530 5.3.4 แบบใชงาน

1) ผูรับจางจะตองสงแบบใชงาน (Shop Drawing) และตัวอยางวัสดุ อุปกรณใหคณะกรรมการตรวจการจางอนุมัติกอน จึงจะทําการติดตั้งได

2) แบบใชงาน จะตองแสดงรายละเอียดการติดตั้ง การยดึ การกันนํ้า และจะตองแสดงระยะตางๆ โดยละเอียด 5.3.5 การประกอบและติดตั้ง

1) กอนติดตั้งวงกบอลูมิเนียม จะตองตกแตงผนังอิฐ เสา และคานใหเรียบรอยกอน จึงติดตั้งวงกบอลูมิเนียมได 2) การติดตั้ง จะตองเปนไปตามระบุในแบบและรายการละเอียด 3) การติดตั้งอลูมิเนียม จะตองกระทําดวยชางฝมือโดยเฉพาะ 4) ก ารติ ด ตั้ ง ว งก บ อ ลู มิ เ นี ย ม จ ะ ต อ ง ได ดิ่ ง ได ร ะ ดั บ แ ล ะ ได ฉ า ก แ ล ะ ยึ ด แ น น กั บ ผ นั งห รื อ

โครงสราง โดยรอบดวยสกรูใหแข็งแรง 5) วงกบประตูหนาตางโดยรอบอาคาร จะตองอุดดวย Calking Compound ชนิด One Part Polyurethane

หรือ Silicone Sealant และจะตองรองรับดวย Polyurethane Joint Backing เสียกอน ท่ีจะทําการ Caulking 6) การติดตั้งกรอบบานประตูหนาตางท้ังหมด จะตองไดฉากแข็งแรงและเรียบรอยเปนไปตามหลักวิชาชาง

อลูมิเนียมท่ีดี 7) การตออลูมิเนียมท้ังหมดจะตองแข็งแรง สนิทและเรียบรอยตามหลักวิชาชางอลูมิเนียมท่ีดีอุปกรณสําหรับยึด

รอยตอ จะตองเปนชนิดซอนภายในท้ังหมด 8) ผิวสัมผัสของอลูมิเนียมกับโลหะชนิดอ่ืน จะตองทาดวย Bituminum Paint ตลอดบริเวณท่ีโลหะท้ังสองสัมผัส

กันเสียกอน จึงทําการติดตั้งได 5.3.6 อุปกรณ

1) ตะปูควงทุกตัวท่ีขันติดกับวัสดุชนิดอ่ืนท่ีไมใชไม และโลหะ จะตองใชรวมกับพุกพลาสติกทําดวย Nylon

Page 28: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

25

2) ตะปูควงทุกตัวท่ีมองเห็นดวยตา จะตองทําดวย Stainless Steel สําหรับสวนท่ีมองไมเห็น อนุญาตใหใชตะปูควงชนิดท่ีชุบ CAD-Plated ไดทุกระยะ 40 ซม.

3) ฉากสําหรับยึดช้ินสวนอลูมิเนียมตามขอตอตางๆ ใหใชฉากอลูมิเนียมชนิดพิเศษ มีขนาดเหมาะสมกับ Section แตละอัน

4) ยางขอบกระจก ใหใชยาง PVC ผลิตในประเทศ 5) Door Closer สําหรับบานเปดทุกบานใหใชชนิดฝงในพ้ืน หรือในเฟรมก็ไดแตตองไมมีธรณีประตูแบบ Heavy

Duty Double Action สามารถเปดคาง 90 องศา ขนาดของ Door Closer และวิธีการติดตั้งจะตองเปนไปตามคําแนะนําของผูผลิต โดยไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจการจาง

6) กุญแจสําหรับประตูบานเปดทุกชอง ใหใช Dead Lock ชนิด Heavy Duty 7) กลอนสําหรับประตูบานเปดคู ใหใชชนิดฝงเรียบในบาน Flush Bolt 8) อุปกรณประตูหนาตาง Aluminum บานเลื่อน โครงและกลองรางเลื่อนจะตองตรงไมคดงอติด ลูกลอสําหรับ

บานเลื่อนประตูหรือหนาตางบานละ 2 ชุด ลูกลอจะตองเปน Nylon แข็งแกนระบบลูกปน มีความแข็งแรงคลองตัวและทนทานตอการเสียดสีไดเปนอยางดี ขนาดและชนิดของลูกลอตองใชใหเหมาะสมกับขนาดและนํ้าหนักของบานประตูหรือหนาตาง

9) กุญแจสําหรับประต-ูหนาตางบานเลื่อนพรอมมือจับอลูมิเนียมชนิดฝงในบาน Standard One Point 10) ประตูและหนาตางบานเลือ่นทุกบานจะตองมีระบบปองกันมิใหลอหลุดจากราง เฉพาะประตู และหนาตางท่ีอยู

ภายนอกอาคาร รางเลื่อนตัวลางจะตองเจาะรูขนาด 6 มม. ระยะหาง 30 ซม. เพ่ือ ระบายนํ้าออกจากราง 11) มุงลวด ใหใชมุงลวด Fiber Glass หรือ Aluminium ท่ีมีคุณภาพเทียบเทา หรือดีกวา มอก. 313-2522 12) อุ ป ก รณ ห น าต า งบ าน เป ด ห รื อ ก ระ ทุ ง บ าน พั บ ป รับ ระดั บ ขน าด ไม ต่ํ าก ว า 16" ห รื อ ต าม คํ า

แนะนําของบริษัทผูผลิต มือจับ Lock ชนิด Whit Matic ไดในตัว ตรงกลางบานหนาตาง 5.3.7 การทําความสะอาด

วงกบและกรอบอลูมิเนียม เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบรอยแลวผูรับจางจะตองพน Stripable PVC Coating เพ่ือปองกันผิวของวัสดุใหท่ัว

5.4 ประตูหนีไฟ ( ยกเลิกรายการ 5.4 ท้ังหมด ) เปนประตูเหล็กทนไฟ ท่ีจะตองไดรับการรับรองอัตราการทนไฟตามมาตรฐานสากล สําหรับบันไดหนีไฟ ทางหนีไฟ และอ่ืนๆ ท่ี

ระบุ ใหใชประตูบานเดี่ยวเปดทางเดียวเปดออกสูภายนอก ขนาดบาน ประมาณ 0.90 x 2.00 ม. ผลิตดวยเหล็กกลาพิเศษ ความหนา 1.22 มม. กําหนดให ความหนาของบานประตู 46 มิลลิเมตร พับข้ึนรูปเปนตัวบาน แบบ Reinforce Double Skin Hellow Shell มีบุดวย Rock Wool การประกอบตัวบานประตูเปนแบบ Interlock และ Spot weld ซึ่งไมทําใหประตูยืดหดตัวไดเมื่อเกิดเพลิงไหม และไมเห็นรอยเช่ือมจากภายนอก ภายในบานประตูบรรจุดวยแผง Honey Comb ยึดติดกับตัวบานดวยกาวชนิดพิเศษเพ่ือเปนโครงเสริมความแข็งแกรงของบานประตูท้ังบาน ปองกันการบิด งอ ของบานประตูเมื่อเกิดเพลิงไหม โดยใหประตูสามารถทนไฟไดไมต่ํากวา 2 ช่ัวโมง วงกบประตูจะตองปนรูปในลักษณะบังใบคู ผลิตด วยเหล็ก เห นียวพิ เศษ ชนิดเดียวกับตัวบาน หนา 1.6 ม .ม . และมีแถบยางกันควัน Neoprene ติด รอบวงกบเพ่ือปองกันควันไฟ บานพับใหเปนไปตามมาตรฐานของผูผลิตท่ีทนไฟได ชนิดบานเดี่ยว เจาะชองกระจกใสกระจกลวดขนาด 50x700 ม.ม ชุดประตูทนไฟทุกชุดจะตองผานการทดสอบมาตรฐาน British Standard หรือ UL พรอมกุญแจชนิด F และ Door Closer ชนิดเปดไดทางเดียว ไมเปดคาง

5.5 วัสดุ อุปกรณ นอกจากระบุไวเปนพิเศษในแบบกอสรางอุปกรณสําเร็จสําหรับประตูหนาตางท้ังหมดใหใชชนิดชนิดชุบโครเมียมหรือ

Stainless Steel ผิวมันและเรียบไมขรุขระ โดยมีรายละเอียดดังตอไปน้ี 5.5.1 บานพับ

ใหใชบานพับ Stainless โดยมีรายละเอียดการติดตั้งดังน้ี 1) ประตูไมขนาดกวางไมเกิน 90 ซม. ใหติดบานพับชนิดมีแหวนลูกปนขนาด 4” x 3” ติดบานละ 4 ชุด 2) ประตูไมขนาดกวางเกิน 110 ซม. ข้ึนไปใหติดบานพับชนิดมีแหวนลูกปนขนาด 4” x 3” ติดบานละ 4 ชุด 3) ป ระ ตู บ าน เป ด เห ล็ ก ท้ั งห ม ด ให ติ ด บ าน พั บ ช นิ ด มี แ ห วน ลู ก ป น (Ball Bearing Hinge) ข น าด

4” x 5” ติดบานละ 4 ชุด หรือตามมาตรฐานของบริษัทผูผลิตประตูเหล็ก 5.5.2 กุญแจ

ถาในแบบกอสรางมิไดระบุใหชัดเจนใหถือตามรายการ คือ กุญแจลูกบิดเปนกุญแจลูกบิดแบบมีลิ้นตัวกุญแจ ลูกบิดทําดวย Stainless Steel ระบบลูกปน 6 พิน มี UL LISTED รับรองคุณภาพ ANSI GRADE2 แตละชุดจะตองมีลูกกุญแจไมนอยกวา 3 ดอก

Page 29: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

26 ใหใชผลิตภัณฑมีคุณภาพเทียบเทาหรือดีกวา มอก. 756-2535 ระบบกุญแจจะตองมีลูกกุญแจ Master Key 3 ดอก/ช้ัน และ Grand Master Key 3 ดอกสงใหผูวาจางกลอนหองนํ้าแบบวาง-ไมวางชนิดรูปสี่เหลี่ยมโครเมียมมัน และใหใชกุญแจตามรายละเอียดดังตอไปน้ี

1) กุญ แจ A ใช กุญ แจลู ก บิ ดช นิ ดล็ อคภ ายนอกด วย กุญ แจ และล็ อคภ าย ในด วย ปุ ม กดห รือ บิ ด ล็อคลูกบิดทําดวย Stainless Steel ระบบลูกปน 6 พิน มี UL LISTED รับรองคุณภาพ ANSI GRADE2 การติดตั้งกุญแจชุด A ใหติดตั้งท่ีป ร ะ ตู บ า น เดี่ ย ว โด ย ท่ั ว ไ ป บ า น ล ะ 1 ชุ ด แ ล ะ ป ร ะ ตู บ า น คู ทุ ก ช อ ง ช อ ง ล ะ 1 ชุ ด (ย ก เว น ป ร ะ ตู บ า น เป ด คู สแตนเลส และประตูท่ีระบุในขอ 2-6 ตอไปน้ี)

2) กุญแจ B ใหใชกุญแจลูกบิดชนิดล็อคภายในดวยปุมกด หรือลูกบิดทําดวย Stainless Steel กุญแจชุด B ใหติดท่ีประตูหองนํ้าท่ัวไปบานละ 1 ชุด (ยกเวนหองนํ้าสาธารณะตามขอ 3)

3) กุญแจชุด C กุญแจสําหรับหองนํ้าสาธารณะ ใหใชชนิดท่ีภายในเปนกลอน ภายนอกมีเครื่องหมายแสดงวากําลังมีการใชงานอยูหรือไม เชน เปนระบบสีหรือตัวอักษร เปนตน อุปกรณท้ังหมดทําดวย Stainless Steel หรือท่ีมีคุณภาพเทียบเทากุญแจชุด C ใหติดตั้งท่ีประตูหองนํ้ารวม (หองนํ้าสาธารณะ) บานละ 1 ชุด

4) กุญแจชุด D กุญแจลูกบิดชนิดภายนอกล็อคตลอดเวลา ภายในเปนแปนบิดล็อค 5) กุญ แ จ ชุด E (ท าง เข าห อ ง นํ้ าย อ ย ) ให ใช กุญ แจลู ก บิ ด ช นิ ด ล็ อค แ ละค ล ายล็ อค ด วย กุ ญ แ จ

ลูกบิดทําดวย Stainless Steel ระบบลูกปน 6 พิน มี UL LISTED รับรองคุณภาพมี ANSI GRADE2 กุญแจชุด D ใหติดท่ีทางเขาประตูหองนํ้ายอย บานละ 1 ชุด

6) กุญแจ F ใหใชกุญแจ Exit Devices มือผลักดานในเปนชนิด Flat Bar Panic Exit Device (TOUCH BAR) ดานนอกเปดประตูไดดวยกุญแจ ลูกบิดดานนอก กุญแจชุด F ใหติดท่ีประตูเขาบันไดหนีไฟท่ัวไปทุกประตู ประตูละ 1 ชุด

7) กุญแจชุด G กุญแจชอง DUCT (ENGINEERING KEY) ใหใชติดตอท่ีประตู DUCT ทุกชองๆละ 1 ชุด 8) H กุญแจคลองสายยูใชยี่หอเดียวกับลูกบิด 9) MASTER KEY กุญแจชุด A,D,E,F,H และกุญแจของประตูอลูมิเนียมและกุญแจบานกระจกเปลือย และกุญแจ

ประตูทุกชนิด ยกเวนเอ็นจิเนียริ่งคียจะตองเปนกุญแจยี่หอเดียวกันและจะตองมี MASTER KEY ประจําช้ัน ช้ันละ 1 ชุด พรอมท้ัง GRAND MASTER KEY ประจําอาคาร นอกจากน้ีจะตองทํา Grand Grand Master Key กับอาคารขางเคียงในระบบเดียวกันอีกดวย

5.5.3 DOOR CLOSER ประตูใหติดตั้ง DOOR CLOSER 1) ชนิดเปดทางเดียว (Single Action) ใหใชชนิด STANDARD-DUTY สามารถเปดคาง 90 องศา ติดตั้งทางดานบน

ของบานประตู บานละ 1 ชุด ติดตั้งท่ีบานประตูท่ีกวางไมเกิน 100 มม. บานละ 1 ชุด และตองมี UL LISTED รับรองคุณภาพ 2) DOOR CLOSER (สําหรับท่ีใชกับประตูทางเขาหองนํ้ารวม) ใหใชชนิด STANDARD DUTY ชนิดไมเปดคาง

ติดตั้งบานละ 1 ชุด มี UL 3) DOOR CLOSER สําหรับประตูกันไฟใหใชชนิดไมเปดคาง โดยปรับใหสามารถผลักบานประตูไดสนิทติดตั้งท่ี

บานประตูเหล็ก บานละ 1 ชุด มี UL 4) ชนิดเปนสองทาง (DOUBLE ACTION) ใหใชชนิดฝงพ้ืน สามารถเปดคางได และสามารถปรับองศาการตั้งคาง

ไดในตัวโชคอัพเอง และสามารถรับนํ้าหนักได 300 กก. 5.5.4 ตะปูเกลียว

อุปกรณสําเร็จท้ังหมดจะตองยึดติดกับอาคารดวยตะปูเกลียวท่ีทําดวยวัสดุชนิดเดียวกับอุปกรณ และมีขนาดท่ีแข็งแรงและเหมาะสม ตะปูเกลียวจะตองเปนชนิดหัวเรียบฝงในอุปกรณ

5.5.5 กันชนประตู ประตูทุกบานท่ีไมไดระบุใหติดตั้ง Door Closer ใหติดตั้งกันชนประตูดังน้ี

1) ประตูท่ัวไป (ยกเวนประตู Duct) ใหติดกันชนปุมยางกันชน ชนิดมีขอยึดบานประตูทําดวย Stainless Steel ติดบานละ 1 ชุด

2) ประตูหองนํ้าทุกบาน ใหติดชนประตูชนิดมีปุมยาง พรอมขอแขวนเสื้อทําดวย Stainless Steel เสนอตัวอยางอนุมัติกอนทําการติดตั้ง

5.5.6 กลอน ประตูชองท่ีมีบานเปด 2 บาน ใหติดกลอนท่ีบานประตูดานขวา 2 ตัวท่ีดานบน และดานลางของบาน กลอนท่ีใชใหใช

กลอนชนิดฝงเรียบในบานติดตั้งดานความหนาของบานประตูชองรับกลอนประตูจะตองทําดวยโลหะชนิดเดียวกับกลอนฝงเรียบในพ้ืน ขนาด 6” ผิวทําดวย Stainless Steel

5.5.7 มือจับ

Page 30: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

27

- ประตูทุกบานท่ีเปนบานคูใหติด DUMMY TRIM บานละ 1 ชุด - ในสวนของประตูชองชารป ใหติดตั้งมือจับฝงเรียบในบาน ผิวทําดวย Stainless Steel

5.5.8 รางเลื่อน รางเลื่อนสําหรับประตูบานเลื่อนท้ังหมด ใหใชรางเลื่อนชนิดแขวนดานบนขนาดตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิต การ

ติดตั้งรางเลื่อนใหติดตั้งพรอมอุปกรณครบชุด 5.5.9 อุปกรณประตูหนาตางอลูมิเนียม ใหถือตามระบุในแบบกอสราง และรายการประตูหนาตางอลูมิเนียม 5.5.10 ประตูบานสวิงใชอุปกรณดังน้ี

- DOOR CLOSER - DEAD LOCK - FLUSH BOLT

5.5.11 ประต-ูหนาตางบานเลื่อนใชอุปกรณดังน้ี - ROLLER - FLUSH PULL HANDLE/LOCK

5.5.12 หนาตางบานกระทุงใชอุปกรณดังน้ี - 4 BAR HINGE ขนาด 10”, 14”, 18” และขนาด 20” - HANDLE/LOCK

5.5.13 วัสดุยาแนวและ SEALANT 6. งานสุขภัณฑ TOILET AND BATH ACCESSORIES ใหยึดวัสดุตามแบบรูป หากไมมีรายละเอียดในรายการ ใหนําเสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือพิจารณากอนการดําเนินการ

6.1 ขอกําหนดท่ัวไป

ผูรับจางจะตองจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณในการติดตั้งสุขภัณฑและอุปกรณประกอบท้ังหมด ท่ีระบุไวในแบบและรายการประกอบแบบ มาดําเนินการติดตั้งตามตารางรายการสุขภัณฑและอุปกรณประกอบ และสุขภัณฑกับอุปกรณประกอบท้ังหมดตองใชย่ีหอเดียวกันท้ังหมด

6.2 วัสดุ รายละเอียดวัสดุ ตามท่ีระบุไวใน ตารางรายการสุขภัณฑและอุปกรณประกอบ

(1) โถสวมแบบน่ังราบ มีถังพักนํ้า มอก. 792 – 2544 หรือเทียบเทา (2) อางลางหนาชนิดแขวนผนัง มอก. 791 – 2544 หรือเทียบเทา (3) ฝกบัวอาบนํ้า 1 ฟงกช่ัน ทําจาก STAINLESS พรอมขอแขวน มีมอก. 1187-2547 (4) ราวแขวนผา ชนิด Stainless (5) สายฉีดชําระหัวสีโครเมี่ยม สายโครเมี่ยม พรอมวาลวปดเปด (6) ท่ีใสกระดาษชําระเซรามิก (7) ท่ีใสสบู มอก. 797– 2544 หรือเทียบเทา (8) กระจกเงา ขนาด (0.5 x 0.8 เมตร ) รองไมอัด 6 มม.กรอบอลูมิเนียม (9) อางลางจาน Stainless ขนาด 50x85x20 ซม. (10) กอกนํ้าสําหรับอางลางหนา –ลางมือ แบบกานโยก หรือเทียบเทา ชนิด Stainless (11) คอหาน เปนแบบชนิดทําจาก Stainless (12) ท่ีน่ังและฝาปดสวม (SEAT) ท่ีน่ังและฝาปดสวมชนิดน่ังราบ ใหใชชนิดพลาสติกอยางหนา ( ดานลางของท่ีน่ังเรียบ ) (13) ทอนํ้าท้ิง มีตะแกรงกันผง มีท่ีดักกลิ่น ฝาเปนเกลียวถอดออกลางไดขนาด ตามแบบระบุ (14) สะดืออางลางหนาพรอมสายโซ ใหใชยี่หอเดี่ยวกันกับสุขภัณฑ

6.3. การดําเนินงาน (1) การเตรียมงาน

กอนการติดตั้ง ผูรับจางจะตองตรวจสอบขนาด ตําแหนง ระดับในงานท่ีเก่ียวของท้ังหมด ตั้งแตข้ันตอนงานโครงสราง จนถึงข้ันติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ โดยผูรับจางจะตองรับผิดชอบตอผลเสียหายท่ีเกิดข้ึนท้ังหมด หากเกิดความผิดพลาด คลาดเคลื่อน ทําใหงาน

Page 31: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

28 ติดตั้งสุขภัณฑเปนไปโดยไมเรียบรอย เมื่อพบปญหาหรือคาดวาจะมีปญหา ผูรับจางจะตองแจงใหคณะกรรมการ ฯ ทราบและพิจารณาแกไขทันที หามกระทําการใดๆไปโดยพลการ

(2) การติดตั้ง ก. ผูรับจางจะตองตอทอและติดตั้งอุปกรณทุกช้ิน และเครื่องสุขภัณฑดังท่ีแสดงไวในแบบและรายการประกอบแบบ รวมท้ัง

จัดหาเครื่องตกแตง ท่ีแขวน หรือท่ีรองรับเครื่องสุขภัณฑ และติดตั้งแทรปพรอมชองทําความสะอาด เดินทอประปา ทอระบายนํ้าท้ิง นํ้าโสโครก ทอระบายอากาศ จากเครื่องสุขภัณฑเขาระบบตางๆโดยครบถวน

ข. มาตรฐานงานติดตั้งจะตองเปนไปตามหลักวิชาชางท่ีดี ผูรับจางจะตองใชชางท่ีมีความชํานาญ และมีฝมือประณีตมาดําเนินการ โดยใหถือปฏิบัติตามท่ีระบุไวในรายละเอียดผลิตภัณฑ และดําเนินการตามมาตรฐานผูผลิตโดยเครงครัด หากผลงานไมไดคุณภาพหรือไมเรียบรอย ผูรับจางจะตองดําเนินการแกไขทันที โดยคาใชจายเปนของผูรับจางเองท้ังสิ้น

ค. ระหวางท่ีทําการกอสรางงานอ่ืนๆภายในหองนํ้ายังไมแลวเสร็จ เครื่องสขุภัณฑท่ีติดตั้งแลวจะตองมี ลังไม หรือเครื่องปกคลุมอ่ืนปองกันไว และใชจาระบีเคลือบสวนท่ีเปนโครเมี่ยม และสวนท่ีเปนโลหะอ่ืนๆไวเพ่ือปองกันการกัดของนํ้าปูนและการขูดขีด

(3) การทําความสะอาดและการปองกัน หลังจากการติดตั้งสุขภัณฑและอุปกรณเสร็จเรียบรอยแลว วัสดุทุกช้ินจะตองทําความสะอาดใหเรียบรอย พรอมท้ังปองกันใหอยูใน

สภาพดีตลอด จนกวาจะสงมอบงาน หากมีสวนหน่ึงสวนใดเสียหายหรือแตกราว ผูรับจางจะตองเปลี่ยนใหใหม ใหดีคงสภาพเดิมโดยไมคิดมูลคา

8. งานทาสี แบงออกเปน 3 ประเภทดังน้ี

8.1 ดังนี้ 1) สีนํ้าอะครีลิคแท 100 % ชนิดก่ึงเงา ( มีมอก.2321-2549 ) ตองทาสี 3 ครั้ง ใหใชตามคําแนะนําของผูผลิต หรือ

รองพ้ืน 1 ครั้งและทาสีจริง 2 ครั้ง ( ชนิดทาภายนอกอาคาร ) มี Template แบบไลระดับสีประกอบการพิจารณา

2) สีนํ้ามัน สําหรับทาวัสดุท่ีเปนเหล็ก ทารองพ้ืน 1ครั้ง และทาสีจริง 2ครั้ง(มอก.389-2531) 3) สีรองพ้ืน

ก. สีรองพ้ืนปูนใหม ( มอก. 1123 – 2539 ) ข. สีรองพ้ืนงานเหล็กหรือเหล็กกลา (มอก. 389-2531 )

8.2 วิธีการดําเนินงาน

• ใหหยุดทาสีทุกชนิดในขณะท่ีมีฝนตก และทาสีท่ีทาครั้งแรกไมแหงสนิทหามทาครั้งท่ีสองทับลงไป

• ใหทาสีไดเฉพาะในเวลากลางวันเทาน้ัน และการทาสีจะตองปฏิบัติตามกรรมวิธีใหถูกตองตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิตสี

• ตองทาสีใหสม่ําเสมอ ปราศจากรอยแปรง ตอนใดท่ีสีสองสีชนกันจะตองตัดแนวใหเรียบรอยท้ังแนวดิ่งและแนวนอน

• ทาสีรองพ้ืน 1 ครั้ง และทาสีจริงทับหนาอีก 2 ครั้ง หรือตามท่ีระบุเปนอยางอ่ืนในรายการทาสี ท้ังสีรองพ้ืนและสีจริงใหใชชนิดเดียวกัน

• สวนท่ีเปนคอนกรีตและผนังฉาบปูน ตองรอใหปูนฉาบแหงสนิทกอนทําความสะอาดและกําจัดสิ่งเปรอะเปอนออกใหหมดแลวจึงทาสีได

• สวนท่ีเปนไม ใหตกแตงพ้ืนท่ีจะทาใหเรียบรอยโดยการอุดรอยชํารุดตาง ๆ ใหสม่ําเสมอขัดดวยกระดาษทรายใหเรียบรอยโดยตลอดแลวจึงทาสีได

• สวนท่ีเปนโลหะ ใหกําจัดสนิม สิ่งเปรอะเปอนและฝุนออกใหหมด ทาสีกันสนิมตามท่ีระบุไวในรายการทาสี 1 ครั้งแลวจึงทาสีท่ีใชทาโลหะโดยเฉพาะ ทับหนาอีก 2 ครั้ง นอกจากจะระบุเปนอยางอ่ืนในรายการทาส ี

• การลงนํ้ามัน ตกแตงผิว เชน แชลค วานิช ข้ีผึ้ง นํ้ามันรักษาเน้ือไมและอ่ืนๆ ท่ีกําหนดไวในรายการ ใหผูรับจางเตรียมพ้ืนผิวท่ีจะทา โดยการทําความสะอาดกําจัดคราบสกปรกตาง ๆ อุดรอยชํารุด ขัดดวยกระดาษทรายใหเรียบกอนถาเปนไมใหยอมสีใหเปนสีเดียวกันโดยตลอด แลวจึงทาได

--------------------------------

Page 32: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

29

หมวดท่ี 5 งานระบบสุขาภิบาล 1. ขอกําหนดท่ัวไป ใหยึดวัสดุตามแบบรูป หากไมมีรายละเอียดในรายการ ใหนําเสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือพิจารณากอน

การดําเนินการ 1.1 การตรวจสอบแบบ ผูรับจางตองตรวจสอบแบบแปลน รายละเอียดประกอบแบบและขอกําหนดตางๆ ของงาน

สุขาภิบาล – ดับเพลิง เพ่ือใหเขาใจข้ันตอนในการติดตั้งและหากมีขอสงสัย ขอขัดแยง หรือขอผิดพลาด ใหสอบถามจากคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงาน เพ่ือพิจารณาตัดสินกอนดําเนินการใด ๆ

1.2 แผนงานการติดต้ังระบบ ผูรับจางตองจัดทําแผนงานการติดตั้ง ระบบสุขาภิบาล – ดับเพลิง ของท้ังโครงการใหคณะกรรมการตรวจการจางและ

คณะกรรมการควบคุมงานพิจารณาอนุมัติกอนเริ่มปฏิบัติงานตามสัญญา รวมท้ังแผนงานยอยในระหวางดําเนินงาน และสรุปผลรายงานความกาวหนาเสนอตอคณะกรรมการ ฯ

1.3 แบบใชงาน ( SHOP DRAWING ) กอนการติดงานระบบ ผูรับจางตองตรวจสอบแบบกอสรางพรอมกับงานในระบบอ่ืน เพ่ือไมใหเกิดการกีดขวางซึ่งกันและกัน

และสะดวกตอการใชงาน ในการน้ีหากจําเปนตองปรบัเปลี่ยนแนวทอ หรือตําแหนงอุปกรณ ผูรับจางสามารถกระทําไดโดยจัดทํา แบบใชงาน แสดงแนวทอ และอุปกรณในบริเวณน้ัน เสนอใหคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงานพิจารณาอนุมัติกอนการติดตั้ง

1.4 แบบสรางจริง (AS – BUILT DRAWING ) ภายหลังการติดตั้งงานระบบแลวเสร็จ ผูรับจางจะตองจัดทําแบบสรางจริง ( AS – BUILT DRAWING) พรอมลงนามวิศวกร

สถาปนิก และผูควบคุมงานการติดตั้งระบบ สงมอบใหคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงานในวันสงมอบงาน แบบและ File CD As-built Drawing ตนฉบับจํานวน 1 ชุด และสําเนา 2 ชุด ใหกับคณะกรรมการตรวจการจาง 2. ขอบเขตของงาน

ผูรับจางจะตองจัดหาวัสดุ , เครื่องมือ , แรงงาน บริการในการติดตั้งและสิ่งอํานวยความสะดวกทางดานระบบประปา สุขาภิบาล และระบบดับเพลิง ตามความตองการของคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงาน ซึ่งระบุไวในแบบและรายการท่ีกําหนดไวประกอบดวย

2.1 ระบบทอนํ้าประปาภายในอาคาร และภายในโครงการ 2.2 ระบบทอสุขาภิบาลภายในอาคาร และภายในโครงการ 2.3 ระบบเครื่องสูบนํ้าและการควบคุมเครื่องสูบนํ้า 2.4 ระบบทอดับเพลิงภายในอาคาร 2.5 ระบบทอประปาภายนอกอาคาร การวางทอเพ่ือตอเขาในอาคาร และซอมแซมหรือตกแตงใหคงสภาพเหมือนเดิม หรือ

ตามแบบกําหนดการประสานงานหรืออํานวยความสะดวกอ่ืนใดท่ีจําเปนโดยคาใชจายเปนของผูรับจาง 2.6 การตัดบรรจบทอของการประปาสวนทองถ่ิน เชน มาตรวัดนํ้า , ประตูนํ้า คาธรรมเนียมท่ีการประปาสวนทองถ่ินเรียก

เก็บและ / หรืออ่ืน ๆ เปนภาระของผูรับจาง 2.7 งานอ่ืน ๆ เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค และใชงานไดดีตามแบบและรายการ หรือตามความเหมาะสมของงาน

3.วัสดุอุปกรณ และเคร่ืองจักรกลท่ีใช 3.1 มาตรฐานวัสดุ อุปกรณ ผลิตภัณฑท่ีใชใหเปนไปตามท่ีมีระบุในแบบแปลน หรือรายละเอียดประกอบแบบผลิตภัณฑเทียบเทา จะพิจารณาจากลักษณะ

ผลิตภัณฑ ประสิทธิภาพคุณภาพ และคําช้ีขาดของคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงาน 3.2 วัสดุ อุปกรณ และเคร่ืองจักรกลท่ีใช ตองเปนของใหม และผานการอนุมัติใหใชงานไดแลว จึงนําไปติดตั้งได วัสดุ อุปกรณใดท่ีติดตั้งไปกอนไดรับการอนุมัติใชงาน

หากผูวาจางพิจารณาแลว ไมอนุมัติ ผูรับจางตองรื้อถอนทันที และนําออกนอกบริเวณกอสราง คาใชจายตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเปนความรับผิดชอบของผูรับจาง

3.3 วัสดุ อุปกรณ ท่ีชํารุด กอนการติดต้ัง วัสดุ อุปกรณ กอนนําไปติดตั้งตองไดรับการตรวจสอบสภาพ หากชํารุดใหคัดออกและนําออกนอกบริเวณกอสราง 3.4 วัสดุ อุปกรณ ท่ีชํารุดภายหลังการติดต้ัง ในระหวางการติดตั้ง หรือทดสอบการใชงาน หากมีการชํารุดของ วัสดุ อุปกรณ ใหผูรับจาง ทําการซอมแซม หรือเปลี่ยนใหม

ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงาน

Page 33: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

30

3.5 วัสดุ อุปกรณ ท่ีเสริมความสมบูรณของระบบ วิธีการติดตั้ง วัสดุ อุปกรณ ท่ีไมไดระบุชัดเจนในแบบ และรายละเอียดประกอบแบบ ผูรับจางตองจัดทําใหสมบูรณตาม

ความเหมาะสมของงาน และใหใชงานไดดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงาน ท้ังน้ีคาใชจายท่ีเพ่ิมข้ึนเปนของผูรับจางท้ังสิ้น 4. การติดต้ังระบบสุขาภิบาล

4.1 มาตรฐานการติดต้ัง ใหยึดถือตามขอกําหนดใน แบบแปลน รายละเอียดประกอบแบบ มาตรฐานการเดินทอภายในอาคาร ( วสท. 1004 – 16 ) และ

หนวยงานของรัฐท่ีเก่ียวของ 4.2 แนวทอและการเดินทอ ในการติดตั้งทอ แนวทอตองตรง และไดดิ่ง โดยขนาน หรือตั้งฉากกับตัวอาคารกอนการติดตั้งตองตรวจสอบกับงานในระบบ

อ่ืนกอน เพ่ือกําหนดตําแหนงท่ีเหมาะสมทอท่ีเดินลอย แนวทอตองแนบชิดกับผิวของคาน ผนังก้ันหรือเสา แลวแตกรณีโดยใหอยูในลักษณะท่ีเรียบรอยสวยงาม ในกรณีท่ีตองเดินทอผานเสา คานหรือพ้ืน ค.ส.ล. ผูรับจางตองจัดหาและทําการติดตั้ง SLEEVE ทําดวยเหล็กเหนียว และตองทํา SHOP DRAWING เพ่ือขออนุมัติจากคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงานกอนทําการติดตั้ง

ทอระบายอากาศ ใหตอทะลุเพดานช้ันดาดฟา อยางนอย 0.30 เมตร ปลายทอติดตั้งตามแบบรายละเอียด และหลังจากทําการติดตั้งแลวเสร็จตองทําการอุดรอยตออยางดี ไมใหเกิดการรั่วซึม

4.3 อุปกรณประกอบทอประปา ทอท่ีตองหักโคง หรือทอแยก ใหใชอุปกรณประกอบทอเพ่ือการน้ันโดยเฉพาะ หามดัดงอ หรือเจาะเช่ือมทอโดยเด็ดขาด การตอทอเขาเครื่องสุขภัณฑ ใหใชอุปกรณท่ีผูผลิตแนะนํา 4.4 ขอตอเหล็กอบเหนียว ( MALLEABLE IRON FITTING ) ในกรณีท่ีทอประปาระบุใหใชทอ พีวีซี ขอตอตัวสุดทายกอนตอเขาเครื่องสุขภัณฑหรือกอกนํ้า ใหใชขอตอเหล็กอบเหนียว (

MALLEABLE IRON FITTING ) 4.5 การติดต้ังวาลว และอุปกรณ ตําแหนงท่ีติดตั้งตองเหมาะสม สะดวกตอการใชงาน และทําการยึด - แขวนใหมั่นคงโดยทอท่ีมาตอเช่ือมตองคงตัวอยูไดไมลม

เมื่อถอดวาลว หรืออุปกรณน้ันออก การตอเช่ือมสําหรับขนาด 50 มม. และเล็กกวา ใชการตอแบบเกลียวและมี ยูเนียนอยูทางดานทายเสมอ

สําหรับขนาด 65 มม. และใหญกวา ใชการตอแบบหนาจาน 4.6 STOP VALVE ใหติดตั้ง STOP VALVE สําหรับสุขภัณฑ และอุปกรณตอไปน้ี 1) โถสวมชักโครกชนิดมีหมอนํ้า ( FLUSH TANK ) 2) สายฉีดชําระ ( HOSE FAUCET ) 3) อางลางหนา ( LAVATORY ) 4) อางลางจาน 4.7 ความลาดเอียง ทอระบายนํ้าโสโครก และทอระบายนํ้าท้ิง ตองวางใหมีความลาดเอียงไมนอยกวา 1:100 ยกเวนระบุไวในแบบแปลนเปนอยาง

อ่ืน 4.8 อุปกรณประกอบทอสุขาภิบาล 1) การลดขนาดทอ ใหใชขอลดดวยขนาดและแบบท่ีเหมาะสมเทาน้ัน 2) ทอแยก ใหใช ขอตอแยก Y ประกอบกับขอโคง หรือ TY ยาว เวนไวแตทอแยกจากแนวราบสูแนวดิ่ง อาจใช ขอตอแยก TY สั้น ไดหากพ้ืนท่ีไมอํานวย 3) การหักเลี้ยวโดยท่ัวไปใชขอโคงยาว 90 องศา เวนไวแตทอท่ีตอเขาโถสวม จากแนวดิ่งเขาแนวราบ อาจใช ขอโคงสั้น

90 องศา 4.9 การติดต้ัง FLOOR CLEEAN OUT ใหติดตั้งตามท่ีมีระบุในแบบแปลน และติดตั้งเพ่ิมเติมตามขอกําหนดตอไปน้ี

Page 34: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

31

1) จัดใหมีท่ีทุกระยะ 15 ม. สําหรับทอขนาด 100 มม. และเล็กกวา และท่ีทุกระยะ 25 ม. สําหรับทอขนาด 150 มม. และใหญกวา

2) ในท่ี ท่ีทอเปลี่ยนทิศทาง เกินกวา 45 องศาได 3) ท่ีฐานของทอในแนวดิ่ง ( BASE OF STACK ) 4) ขนาดท่ีใช ใหใชตามขนาดทอท่ีถูกติดตั้ง แตไมเกิน 100 มม. 4.10 การยึด – แขวน ทอท่ีเดินลอยตองทําการยึด – แขวน หรือทําแทนรองรับทอ ท้ังแนวราบ และแนวดิ่งอยางมั่นคงแข็งแรง โดยระยะระหวางจุด

ยึด – แขวนทอ มีดังน้ี ขนาดและชนิดของทอ ระยะหางมากท่ีสุด Ø = 100 มม. และใหญกวา GSP.) 3.00 ม. Ø = 100 มม. และใหญกวา ( PVC.) 1.50 ม. Ø = 25 มม. - Ø = 80 มม. ( GSP.) 2.00 ม. Ø = 50 มม. - Ø = 80 มม. ( PVC.) 1.50 ม. Ø = 15 มม. - Ø = 20 มม. ( PB.) 1.00 ม. 4.11 การทาสี ทอ อุปกรณประกอบทอ วาลว ท่ียึดแขวนทอ และงานเหล็กอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของกับงานทอ ตองไดรับการทาสี โดยถือปฏิบัติ

ดังน้ี 1) ทอและสวนประกอบ ท่ีอยูบนดินและมองเห็นได ใหทาสีกันสนิม 2 ช้ัน และทาสีจริงตามอีก 2 ช้ัน 2) ทอและสวนประกอบ ท่ีฝงดิน ใหทาดวยฟลิ้นโคท 2 ช้ัน 3) สีท่ีใชทาในการทาสี ใหปฏิบัติตามคําแนะนําของผูผลิตอยางเครงคัด 4) ทอท่ีมองเห็น ทาสีนํ้ามัน SHADE สีท่ีใชทา เปนดังน้ี

o ทอประปา ทาสี นํ้าเงิน o ทอระบบนํ้าท้ิง และทอระบายนํ้าฝน ทาสี นํ้าตาล o ทอระบายนํ้าโสโครก ทาสี ดํา o ทออากาศ ทาสี ขาว o ทอดับเพลิงทาสีแดง o คณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงานสามารถเปลีย่นแปลงสีไดตามความเหมาะสม ดังน้ันกอนทาสี

ใหผูรับจางสอบถามคณะกรรมการ ฯ กอนดําเนินการ 4.12 การปองกัน ทอท่ีติดตั้งยังไมแลวเสร็จ โดยท่ีจะตองรองานอ่ืน หรือพักช่ัวคราว ใหปดปลายทอเพ่ือปองกันสิ่งสกปรกลงทอ และจัดหาเครื่อง

ปองกันการเสียหาย

5. การติดต้ังเคร่ืองสูบน้ํา เคร่ืองจักรกล และตูควบคุม 5.1 วิธีการติดต้ัง ใหยึดถือตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิต และใชอุปกรณประกอบใหเหมาะสมกับลักษณะการใชงาน และจัดใหมี 1) การปรับแตงเครื่องใหได ALIGNMENT 2) มีอุปกรณลดการสั่นสะเทือน เชน แผนยางรอง VIBRATION ISOLATOR , FLEXIBLE CONNECTOR 3) การปรับแตงเครื่องใหมีเสียงดังนอยท่ีสุด 4) ขอลดสําหรับเครื่องสูบนํ้า ทอดูดใชขอลดคางหมู ( ECCENTRIC REDUCER )

ทอสงใชขอลดตรง (CONCENTRIC REDUCER)

5.2 ตําแหนงท่ีติดต้ัง กอนการติดตั้งใหตรวจสอบกับงานในระบบอ่ืนกอน เพ่ือกําหนดตําแหนงท่ีเหมาะสมโดยยึดหลักวา ตองสะดวกตอการใชงาน

แนวทอตาง ๆ ไมกีดขวางกัน และทอนํ้าตองไมอยูใกลอุปกรณไฟฟา ในการน้ีผูรับจางตองสง SHOP DRAWIMG แสดงตําแหนงของเครื่องจักร อุปกรณ และแนวทอท้ังหมดท่ีมีในหองเครื่อง มาใหคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงานพิจารณาอนุมัติ กอนดําเนินการติดตั้ง

Page 35: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

32

5.3 ตูควบคุม ประกอบและติดตั้งดวยอุปกรณ ท่ีไดมาตรฐานของ กฟน. กฟภ. NEC โดยจัดใหมีอุปกรณควบคุมการทําใหเปนไปตาม

วัตถุประสงคการใชงาน โดยดูแบบวิศวกรรมไฟฟาประกอบ 5.4 คูมือการใชงาน จัดทําคูมือการใชงาน และวิธีการบํารุงรักษาเครื่องจักรกล และอุปกรณตาง ๆ เปนภาษาไทยเปนหลัก พรอม SPARE

PART LIST และสถานท่ีจําหนาย เปนรูปเลมโดยสงราง ใหผูรับจางพิจารณากอนจัดทํา และสงมอบใหคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงาน จํานวน 5 ชุด ในวันสงมอบงาน

6. การทดสอบทอประปา – ดับเพลิง 6.1 ทอสวนท่ีฝงในพ้ืนหรือผนัง กอนการฉาบปูนปดทับ ใหทําการทดสอบทอกอนวามีรอยรั่วซึมหรือไม หากพบรอยรั่วซึมใหทําการซอมแซมและทอสอบใหม

จนไมปรากฏรอยรั่วซึม จึงสามารถฉาบปูนปดทับได ในกรณีท่ีฉาบปูนปดทับไปแลวยังปรากฏการรั่วซึมอีก ยังคงเปนภาวะหนาท่ีของผูรับจางท่ีตองทําการแกไขจนกระท่ังไมปรากฏการรั่วซึม

6.2 ภายหลังการติดต้ังระบบแลวเสร็จ เมื่อทอในระบบไดทําการติดตั้งท้ังหมดแลวเสร็จ ใหทําการทดสอบระบบทอท้ังหมดภายใตแรงดันนํ้า หากแรงดันนํ้าลด ใหทํา

การตรวจหารอยรั่วซึม และทําการแกไขทําการทดสอบอีก จนกวาแรงดันนํ้า ไมลดภายในระยะเวลากําหนด จึงถือวาผานการทดสอบทอ และทําการทําความสะอาดทอตอไป

6.3 การทดสอบทอ กระทําโดยใชนํ้าสะอาดอัดเขาไปในระบบ ดวยความดันนํ้ามากกวาความดันใชงาน 50 % แตไมนอยกวา 100 PSI. เปนเวลาไมนอยกวา 1 ซม.

7. การทดสอบทอน้ําโสโครก ทอระบายน้ํา และทออากาศ 7.1 การทดสอบทอกอนการติดต้ังสุขภัณฑ 1) ทดสอบโดยใชนํ้าสําหรับแตละสวนของระบบ ปดชองเปดท้ังหลายใหแนน ยกเวนชองท่ีอยูสูงสุด ทดสอบภายใตแรงดันนํ้าไมนอยกวา 3 ม. เปนเวลา 30 นาที หากไม

พบรอยรั่วถือวาผานการทดสอบ 2) ทดสอบโดยใชอากาศ ปดชองเปดท้ังหลายใหแนน ทดสอบภายใตความดันอากาศ 5 PSI เปนเวลา 15 นาที หากความดันไมลด ถือวาผานการทดสอบ 7.2 การทดสอบภายหลังการติดต้ังสุขภัณฑแลว 1) ทดสอบดวยควัน ใหเติมนํ้าลงในท่ีดักกลิ่นท้ังหมด และพนควันเขาสูระบบ เมื่อควันลอยออกจากปลายทออากาศแลวจึงปดปากทอ และอัด

ความดัน ใหไดความดันนํ้าสูง 2.5 ซม. เปนเวลา 30 นาที หากไมปรากฏควันออกจากทอ และขอตอถือวาผานการทดสอบ 2) ทดสอบดวยกลิ่นสะระแหน ใชนํ้ามันสะระแหน หนัก 60 กรัม ตอทอแนวดิ่ง 1 ทอ เทลงในทอหากไมปรากฏกลิ่นถือวาผานการทดสอบ

8. การลางทอ และฆาเชื้อ 8.1 ทอและอุปกรณ ภายหลังการทดสอบทอในระบบสุขาภิบาล – ดับเพลิงแลว ใหทําการลางทอ จากน้ันจึงทําการฆาเช้ือ โดยใชผงคลอรีน

ละลายนํ้าใหมีความเขมขน 100 ppm. และท้ิงไว 12 ซม. จึงลางท้ิงดวยนํ้าสะอาด 8.2 ถังเก็บน้ํา กอนทําความสะอาดถังนํ้า ใหเก็บเศษวัสดุออกใหหมดแลวจึงลางผิวในถังใหสะอาดเติมนํ้าท่ีมีสารละลายคลอรีนท่ีมีความเขมขน

200 ppm. จนเต็มถังและท้ิงไวนาน 12 ซม. จึงถายนํ้าท้ิง และลางดวยนํ้าสะอาด 9. การรับประกันผลงาน

ผูรับจางตองรับประกันผลงานการติดตั้งระบบ สุขาภิบาล – ดับเพลิง เปนระยะเวลาตามสัญญา นับจากวันสงมอบงานงวดสุดทาย

ในชวงระยะเวลาประกัน ผูรับจางตองมาตรวจสอบระบบอยางนอย 5 ครั้ง และทํารายงานผลการทดสอบ ในกรณีท่ีมีการชํารุดใหทําการแกไข อุปกรณใดชํารุดใชงานไมไดตองเปลี่ยนใหม คาใชจายตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเปนของผูรับจาง หากผูรับจางไมเขามา

Page 36: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

33 ดําเนินการในระยะเวลาอันควร คณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงานสงวนสิทธ์ิเขาดําเนินการแทน และคาใชจายตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนจะหักจากเงินค้ําประกันผลงาน

10. งานเดินทอระบบสุขาภิบาล PLUMBING PIPING 10.1 มาตรฐานของคุณภาพ วัสดุ และผลิตภัณฑ ในการปฏิบัติงานเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคโดยสมบูรณน้ัน ผูวาจางไดนําขอกําหนด กฎเกณฑและมาตรฐานดังตอไปน้ีมาเปน

บรรทัดฐาน เพ่ือบังคับควบคุมคุณภาพของวัสดุท่ีผูรับจางจะนํามาใชงานน้ีคือ

• - ทอนํ้าประปา ใชทอ PVC. ขนาดตามแบบระบุ ใหใชทอ PVC.ช้ันคุณภาพ 13.5 ( มอก. 17-2532 )

- ทอสวม ทอนํ้าท้ิงและทอระบายอากาศใหใชทอ PVC. ช้ันคุณภาพ 8.5 ( มอก. 17-2532 ) - ขอตอ PVC. ช้ันคุณภาพ13.5 (มอก.1131-2535 ) และใหใชนํ้ายาประสานทอ PVC. ( มอก. 1132-2534 ) - ทอ HDPE ทอนํ้าดี ( ช้ัน PN10 ) ขนาดดงัน้ี 1) ทอ DIA 6" (150 มม.) 2) ทอ DIA 4" (110 มม.) 3) ทอ DIA 3" (90 มม.) 4) ทอ DIA 2" (63 มม.) - ทอ BSM ทอนํ้าดี ( ขาดนํ้าเงิน ) ขนาดดังน้ี 1) ทอเหล็ก BSM เหล็กเช่ือม ขนาดØ 10"(250มม.) 2) ทอเหล็กBSMเหล็กเช่ือม ขนาด Ø 8"(200มม.) 3) ทอเหล็กBSMเหล็กเช่ือม ขนาด Ø 6"(150มม.) 4) ทอเหล็กBSMเหล็กเช่ือม ขนาด Ø 4"(100มม.) - งานติดประตูเหล็กหลอ ขนาดดังน้ี 1) ชนิดใตดิน 6" 2) ชนิดใตดิน 4" 3) ชนิดใตดิน 3" 4) แอรวาลวเหล็กหลอ ชนิดใตดินØ 4"

10.2 แผนภูมิ (Flow Diagram) ของระบบ ทอประปา ทอน้ําท้ิง ทอสวม และทอระบายอากาศ ผูรับจางจะตองจัดทําแผนภูมิ (Flow Diagram) ของระบบทอนํ้าประปา ทอนํ้าท้ิง ทอสวม และทอระบายอากาศ โดยการสกรีนลง

บนแผน Poly Glass ท่ีมีขนาดไมนอยกวา 0.80x1.00 ม. ซึ่ งจะตองแสดงถึงอุปกรณหลักท้ังหมด อันไดแก Pumps, Valves & Accessories, Pipe Sizes รูปแบบของแผนภูมิน้ีจะตองไดรบัความเหน็ชอบหรืออนุมัติจากคณะกรรมการ ฯ กอนลงมือทําจริง และจะตองสงมอบพรอมกับติดตั้งไว ณ ตําแหนงท่ีคณะกรรมการ ฯ จะเปนผูกําหนดใหกอนการทดสอบระบบทอประปา ทอนํ้าท้ิง ทอสวม และทอระบายอากาศท้ังหมด 2 สัปดาห

10.3 ถังเก็บน้ําสแตนเลส 3000 ลิตร และอุปกรณประกอบถังเก็บนํ้า มีมอก.989-2533

ขอกําหนด 1. ติดตั้งเครื่องสูบนํ้าสําหรับสูบนํ้าประปาจากถังเก็บนํ้าใตดินข้ึนไปยังถังสูง จํานวน 2 ชุด พรอมอุปกรณท่ีแสดงในแบบ 2. ติดตั้งแทนเครื่องคอนกรีต ยกลอยวางบนสปริง 3. ทอท่ีเจาะผานผนัง ตองมีปลอกทอพรอมอุดซิลิโคน 4. การทดสอบการทํางานของอุปกรณเครื่องสูบนํ้า ผูรับจางตองเตรียมอุปกรณการทดสอบ จนสามารถใชงานไดตามรายละเอียด

ท่ีกําหนดไว ตอหนาคณะกรรมการการตรวจการจางหรือไดรับมอบหมาย โดยไมคิดมูลคาในการทดสอบ 5. หลังจากการติดตั้งเครื่องสูบนํ้าแลวเสร็จ ผูรับจางตองจัดทําคูมือการใชงานและการบํารุงรักษาแบบปองกัน ( INSTRUCTION

HANDBOOK ) เปนภาษาไทยเปนหลัก รวมท้ังหนังสือคูมือการซอมแซมและหนังสือรายการอะไหลของเครื่องสูบนํ้า ( SPARE PART LIST ) และสถานท่ีจําหนาย โดยสงรางใหผูวาจางพิจารณากอนจัดทํา และสงมอบใหผูวาจางจํานวน 5 ชุดตอหน่ึงอาคาร

6. จัดหาเครื่องมือการบํารุงรักษาและการซอมบํารุง ไดแก ประแจ แหวนขางปากตาย ไขควงแบน ไขควงแฉก คีมล็อก ประแจเลื่อน ท่ีมีขนาดเหมาะสมกับขนาดของเครื่องสูบนํ้า บรรจุใสกลองเครื่องมือท่ีเปนโลหะ 1 ชุด ตอหน่ึงอาคาร

Page 37: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

34

7. ตําแหงท่ีตั้งเครื่องสูบนํ้าในหองเครื่องน้ีเปนเพียงแบบมาตรฐาน ผูรับจางสามารถจัดการติดตั้งปรับตําแหนงใหมไดตามสภาพท่ีเปนจริงในแตละสถานท่ีใหเหมาะสม โดยใหผูรับจางจัดทํา SHOP DRAWIG แสดงตําแหนงท่ีตั้ง การติดตั้งอุปกรณ และระบบควบคุมมารใหผูวาจางพิจารณาอนุมัติกอนทําการติดตั้ง

8. ในกรณีท่ีทอนํ้าเขาและทอนํ้าออกของเครื่องสูบนํ้ามีขนาดไมตรงกับท่ีกําหนดไวในแบบ ใหผูรับจางใชขอลดหรือขอเพ่ิมไดตามความจําเปน ดังน้ี ขอลดทางดานทอดูด ใหใชเปนขอลดคางหมู ( ECCENTRIC REDUCER ) ขอลดทางดานทอจาย ใหใชเปนขอลดตรง ( CONCENTRIC REDUCER)

9. ขนาดของวาลวตางๆ ใหใชตามขนาดของทอท่ีกําหนด 10. การติดตั้งเครื่องจักร , อุปกรณตางๆ ใหยึดตามมาตรฐานของบริษัทผูผลิต

PUMP TYPE : END – SUCTION CENTRIFUGAL - PUMP CASING : CAST IRON IMPELLER : DUCTILE IRON OR BRONZE SHAFT : STAINLESS STEEL SEAL : MECHANICAL EQUIVALENT TO :

MOTOR TYPE : HORIZONTAL SQUIRREL CAGE INDUCTION MOTOR POWER : 380 V. / 3 / 50 Hz. INSULATION : CLASS F

EQUIVALENT TO :

11. แผงควบคุม MOTOR ปมน้ํา (ยกเลิก) หมายเหตุ

1. ตูสวิตชบอรด ทําดวยแผนเหล็กหนาไมนอยกวา 1.5 mm. ฝาดานหนาเปด ปด ไดดวยประตูบานพับและมือถือชนิดขันกุญแจสวนท่ีเปนโลหะท้ังหมดตองผานกรรมวิธีปองกันการเปนสนิมอยางถูกตอง และทาสีกันสนิมอยางนอย 2 ครั้ง กอนลงสีจริงดวยสีทาอบแหง

2. อุปกรณไฟฟาท้ังหมดจะตองติดปายช่ือ (NAME PLATE) อธิบายการใชงานและตองเปนชนิดติดอยูกับตูสวิตชบอรดอยางถาวร

3. วงจรควบคุมระบบปมนํ้า (SCHEMATIC DIAGRAM) ในแบบเปนเพียงวงจรตัวอยางเคราๆ ดังน้ันผูรับจางจะตองจัดทํารายละเอียดดังน้ี

5.1 WIRING DIAGRAM AND CONNECTION DIAGRAM ตามอุปกรณท่ีจะใชติดตั้งจริง 5.2 รายละเอียดตูสวิตชบอรดและอุปกรณไฟฟาท้ังหมดตองระบุ ELECTRICAL RATINC ช่ือรุน (TYPE) และช่ือผูผลิตเปนตน 5.3 รายละเอียดในขอ 3.1 และ 3.2 ผูรับจางจะตองจัดสงใหการเคหะฯพิจารณากอน จึงจะดําเนินการติดตั้งสวิตชบอรด

4. การประกอบตูสวิตชบอรดจะตองเปนไปตาม WIRING DIAGRAM และรายละเอียดท่ีผานการพิจารณาอนุมัติจากการเคหะฯ การเดินสายไฟ (WIRING) จะตองมีช่ือหมายเลขท่ีปลายสายทุก ๆ ปลายใหตรงกับท่ี WIRING DIAGRAM และอุปกรณไฟฟาอ่ืน ๆ ภายในตูท้ังหมดจะตองมีปายช่ืออุปกรณติดอยูตาม WIRING DIAGRAM

5. ผูรับจางประกอบตูสวิตชบอรด จะตองเปนผูมคีวามชํานาญงานในดานน้ีมานานปมีผลงานปรากฏเปนท่ีเช่ือถือได และจะตองมีวิศวกร หรือผูมีความชํานาญ เปนผูออกแบบและควบคุมการประกอบตูสวิตชบอรด

CODE NO. OF STOREYS.

NO. OF UNITS.

PUMP MOTOR CWS [ mm. ]

CWD [ mm. ]

RT.HEIGHT [ m. ]

CAPACITY [ GPM ]

TDH [ FT ]

SPEED [ RPM ]

POWER [ HP ]

RF- 5SS 96 A

5 96 180 100 2900 10.0 100 80 20.65

Page 38: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

35

6. หลังจากการประกอบตูสวิตชบอรดและติดตั้งเรียบรอยแลว ผูรับจางจะตองเตรียมอุปกรณทดสอบท่ีจําเปนและทําการทดสอบตอหนาวิศวกรการเคหะฯ

7. กอนรับงานงวดสุดทายผูรับจางจะตองจัดทําคูมือ (INSTRUCTION BOOK) แสดงรายละเอียดในขอ 3.1 และ 3.2 ท้ังหมดเย็บเปนเลมเดียวกัน และคูมือวิธีการใชงาน (OPERATION) เปนภาษาไทยจัดสงใหการเคหะฯอยางนอย 4 ชุด

ก. ขอกําหนดท่ัวไปของระบบบําบัดน้ําเสียรวมของอาคารใชในโครงการ 1. วัตถุประสงค ใหผูรับจางจัดหา และติดตั้งระบบบําบัดนํ้าเสียรวมของอาคารชนิดสําเร็จรูป (PACKAGE WASTEWATER TREATMENT

PLANT,PWTP) รายละเอียดตามขอกําหนดเฉพาะท่ีกําหนดใหในแบบแปลน และ/ หรือผังบริเวณงานระบบวิศวกรรมสุขาภิบาล พรอมตอทอรวมนํ้าเสียจากอาคารเขา- ออก ระบบบําบัดฯดังกลาว และติดตั้งเดินระบบไฟจายไปยังตูควบคุมของระบบบําบัดฯเขากับอุปกรณตางๆภายในระบบเพ่ือใหระบบแลวเสร็จและทํางานไดโดยถูกตองสมบูรณ

2. ขอบเขตและแนวทางในการดําเนินการ 2.1 ใหผูรับจางจัดเตรียมเอกสาร ประกอบดวยรายละเอียดของระบบ และอุปกรณท่ีใช รายการคํานวณ และหนังสือ

รับรองจากวิศวกรผูไดรับใบอนุญาต แบบของระบบบําบัดนํ้าเสียรวมของอาคาร ชนิดสําเร็จรูป (PWTP) ขนาดความสามารถในการบําบัดนํ้าเสียตามท่ีระบุไวในแปลน และ/ หรือผังบริเวณงานระบบวิศวกรรม สุขาภิบาล เสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงาน หรือตัวแทนของคณะกรรมการ ฯ

2.2 เมื่อไดรับความเห็นชอบใหใช (PWTP) ตาม 2.1 แลว ใหผูรับจางประสานงานกับเจาของผลิตภัณฑ จัดทํา SHOP DRAWING แสดงรายละเอียดตางๆ แสดงระยะ คาระดับตางๆท่ีเก่ียวของ HYDRAULIC PROFILE FLOW DIAGRAM ของระบบบําบัดฯดังกลาว ลงในผัง/แปลนพ้ืนช้ันลางของอาคาร แบบขยายแสดงรูปดาน รูปตัด รายละเอียดตัวถัง รายละเอียดฐานราก การยึดโยงถังบําบัดฯกับฐานราก ขนาดและจํานวนเสาเข็มท่ีใช คาระดับทอเขา – ออก เทียบกับคาระดับทอระบายนํ้าในงานวิศวกรรมโยธา รายละเอียดแสดงชนิดและวัสดุท่ีใชปด กลบถัง การเดินทออากาศ ตําแหนงฝาถัง ตําแหนงติดตั้ง AIR BLOWER ตูควบคุมทางไฟฟา การเดินสายไฟไปยังตูควบคุม WIRING DIAGRAM และรายละเอียดประกอบระบบท่ีจําเปน เพ่ือสนองขอรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงานอีกครั้งหน่ึงกอน จึงจะทําการติดตั้งระบบดังกลาวได

2.3 กอนการสงมอบงานระบบบําบัดนํ้าเสียรวมของอาคารใหกับผูวาจางใหผูรับจางดําเนินการดังน้ี 2.3.1 ทําการทดสอบระบบบําบัดฯ ท้ังในสวนโครงสราง และอุปกรณประกอบทุกสวน วาสามารถทํางานไดเต็มความ

สามรถตามวัตถุประสงคของงาน โดยคาใชจายในการทดสอบท้ังหมดเปนของผูรับจาง 2.3.2 เอกสารคูมือแสดงวิธีการทํางานของระบบ และการดูแลบํารุงรักษาเครื่องมืออุปกรณประกอบในระบบ 2.3.3 เอกสารสัญญา และ/หรือ ใบรับประกันผลิตภัณฑในสภาพการใชงานปกติ นับตั้งแตการสงมอบงานตามสัญญา ก. สําหรับโครงสรางตัวถังบําบัดไมนอยกวา 10 ป ข. เครื่องมือและอุปกรณประกอบไมนอยกวา 2 ป ค. สัญญารับดําเนินการเดินระบบ (START UP) และรับประกันคุณภาพนํ้าท่ีผานการบําบัด ใหมีคุณภาพไดตาม

มาตรฐานคุณภาพนํ้าท้ิง โดยมีการตรวจวัด หรือ วิเคราะหคุณภาพตัวอยางนํ้ากอนเขา และท่ีผานการบําบัดแลวจากสถาบันการทดสอบของราชการหรือ หองปฏิบัติการวิเคราะหคุณภาพนํ้าของเอกชนผูไดรับใบอนุญาต สงมอบใหผูวาจางทุกๆ ราย 4 เดือนพรอม รายงาน 1 ฉบับ ตลอดระยะเวลา 2 ป นับตั้งแตวันท่ีดําเนินการเดินระบบ

ในกรณีท่ีคุณภาพนํ้าท่ีผานการบําบัด ไมไดเกณฑตามมาตรฐาน ใหผูรับจางการรับผิดชอบดําเนินการปรับปรุงแกไขระบบจนสามารถใชงานไดตามวัตถุประสงค โดยคาใชจายตางๆท่ีเกิดข้ึน อยูในความรับผิดชอบของผูรับจางท้ังหมด

2.3.4 เอกสารสัญญายืนยันความพรอม ในการจัดสงผูแทน ผูเช่ียวชาญทางดานเทคนิค ของระบบบําบัดนํ้าเสียของเจาของผลิตภัณฑเขาช้ีแจงกับเจาหนาท่ีของสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม (สผ.) ในกรณีมีสวนท่ีเก่ียวของกับการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการและตองช้ีแจงกับ สผ.

ข. ขอกําหนดมาตรฐานเฉพาะทางเทคนิค, พรอมติดตั้งตามแบบ

1. เคร่ืองสูบน้ําดิบ (RAW WATER PUMP) จํานวน : 2 ชุด

ชนิด : Centrifugal อัตราการไหล : 100 ลบม./ชม. Discharge head : 10-15 เมตร

กําลังไฟฟา : 7.50 kw, 380V/3∅/50Hz.

Page 39: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

36

2. เคร่ืองสูบสงน้ําประปา (TRANSFER WATER PUMP) จํานวน : 1 ชุด

ชนิด : Booster pump + vfd + ps tank อัตราการไหล : 30 ลบม./ชม. Discharge head : 30 เมตร

กําลังไฟฟา : 4.00 kw, 380V/3∅/50Hz.

3. ถังผลิตน้ําประปาอัติโนมัติ (AQUA-PULSE CLARIFIER-AVGF TANK) จํานวน : 2 ชุด ชนิดของถังผลิตนํ้าประปาอัติโนมัติ : Pressure pulsator and Sludge blanket clarifier +

A.V.G.F อัตราการผลิตนํ้า : 55 ลบม./ชม. Surface loading rate clarifier tank : 3.00-3.50 m3/m2/Hr. Surface loading rate filter tank : 8.00-10.00 m3/m2/Hr. สารกรอง : Anthracite media

รูปทรง : ถังทรงสี่เหลี่ยม ความกวาง : มากกวา 5.00 เมตร ความยาว : มากกวา 5.00 เมตร ความสูงตรง : 5.60 เมตร

วัสดุท่ีใช : ทําดวยเหล็กแผนเหนียว (SS400)

การทาสีภายใน -การทําความสะอาดพ้ืนผิว : Sand blast sa.2.5

- สีรองพ้ืน : ช้ัน 1 Epiller Epoxy “TOA Chugoku” 200 Micron - สีทับหนา : ช้ัน 2 Epiller Epoxy “TOA Chugoku” 200 Micron

- รวมความหนาของสีไมนอยกวา : 250 ไมครอน

การทาสีภายนอก -การทําความสะอาดพ้ืนผิว : Sand blast sa.2.5

- สีรองพ้ืน : ช้ัน 1 INORGANIC GALBON SHB100 “TOA Chugoku” 50 Micron - สีทับกลาง : ช้ัน 2 Epicon FHS (MIO) “TOA Chugoku” 150 Micron - สีทับหนา : ช้ัน 3 Uny Marine 100

Poly Urethene “TOA Chugoku” 50 Micron - รวมความหนาของสีไมนอยกวา : 200 ไมครอน ความหนาของตวัถัง : 6.00 มม.

ความหนาของพ้ืนถัง : 8.00 มม. อุปกรณประกอบ - ทอทางนํ้าเขาของนํ้าดิบ ขนาดเสนผาศูนยกลาง 4 น้ิว - ทอทางออกของนํ้าใส ขนาดเสนผาศูนยกลาง 8 น้ิว - ทอระบายตะกอน, ทอระบายนํ้า อุปกรณสวนบนของชุด Head Pressure Tank ของถัง จะตองทําการชุบสังกะสีเพ่ือปกปองการกัดกรอนจากสนิมตามมาตรฐานการชุบแบบ Hop Dip Galvanize มาตรฐาน ASTM A123 หรือ BS ISO1461

Page 40: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

37

4. ถังเก็บน้ํา (WATER STORAGE TANK) จํานวน : 3 ชุด แบบ : GRP Sectoinal water tank ปริมาณการบรรจุนํ้า : 378 ลบม. จํานวน 2 ถัง/ 384 ลบม. จํานวน 1 ถัง รูปทรง : ถังทรงสี่เหลี่ยม ความกวาง : 7.00 เมตร / 8.00 เมตร ความยาว : 18.00 เมตร / 16.00 เมตร ความสูงตรง : 3.00 เมตร

วัสดุท่ีใชผนังภายนอก : Resin isophthalic unsaturated polyester resin conforming to BS 3532

วัสดุท่ีใชผนังภายในกันรั่วซึม : Teflon มีเครื่องวัดคาปริมาณนํ้าแบบ Mechanical level Guage

อุปกรณประกอบ - ทอทางนํ้าเขา ขนาดเสนผาศูนยกลาง 8 น้ิว - ทอทางออกของนํ้าใส ขนาดเสนผาศูนยกลาง 10 น้ิว - ทอระบายตะกอนขนาดเสนผาศูนยกลาง 4 น้ิว

Page 41: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

38

Page 42: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

39

Page 43: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

40

Page 44: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

41

Page 45: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

42

Page 46: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

43

Page 47: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

44

Page 48: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

45

5. เคร่ืองสูบจายปรีคลอรีน,โพสคลอรีน (CHLORINE DOSING UNIT) จํานวน : 4 ชุด ชนิด : Diaphragm Metering Pump อัตราการไหล : 2 ลิตร/ชม. แรงดันสูงสุด : 3 บาร กําลังไฟฟา : 100-240VAC,50-60 Hz. ,25 w

อุปกรณประกอบ - Suction and discharge pipe - Foot valve - ถังโพลีเอธทีลีน ขนาด 200 ลิตร จํานวน 1 ชุด

6. เคร่ืองสูบสารสมหรือแพค (ALUM OR PAC DOSING UNIT) จํานวน : 2 ชุด ชนิด : Diaphragm Metering Pump อัตราการไหล : 30 ลิตร/ชม. แรงดันสูงสุด : 3 บาร กําลังไฟฟา : 100-240VAC,50-60 Hz. ,0.10 kw

อุปกรณประกอบ - Suction and discharge pipe - Foot valve - Polyethylene tank Cap.500 Liters - เครื่องกวนสารเคมีแบบ direct drive ขนาด 1,000 rpm. จํานวน 1 ชุด

7.เคร่ืองสูบโพลิเมอร (POLYMER DOSING UNIT) จํานวน : 2 ชุด ชนิด : Diaphragm Metering Pump อัตราการไหล : 80 ลิตร/ชม. แรงดันสูงสุด : 3 บาร กําลังไฟฟา : 100-240VAC,50-60 Hz. ,0.10kw

อุปกรณประกอบ - Suction and discharge pipe - Foot valve - ถังโพลีเอธทีลีน ขนาด 1,00 ลิตร จํานวน 1 ชุด

- เครื่องกวนสารเคมีแบบ Gear motor ขนาด 0.75kW. , 900 rpm. จํานวน 1 ชุด

--------------------------

Page 49: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

46

หมวดท่ี 6 งานระบบไฟฟา มีรายละเอียดดังน้ี ใหยึดวัสดุตามแบบรูป หากไมมีรายละเอียดในรายการ ใหนําเสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือพิจารณากอนการดําเนินการ

ตูเมนไฟฟาแรงตํ่าและอุปกรณประกอบ LOW VOLTAGE DISTRIBUTION BOARD AND AUXILIARY EQUIPMENT

1. ความตองการท่ัวไป 1.1 ผูรับจางตองจัดหาและติดตั้งตูเมนไฟฟาแรงต่ํา ซึ่งผลิตข้ึนตามมาตรฐาน VDE, IEC, NEMA หรือ ANSI สําหรับระบบไฟฟา

380/220 volt 3 phase 4 wire 50 Hz มีคุณสมบัติตามความตองการของ NE CODE ARTICLE 384 และมีคุณสมบัติ/ลักษณะท่ีการไฟฟาทองถ่ินยอมใหใชงานได

1.2 สวิตชหรือ circuit breaker ทุกชุดท่ีใชในตูเมนไฟฟาแรงต่ํา จะตองผลิตโดยผูผลิตรายเดียวกัน ยกเวน main switch, main and tie circuit breaker หรือ automatic transfer switch อาจใชผลิตภัณฑจากผูผลิตรายอ่ืนไดถาจําเปน แตตองไดรับการอนุมัติจากผูวาจางกอน

1.3 สวิตชตัดตอนท่ีใชในตูเมนไฟฟาแรงต่ํา ขนาดเฟรมตองไมเล็กกวาท่ีกําหนด และสามารถทนกระแสลัดวงจรไดไมต่ํากวาท่ีกําหนดในแบบ

2. รายละเอียดทางโครงสราง 2.1 โครงตูทําดวยเหล็กฉากหนาอยางนอย 3 มม. เช่ือมติดกันหรือยึดติดกันดวยสลักและเปนเกลียวถาตูมีหลายสวนและตั้งเรียง

ติดกัน ตองยึดติดกันดวยสลักและเปนเกลียว พรอมมีแผนโลหะก้ันแยกสวนภายในตูออกจากกัน 2.2 แผนโลหะรอบนอกตองทําจากแผนเหล็กท่ีมีความหนาไมนอยกวา 2 มม. ผานกรรมวิธีกําจัดและปองกันสนิม โดยวิธี Electro

Galvanized แลวพนทับดวยสีชนิดอบแหงท้ังภายนอกและภายใน 2.3 ตัวตูประกอบข้ึนเปน compartment ประกอบดวย busbars, circuit breaker, cable และ metering compartment

โดยมีแผนโลหะก้ันระหวาง compartment และตองมีฐานสําหรับยึด circuit breaker ดวย 2.4 ตัวตูตองสามารถเปดไดท้ังดานหนา ดานหลัง ดานบน และดานขางแผงประตูดานหนาของชองใสอุปกรณ ตองติดบานพับชนิด

ซอน ดานหลังและดานขางใหทําเปนแผง ๆ ละสองช้ินพับขอบมีแผนยาง seal และยึดกับโครงสรางของตูโดยใชสกรู 2.5 ฝาดานขางและดานหลัง จะตองมีเกล็ดสําหรับระบายอากาศอยางเพียงพอ โดยภายในชองเกล็ดใหบุดวยตาขายกันแมลง

(insect screen) และมี filter สําหรับปองกันฝุนดวย 2.6 ฝาตูดานหนาตองมีปายช่ือทําดวยพลาสติก พรอมท้ัง mimic bus diagram ติดใหเห็นอยางชัดเจนและไมหลุดงาย 2.7 ช้ินสวนท่ีเปนโลหะท้ังหมดตองผานกรรมวิธีกําจัด และปองกันสนิมโดยวิธี Electro Galvanize แลวพนทับดวยสีชนิดอบแหง

(stove-enamelled paint) 2.8 ฝาตูทุกบานท่ีมีบานพับปดเปดได ตองมีการตอลงดินดวยสายดินชนิดลวดทองแดงถักตอลงดินท่ีโครงตู 2.9 ตัวโครงสรางจะตองขันสกรูหรือเช่ือมอยางแข็งแรง ตัวเมน BUSBAR และโครงสรางจะตองสามารถทนแรงปดหากเกิดการ

ลัดวงจรในระบบไฟฟา ไดอยางต่ํา 50,000 แอมแปร 3. รายละเอียดทางดานเทคนิค

3.1 BUSBAR ท่ีใชตองทําจากทองแดงมีความบริสุทธ์ิไมนอยกวา 98% มีขนาดและ ampacity ตามตารางท่ีแนบทายหมวดน้ี และจัดเรียงอยางเปนระเบียบ สะดวกตอการเขาสาย และมีระยะหางจากฝาตูอยางเพียงพอสําหรับการเดินสายไฟฟา นอกจากน้ีตองม ีground bus อยูดานหลังมุมลางและ neutral bus อยูดานหลังมุมบนของตู หรือติดตั้งบริเวณอ่ืนของตูแตตองไดรับการอนุมัติจากผูวาจางกอน bus ดังกลาวจะตองวางยาวตลอดความยาวของตูและเจาะรูเตรียมสําหรับการตอสายไว

3.2 การจัดเฟสของ busbars เมื่อมองจากดานหนาใหอยูในลักษณะดังน้ี A,B,C เรียงจากหนาตูไปหลังตูจากบนลาง หรือจากซายไปขวา

3.3 เมน busbars เช่ือมระหวางเมนกับ CIRCUIT BREAKER ตาง ๆ จะตองเปนทองแดงขนาดโตพอสําหรับกระแสไฟฟา โดยไมทําใหอุณหภูมิของทองแดงสูงเกิน 40 องศาเซลเซียส

3.4 BUSBARS ภายในตูใหทาสีหรือพนสีดวยสีทนความรอน เพ่ือระบุเฟสดังน้ี เฟส A : สีนํ้าตาล เฟส B : สีดํา เฟส C : สีเทา NEUTRAL : สีฟา GROUND : สีเขียวแถบเหลือง

Page 50: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

47

3.5 จุดตอหรือจุดสัมผัสระหวาง busbar กับ busbar หรือ busbar กับ terminal pad ใหทาเคลือบจุดสัมผัสดวย electrical

compound เพ่ือปองกันการเกิดออกไซด 3.6 ท่ีหางปลาเขาสายใหสวมดวย vinyl wire end cap โดยเลือกขนาดใหเหมาะสมกับสายและหางปลาท่ีใช และใชรหัสตามเฟส

น้ัน ๆ ไมอนุญาตใหใชเทปสีพันแทน เพราะจะทําใหไมคงทนและหลุดงาย 3.7 สายไฟฟาสําหรับระบบควบคุมและเครื่องวัด ซึ่งเดินเช่ือมระหวางอุปกรณไฟฟา และอุปกรณไฟฟากับ terminal block

ภายในตูใหใชสายชนิด stranded annealed copper wire 300V, 70deg.C PVC-INSULATED ขนาดของสายไฟ ตองมีรหัสสีและตองไมเล็กกวาท่ีกําหนดดังน้ี - CURRENT CIRCUIT ใชสายสีดํา ขนาด 4 ตร.มม. - VOLTAGE CIRCUIT ใชสายสีแดง ขนาด 2.5 ตร.มม. - AC. CONTROL CIRCUIT : ใชสีเหลือง ขนาด 1.5 ตร.มม. - DC. CONTROL CIRCUIT : ใชสายสีนํ้าเงิน ขนาด 1.5 ตร.มม. SLEEVE และ CAP หุมปลายสายก็ใหใชรหัสสีเดียวกับสายดวย - สายไฟท้ังหมดตองวางอยูในรางเดินสาย (trunking) เพ่ือความเรียบรอย และเพ่ือปองกันการชํารุดของฉนวน

สายไฟฟาแตละเสนท่ีเช่ือมระหวางจุดตาง ๆ และหามมีการตัดตอโดยเด็ดขาด - สาย control ทุกเสนท่ีปลายท้ัง 2 ดาน ตองมีเครื่องหมายกํากับเปนระบบปลอกสวม (ferrule) ซึ่งยากแกการลอกหรือ

หลุดหายเพ่ือความสะดวกในการบํารุงรักษาภายหลัง - สาย control ท่ีแยกออกจาก cable truncking ตองจัดหรือรัดสายดวย cable tie ใหเปนระเบียบ

CONTINUOUS CURRENT-CARRYING CAPACITY OF COPPER CONDUCTORS (DIN 43,671, DECEMBER 1975)

Copper conductors of rectangular cross-section indoor installations, ambient temperature 35 °C, conductor

temperature 65 °C. Conductor width vertical, clearance between conducts equal to conductor thickness: with alternating current, phase centre-line distance >0.8 x clearance between phases.,busbar lenght 2.0 m. or less

Page 51: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

48 Width Cross Continuous current in A X Section coated bare

thickness mm area sq.mm. 1 2 3 4 1 2 3 4 bar bar bar bar bar bar bar bar 12 x 2 23.5 123 202 228 - 108 182 216 - 15 x 2 29.5 148 240 261 - 128 212 247 - 15 x 3 44.5 187 316 381 - 162 282 361 - 20 x 2 39.5 189 302 313 162 264 298 - 20 x 3 59.5 237 394 454 - 204 348 431 - 20 x 5 99.1 319 560 728 - 274 500 690 - 20 x 10 199 497 924 1320 - 427 825 1180 - 25 x 3 74.5 287 470 525 - 245 412 498 - 25 x 5 124 384 662 839 - 327 586 795 - 30 x 3 89.5 337 544 593 - 285 476 564 - 30 x 5 140 447 760 994 - 379 627 896 - 30 x 10 299 676 1200 1670 - 573 1060 1480 - 40 x 3 119 435 692 725 - 366 600 690 - 40 x 5 199 573 952 1140 - 482 836 1090 - 40 x 10 399 850 1470 2000 2580 715 1290 1770 2280 50 x 5 249 697 1140 1330 2010 583 994 1260 1920 50 x 10 499 1020 1720 2320 2950 852 1510 2040 2600 60 x 10 599 1180 1960 2610 3290 989 1720 2300 2900 80 x 5 399 1070 1680 1830 2830 885 1450 1750 2720 80 x 10 799 1500 2410 3170 3930 1240 2110 2790 3450 100 x 5 799 1300 2010 2150 3300 1080 1730 2050 3190 100 x 10 988 1810 2850 3720 4530 1490 2480 3260 3980 120 x 10 1200 2100 3280 4270 5130 1740 2860 3740 4500 160 x 10 1600 2700 4130 5360 6320 2220 3590 4680 5530 200 x 10 2000 3290 4970 6430 7490 2690 4310 5610 6540 NOTE : Correction factor for load reduction with long side (width) of bus conductors in rizontal position or with

busbars vertical for more than 2 m. Number of busbars

Width of busbar (mm.)

Thickness of busbar and clearance

Correction factor

(mm.) coated bare 2 50.............200 5.................10 0.85 0.80 3 50.............80 5.................10 0.85 0.80 100...........120 5.................10 0.80 0.75 4 160 5.................10 0.75 0.70 200 5.................10 0.70 0.65

2. แผงสวิตชตัดตอนอัตโนมัติและเซอรกิตเบรกเกอร ตามแบบรูป

Page 52: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

49

อุปกรณประกอบสําหรับระบบไฟฟา ELECTRICAL AUXILIARY EQUIPMENT

4.1. CIRCUIT BREAKER 4.1.1 CIRCUIT BREAKER ท้ังหมดผลิตและทดสอบตามมาตรฐาน NEMA, ANSI, VDE, IEC, UL 4.1.2 เปนชนิดท่ีผลิตข้ึนมาตองสามารถทนแรงดันไฟฟาไมนอยกวา 240 Volt สําหรับ 1 เฟส และไมนอยกวา 415 Volt

สําหรับ 3 เฟส 4.1.3 ขนาดเฟรม (Frame size) ไมเกิน 600 Amp. ตองเปนชนิด Molded Case Circuit Breaker, Thermal Magnetic or

Solid State Trip 4.1.4 ขนาดเฟรมมากกวา 600 Amp. เปนชนิด Molded case หรือ Open Frame โดยมี Releasing Device เปนแบบ

Solid State Trip Unit 4.1.5 Circuit Breaker ท่ีมีพิกัดตั้งแต 1000 Amp. ข้ึนไป จะตองมีระบบ Ground Fault Protection โดยมีคาปรับตั้งแตไม

เกิน 1200 Amp. สําหรับ Ground Fault Current ตั้งแต 3000 Amp. ข้ึนไปและจะตองปลดวงจรภายในเวลาไมเกิน 1 วินาที 4.1.6 Main Circuit Breaker จะตองแบงชนิด Air Circuit Breaker (ACB) ซึ่งจะตองประกอบดวย Function ดังน้ี 4.1.7 คา IC ระบุตามในแบบ 4.1.8 Over Load Protection 4.1.9 Long Time Delay 4.1.10 Short Circuit Protection 4.1.11 Short Time Delay 4.1.12 Instantaneous Protection 4.1.13 Ground Fault Protection และอุปกรณประกอบภายใน 4.1.14 เปนชนิด Manual Operated 4.1.15 4 Auxiliary Contact 4.1.16 อุปกรณประกอบอ่ืน ๆ รวมถึง Special tool (ถามี) ท่ีจําเปนตามมาตรฐานของผูผลิต

4.2 MOLDED CASE SWITCH เปนสวิตชแบบเดียวกับ Circuit Breaker แตไมมี Over Current และ Short Circuit Release แตมี Arcing Chamber สวนคุณสมบัติอ่ืน ๆ เหมือนกันทุกประการ

4.3. CIRCUIT BREAKER BOX WITH ENCLOSED 3.1 ท่ัวไปใหใช Molded Case Circuit Breaker ท่ีมี Ampere Trip Rating และจํานวน Pole ตามท่ีระบุในแบบ 3.2 ขอบเขต ผูรับจางตองจัดหาและติดตั้ง Circuit Breaker Box (Enclosed Circuit Breaker) ตามท่ีแสดงในแบบและระบุใน

ขอกําหนดน้ีทุกประการ

3.3 ความตองการทางดานเทคนิค 3.3.1 Enclosure เปนไปตามมาตรฐาน NEMA โดยท่ีตัวตูทําดวยแผนเหล็กท่ีผานกรรมวิธีปองกันและกําจัดสนิม พรอมท้ัง

เคลือบอบสีอยางดี โดยมีระดับการปองกัน NEMA 1 สําหรับติดตั้งในอาคาร และ NEMA 3R สําหรับติดตั้งภายนอกอาคาร

4.4. PANEL BOARD

ชนิดและขนาดตามท่ีระบุในแบบผลติตามมาตรฐาน NEMA, UL หรือตามมาตรฐานสากลดังกลาวขางตน และแผง Panel Board ตองเปนผลิตภัณฑจากผูผลิตเดียวกันท้ังหมด ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปน้ี 4.1 Main Circuit Breaker เ ป น ช นิ ด Molded Case Circuit Breaker Thermal Magnetic Trip, Trip Free มี ข น า ด

Interrupting Capacity ไมนอยกวา 10 KA สําหรับ Main Circuit Breaker และ 5 KA สําหรับ Branch Breaker หรือตามท่ีระบุในแบบท่ีแรงดัน 415/240 Volt หรือ ตามระบุในแบบ

4.2 ภายในแผงตองมีพ้ืนท่ีเพียงพอในการเดินสาย ฝาตูท่ีเปนบานพับดานใน ตองมีท่ีติดกระดาษแสดงการใชงานของวงจรยอย 4.3 Branch Circuit Breaker ตองเปนชนิด Plug-In หรือ Bolt-On ตามท่ีระบุในตารางโหลดและสามารถถอดเปลี่ยนไดโดยไมตอง

หยุดใชงานของ Circuit Breaker ตัวอ่ืน

Page 53: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

50

4.4 ภายในแผงตองมี Ground และ Neutral Terminal เพียงพอสําหรับแตละวงจรยอย 4.5. เคร่ืองวัดไฟฟาและอุปกรณประกอบ

5.1 เครื่องวัดแรงดัน (Voltmeter) เปนชนิดตอตรงมีชวงในการวัด 0 ถึง 500 V (ตามระบุในแบบ)มีความแมนยํา (Accuracy)

±1.5 เปอรเซ็นตหรือดีกวา 5.2 สวิตชเครื่องวัดแรงดัน (Voltmeter Switch : VS) เปนสวิตชหมุนได 7 จังหวะ เพ่ือวัดแรงดันท้ัง 3 เฟส และกับสายศูนยมี

จังหวะการบิดดังน้ี RS-ST-TR-O-RN-SN-TN

5.3 เครื่องวัดกระแส (Ammeter) อาจเปนชนิดตอตรงหรือตอผานหมอแปลงกระแส มีความแมนยํา ±1.5 เปอรเซ็นตหรือดีกวา 5.4 สวิตชเครื่องวัดกระแส (Ammeter Switch : AS) เปนสวิตชหมุนได 4 จังหวะเพ่ือกระแสท้ัง 3 เฟส และมีจังหวะการบิดดังน้ี

O-R-S-T ทนกระแสไดไมต่ํากวา 10 A (ตามระบุในแบบ) 5.5 หมอแปลงกระแส (Current Transformer) พิกัดกระแสทางทุติยภูมิ 5 A ทนแรงดันไดไมนอยกวา 500 V(ตามระบุในแบบ) มี

ความแมนยํา ± 0.5 เปอรเซ็นต ท่ี 50 Hz สําหรับเครื่องวัดของการไฟฟาทองถ่ิน แตตองไดรับการอนุมัติจากการไฟฟาฯ กอนนําเขาใชงาน

5.6 เครื่องวัดเพาเวอรแฟกเตอร (Power Factor Meter) เปนแบบท่ีใชในระบบ 3 เฟส มีชวงการวัด : lead 0.5……1…….0.5 lag

มีความแมนยํา ±1.5 เปอรเซ็นตหรือดีกวา 5.7 เครื่องวัดพลังงานไฟฟา (Kilowatthour Meter) เปนชนิด 1 เฟส หรือ 3 เฟส สําหรับตอตรงหรือใชหมอแปลงกระแส มีความ

แมนยํา ± 2.5 เปอรเซ็นตหรือดีกวา ----------------------------

5. ทอเดินสายไฟ 5.1 รางวายเวย ( WIRE WAY ) เดินสายไฟ ขนาดตามแบบรูป 5.2 ทอเดินสายไฟ EMT มีมอก.770– 2533 หรือเทียบเทา ขนาดตามแบบรูป

6. สายไฟ

• NYY มี มอก. 11เลม 3-2553 หรือเทียบเทา ขนาดตามแบบรูป

• THW มี มอก. 11เลม 3-2553 หรือเทียบเทา ขนาดตามแบบรูป

สายไฟฟา WIRES AND CABLE 6.1. สายไฟฟาชนิดรอยในทอหรือรางเดินสาย

ถาหากมิไดระบุเปนอ่ืนใดในแบบ สายไฟฟาท่ีใชจะตองเปนสายทองแดงแกนเดี่ยวหุมฉนวน PVC ทนแรงดันไฟฟาได 750 โวลท และทนอุณหภูมิไดสูงสุด 70 องศาเซลเซียส ตาม มอก.11-2531 สายไฟฟาทองแดงหุมดวยโพลีไวนิลคลอไรด ตารางท่ี 4 รายละเอียดอ่ืน ๆ มีดังน้ี

6.1.1 สายสําหรับวงจรไฟฟาตองมีพ้ืนท่ีหนาตัดสายไมเล็กกวา 2.5 ตร.มม. สายตอเขาดวงโคมแตละดวงใหใชสายขนาดไมเล็กกวา 1.5 ตร.ม.

6.1.2 รหัสสี (Color Code) สําหรับสายไฟฟาแรงต่ํา เฟส A - สีนํ้าตาล

เฟส B - สดีํา เฟส C - สีเทา NEUTRAL - สีฟา สายดิน (Ground) - สีเขียวแถบเหลือง ในกรณีสายมีขนาดใหญกวา 10 ตร.มม. ซึ่งไมมีสีของฉนวนตามระบุใหใชเทปสีตามรหัสพันทับท่ีสายน้ัน ๆ หรือทาดวยสีชนิดท่ีไมทําความเสียหายตอฉนวนไฟฟา สวนท่ีข้ัวหางปลาใหสวมดวย Vinyl Wire End Cap โดยใชรหัสสีเดียวกัน

6.1.3 สายไฟฟาตองมีความยาวตลอดความยาวทอ หามตัดตอสายภายในทอ อนุญาตใหตอสายไดในกลองตอสายเทาน้ัน สําหรับสายขนาดไมเกิน 6 ตร.มม. ใหใช Wire Nut หรือ Scotch Lock ในการตอสายสวนสายขนาดใหญกวาน้ีใหตอดวย Split Bolt หรือ Compression Connector และพันทับดวยเทปยางใหมีคุณสมบัติเทียบเทาฉนวนไฟฟาเทาน้ัน

6.1.4 การรอยสายหามใชนํ้ามันหลอลื่นทาเพ่ือชวยในการรอยสาย ตองใช Pulling Compound ท่ีผลิตสําหรับการรอยสายโดยเฉพาะเทาน้ัน

6.1.5 หามรอยสายโทรศัพท หรือสายแรงดันต่ําพิเศษเขาไปในทอรอยสายหรือกลองตอสายเดียวกันกับสายไฟฟา

Page 54: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

51

6.1.6 สายไฟฟาแตละเสนตองมีการทําเครื่องหมายใหทราบไดถึงวงจร และหนาท่ีของสายไฟน้ัน ๆ เครื่องหมายเหลาน้ีใหทําไวท่ีสาย ท้ังท่ีอยูในกลองตอสายและปลายสายท่ีเขาอุปกรณ

6.1.7 สายไฟฟาท่ีเดินเขาในแผงจายไฟหรืออุปกรณอ่ืนจะตองจัดใหเปนระเบียบโดยใช Self Locking Cable Ties รัดใหเปนหมวดหมู สายตองมีความยาวเหลือไวเพียงพอท่ีจะยายตําแหนงในแผงจายไฟอนาคต

6.2. การเดินสายใตดิน ถาหากมิไดระบุเปนอ่ืนใดในแบบ สายไฟฟาท่ีใชจะตองเปนสายทองแดงชนิดแกนเดี่ยว หรือหลายแกนหุมฉนวน PVC

หรือมีเปลือกนอกทนแรงดันไฟฟาได 750 โวลท และทนอุณหภูมิไดสูงสุด 70 องศาเซลเซียล ตาม มอก.11-2531 ตารางท่ี 6 หรือ 7 โดยการเดินสายใตดินตองเปนไปตามขอกําหนดดังตอไปน้ี

6.2.1 สายฝงดินโดยตรง ทอรอยสายหรือเครื่องหอหุมสายไฟฟาประเภทอ่ืนท่ีไดรับการรับรองแลวความลึกในการติดตั้งตองเปนไปตามตารางตอไปน้ี

ความลึกในการติดตั้งใตดินสําหรับระบบแรงต่ํา

วิธีการเดินสาย ความลึกนอยสุด (เซนติเมตร)

เคเบิลฝงดินโดยตรง

ทอโลหะหนา

ทอโลหะหนาปานกลาง

ทอท่ีไมใชโลหะซึ่งไดรับการรับรองใหฝงดินโดยตรงได โดยไมตองมีคอนกรีตหุม

ทออ่ืน ๆ ซึ่งไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟา

60

15

15

45

45

ขอยกเวนท่ี 1 ถาไมใชทอ IMC หรือ RSC แลว หากมีแผนคอนกรีตหนา 5 ซม. วางอยูเหนือสาย อนุญาตใหลดความลึกลงไดอีก 10 ซม.

ขอยกเวนท่ี 2 ขอกําหนดสําหรับความลึกน้ีไมใชบังคับ สําหรับการติดตั้งใตอาคารหรือใตพ้ืนคอนกรีต ซึ่งหนาไมนอยกวา 10 ซม.

ขอยกเวนท่ี 3 บริเวณท่ีมีรถยนตว่ิงผานความลึกตองไมนอยกวา 60 ซม.

6.2.2 สายใตดินท่ีติดตั้งใตอาคาร ตองติดตั้งอยูในทอรอยสาย และทอรอยสายตองยาวเลยผนังดานนอกอาคารออกไป 6.2.3 สายท่ีโผลข้ึนจากดินตองมีการปองกันดวยสิ่งหอหุม หรือทอรอยสายซึ่งฝงจมลึกลงไปในดินตามท่ีกําหนดในขอ 3.1 และสวนท่ี

โผลเหนือดินตองไมนอยกวา 180 ซม.

6.3. การทดสอบ 6.3.1 สายสําหรับวงจรแสงสวางและเตารับ ใหปลอดสายออกจากอุปกรณตัดวงจรและสวิตชตาง ๆ อยูในตําแหนงเปด ตองวัดคาความ

ตานทานของฉนวนไดไมนอยกวา 0.5 เมกกะโอหมในทุก ๆ กรณ ี6.3.2 สําหรับ feeder และ sub-feeder ใหปลดสายออกจากอุปกรณตาง ๆ ท้ังสองทางแลววัดคาความตานทานของฉนวนตองไมนอย

กวา 0.5 เมกกะโอหม ในทุก ๆ กรณ ี6.3.3 การวัดคาของฉนวนดังกลาว ตองใชเครื่องมือท่ีจายกระแสไฟฟากระแสตรง 1,000 โวลทและวัดเปนเวลา 30 วินาที ตอเน่ืองกัน

7. สวิตช ไฟฟาท่ัวไป สวิตชไฟฟาโดยท่ัวไปใหเปน Heavy Duty, TumbleQuiet Type แบบติดฝงกับผนังบนกลองเหล็กชุบ Galvanized

ขนาดท่ีเหมาะสมกับจํานวนสวิตช ตําแหนงติดตั้งสูงจากพ้ืนไมนอยกวา 1.20 ม. 8. ปลั๊กคู

8.1 หนากาก ทําจากพลาสติก ตําแหนงติดตั้งสูงจากพ้ืนไมนอยกวา 0.35 ม. 8.2 เตารับไฟฟาท่ัวไปตองเปนแบบมีข้ัวสายดินในตัวใชไดท้ังขาเสียบแบบกลมและแบบแบนใชติดตั้งฝงในผนัง

กําแพงหรือเสา แลวแตกรณีตามกําหนดในแบบพรอมกลองโลหะท่ีเหมาะสม

Page 55: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

52

8.3 การติดตั้งใหฝง Metal Boxในผนังกําแพงหรือเสาแลวแตกรณีเพ่ือใหCover Plate ติดแนบกับผิวหนาของผนังกําแพง หรือเสาดังกลาว โดยระดับความสูงจากพ้ืนถึงก่ึงกลางสวิตชกําหนดไว 1.20 เมตร 9. โคมสวิตชและเตารับไฟฟา LIGHTING FIXTURE SWITCH AND RECEPTACLE

9.1. ความตองการท่ัวไป ผูรับจางจะตองจัดหาและติดตั้งโคมสวิตชหรือเตารับไฟฟาตามชนิดและลักษณะท่ีแสดงในแบบ หรือสถาปนิกหรือผูวาจางเปนผู

เลือก

9.2. ความตองการทางดานเทคนิค 9.1 โคมสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต

ก. ความหนาของเหล็กแผนท่ีใชทําโคมตองมีความหนาไมนอยกวา 0.8 มม. ผานกรรมวิธีปองกันการผุกรอนและกําจัดสนิม โดยเคลือบดวยสีขาวหรือสีอ่ืนตามท่ีระบุในแบบดวยกรรมวิธี Electrostatic หรือ Stove Enamelled

ข. โคมชนิดมีครอบพลาสติก Acrylic หรือ Acrylic Sheet ตองใชชนิดหนาและไมหมองหรือบิดงอจากการใชงานปกติ โคมชนิดท่ีมี Aluminium Mirror Reflector ตองใช Aluminium ท่ีมีคุณภาพสูงพับข้ึนเปน Parabolic เพ่ือชวยในการกระจายแสงไดดี ชนิดตามแบบระบุ

ค. บัลลาสตจะตองเปนชนิด Low Loss หรืออิเล็กโทรนิกส และเปนผลิตภัณฑท่ีไดรับ มอก. 23-2521 บัลลาสตสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต หรือ มอก. 885-2532 บัลลาสตอิเล็กทรอนิกสใชกับไฟฟากระแสสลับสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต เฉพาะดานความปลอดภัย และ มอก. 1506-2532 บัลลาสตอิเล็กทรอนิกสใชกับไฟฟากระแสสลับสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต หรือมาตรฐานอ่ืนท่ีเช่ือถือได หากเปนชนิด Low Loss High Power Factor มีคา PF ไมนอยกวา 0.85 ทนอุณหภูมิผิดปกติไดไมนอยกวา 130 องศาเซลเซียส ในการติดตั้งอาจใชบัลลาสตชนิด low loss low power factor ตอรวมกัน capacitor เพ่ือใหไดคา PF ไมนอยกวาคาท่ีระบุไว

ง. บัลลาสต Low Loss ขนาด 36 w. Watt Loss จะตอง ≤ 6 W. , ขนาด 18 W. Watt Loss ≤ 6 W. ขนาด 9 W. Watt

Loss ≤ 4 W. จ. สตารทเตอรและ capacitor ตองเปนไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก. 183-2528 โกลวสตารตเตอรสําหรับหลอดฟลูออ

เรสเซนต หรือมาตรฐาน BS VDE DIN NENA และ JIS ซึ่งจะตองไดรับมาตรฐานรวมกันแลวไมนอยกวา 3 มาตรฐาน ฉ. ขาหลอดฟลูออเรสเซนตเปนชนิด Spring Rotate Lock Lamp Holders หรือตามมาตรฐาน BS VDE DIN NENA และ JIS

ซึ่งจะตองไดมาตรฐานรวมกันแลวไมนอยกวา 2 มาตรฐาน ช. สายไฟฟาภายในโคมไฟฟา fluorescent จะตองเปนสายทองแดงทนอุณหภูมิไมนอยกวา 90 องศาเซลเซียส และมี

พ้ืนท่ีหนาตัดไมเล็กกวา 1.5 ตารางมิลลิเมตร ไดมาตรฐานตาม มอก. 11-2531 สายไฟฟาทองแดงหุมดวยโพลีไวนิลคลอไรด ซ. โคมฟลูออเรสเซนต ซึ่งติดตั้งฝงเรียบกับเพดาน จะตองแขวนยึดจากพ้ืนคอนกรีตเหนือฝาดวย hanger rod เพ่ือไมให

นํ้าหนักของโคมไฟกดลงบนโครงฝาเพดาน และจะตองสามารถปรับแตงระดับและตําแหนงของโคมไฟเพ่ือใหสอดคลองกับฝาได

ฌ. คาปาซิเตอร สําหรับการปรับปรุงเพาเวอรแฟกเตอรตองเปนชนิด Dry (Metallized Plastic) เปนไปตามมาตรฐาน VDE หรือ IEC และมีตัวตานทานครอมสําหรับการปลอยประจุ

ญ. หลอดฟลูออเรสเซนต จะตองไดมาตรฐาน มอก. 236-2533 หลอดฟลูออเรสเซนต จะตองมี Rated Lamp Wattage ตามท่ีระบุในแบบและมีคุณสมบัติในการใหความสวางเปนพิเศษท่ี wattage เทากันตามรายละเอียดดังน้ี

WATTAGE LUMENS WATTAGE LUMENS

18 (Daylight) 1300 36 (Daylight) 3250 18 (Coolwhite) 1350 36 (Coolwhite) 3350 18 (Warmwhite) 1350 36 (Warmwhite) 3350

3.2 โคมสําหรับหลอดไส

มีรูปแบบและรายละเอียดตามท่ีระบุในแบบ ข้ัวหลอดตองเปนชนิดเกลียวฉนวนเปนกระเบ้ือง หรือ bakelite ตองผลิตไดตามมาตรฐาน NEMA VDE หรือ JIS ทนความรอนและสายไฟฟาภายในโคมตองเปนชนิดท่ีมีฉนวนทนอุณหภูมิไมต่ํากวา70 องศาเซลเซียส และมีพ้ืนท่ีหนาตัดไมเล็กกวา 1.5 ตารางมิลลิเมตร สําหรับหลอดไส (Incandescent Lamp) โดยท่ัวไปใชหลอดชนิดใสหรือฝา ตามท่ีผูวาจางกําหนด ข้ัวหลอดเปนแบบเกลียว

3.3 โคมชนิดพิเศษ

Page 56: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

53

มีรูปแบบและรายละเอียดตามท่ีระบุในแบบและเปนชนิดท่ีผลิตข้ึนมาใชกับสถานท่ีพิเศษน้ัน ๆ โดยเฉพาะผูรับจางจะตองจัดสงเอกสารทางเทคนิคใหผูวาจางตรวจอนุมัติกอนสั่งซื้อ

ก. ดวงโคมท่ีติดตั้งภายนอกอาคาร ตองเปนชนิดทนตอสภาพดินฟาอากาศภายนอกอาคารได (Weather-Proof) หรือ IP 55 และผลิตตามมาตรฐาน BS, VDE, NEMA หรืออยางใดอยางหน่ึง

ข. ดวงโคมใหใชขนาดตามท่ีระบุในแบบของดวงโคม ใหผูวาจางเปนผูเลือก ค. ตัวโคมจะตองทําดวยเหล็กหนาไมนอยกวา 0.8 มิลลิเมตรพนสีและผานการอบ (Baked Enamel) และมีกรรมวิธีปองกัน

สนิมและผุกรอนไดดี เชน ชุบฟอสเฟต หรือชุบสังกะสี เปนตน ง. ดวงโคมตาง ๆ ท่ีติดตั้งในอาคาร ตองมีคุณสมบัติ กันฝุนละออง ระบายความรอนไดดี ติดตั้งงาย สะดวกในการซอมบํารุง

และเปลี่ยนหลอดไฟไดงาย จ. อุปกรณขาหลอด ตองผลิตตามมาตรฐาน VDE ฉ. ตองมีข้ัวตอสายไฟ และข้ัวตอสายดินติดตั้งไวใหเรียบรอย ดวงโคมตองตอลงดินไวท่ีข้ัวตอสายดินน้ี ช. ข้ัวหลอด ตองเปนแบบ Heavy Duty ซึ่งเปนไปตามมาตรฐาน NEMA หรือ VDE หรือ JIS

ซ. สายในดวงโคมหลอดไสใหใชสายหุมฉนวน ชนิดทนความรอนไดถึง 105 °C และมีพ้ืนท่ีหนาตัดไมเล็กกวา 1.5ตารางมิลลิเมตร

ฌ. หลอดใชกาซ เชน หลอดแสงจันทร หลอดเมตัลฮาไลด และหลอดโซเดียมโดยท่ัว ๆ ไป ใชชนิด Color-Corrected หรือตามท่ีแสดงไวในแบบโดยมีข้ัวหลอดเปนแบบเกลียวหรือตามท่ีแสดงในแบบ

ญ. บัลลาสตสําหรับหลอดใชกาซ เปนแบบเพาเวอรแฟกเตอรสูงความสูญเสียต่ํา ซึ่งไดรับการรับรองจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

ฎ. คาปาซิเตอร สําหรับการปรับปรุงเพาเวอรแฟกเตอรตองเปนชนิด Dry (Metallized Plastic) เปนไปตามมาตรฐาน VDE หรือ IEC และมีตัวตานทานครอมสําหรับการปลอยประจุ

ฏ. อุปกรณตาง ๆ ท่ีประกอบอยูในโคม ตองเปนของใหมไมเคยนํามาใชกอน และอุปกรณตาง ๆ ดังกลาว ตองสามารถหาซื้อไดในทองตลาดเพ่ือสะดวกในการบํารุงรักษา

ฐ. โคมไฟฉุกเฉิน (Self Contained Battery Emergency Light) - ไฟฉุกเฉินตองเปนระบบอัตโนมัติ วงจรภายในเปนวงจรอิเล็กทรอนิกส ซึ่งควบคุมการอัดและคายประจุจาก

แบตเตอรี่โดยอัตโนมัติ กลาวคือจะตองมีวงจรสําหรับตัดเมื่ออัดประจุเต็ม หรือเมื่อคายประจุถึงระดับแรงดันท่ีจะเปนอันตรายตอแบตเตอรี่ และมีระบบอัตโนมัติสาํหรบัการคายประจุทุก ๆ สัปดาห โดยการเปดไฟประมาณ 15-30 นาที นอกจากน้ีตองมีอุปกรณแสดงสภาพการใชงานอยางครบถวนและมีระบบทดสอบพรอม ตัวกลองตองสามารถระบายอากาศ และทนตอสภาพกรดจากแบตเตอรี่ไดเปนอยางดีโดยทําจากท่ีแผนเหล็กท่ีผานกรรมวิธีปองกันสนิมและหนาไมนอยกวา 1 มม.

รวมท้ังสามารถตรวจสอบและซอมบํารุงหรือเปลี่ยนแบตเตอรี่ทางดานหนาได ผูรับจางตองมีคูมือการใช และการบํารุงรักษาแนบติดอยูกับไฟฉุกเฉินทุกชุด การติดตั้งใหเปนไปตามท่ีกําหนดในแบบ โดยระดับของหลอดไฟต่ําจากระดับฝาประมาณ 0.30 เมตร สวนชุดท่ีติดตั้งแยกหลอด ใหทําฐานของหลอดไฟท่ีเหมาะสม และสวยงาม

- หลอดไฟฟาใหใชหลอด DICHROIC HALOGEN 35 W. จํานวน 2 หลอด หรือตามท่ีกําหนดในแบบ - แบตเตอรี่ใช Sealed Lead Acid Battery ขนาดกําลังสามารถจายกระแสไฟฟาใหกับหลอดไฟไดเปนเวลาไมนอย

กวา 3 ช่ัวโมง 3.4 สวิตชและเตารับ ก. ท่ัวไป การติดตั้งสวิตชและเตารับ ตองเปนไปตามกฎของการไฟฟาฯ ประกาศของกระทรวงมหาดไทย และ NEC โดยท่ี

- สวิตชและเตารับ ตองเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 166-2547 เตาเสียบและเตารับสําหรับใชในท่ีอยูอาศัยและงานท่ัวไปท่ีมีจุดประสงคคลายกัน : เตาเสียบและเตารับท่ีมีแรงดันไฟฟาท่ีกําหนดไมเกิน 250 โวลต และ มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 824-2531 สวิตซไฟฟา หรือ มาตรฐาน IEC

- สวิตชและเตารับ โดยท่ัวไปทําจาก Bakerite หรือพลาสติกท่ีทนทาน ตัวกลองเปนเหล็ก และ Cover Plate เปน พลาสติก

- สวิตชและเตารับตองทําจากวัสดุ ซึ่งทนตอแรงกระแทก (Impact Resistance) มีความคงทนตอแรงดันของฉนวน (Dielectric Strength) สูงและทนตอสภาพบรรยากาศไดดี (Corrosion Resistance)

ข. ขอบเขต ผูรับจางตองจัดหาและติดตั้งสวิตชและเตารับ ตามท่ีแสดงในแบบและระบุในขอกําหนดทุกประการ ค. ความตองการทางดานเทคนิค

Page 57: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

54

1) สวิตช - สวิตชใชกับดวงโคมและพัดลมชนิด 1 เฟส เปนชนิดใชกับกระแสไฟฟาสลับทนแรงดันไฟฟาไดไมต่ํากวา 250

โวลท ทนกระแสไฟฟาไดไมนอยกวา 15 แอมแปร กานสวิตชเปนกลไกแบบกดเปด-ปด โดยวิธีกระดกสัมผัส Contact ตองเปนเงิน (Silver) โดยไมผสมโลหะอ่ืน ตัวสวิตชเปนสีงาชาง สีขาว หรือตามท่ีระบุในแบบ ข้ัวตอสายตองเปนชนิดท่ีมีรูสําหรับสอดใสปลายสายไฟท่ีไมไดหุมฉนวนยึดติดแนนดวยตัวของมันเอง (automatically Lock) สามารถกันสายแตะกับสายสวิตชอ่ืนในกลองเดียวกันหรือเขากับกลอง สามารถกันมือหรือน้ิวแตะกับข้ัวโดยตรง หามใชสวิตชท่ียึดสาย ไฟฟา โดยการใชสกรูกวดอัด

- Dimmer Switch ตองเปนแบบฝง Decorative Type เปนวงจรอิเล็กทรอนิกส และมีวงจรท่ีลดการรบกวนคลื่นวิทยุไดดี ขนาดตามท่ีระบุไวในแบบ

2) เตารับ - เตารับท่ัวไปตองเปนแบบฝงติดผนัง Decorative Type - เตารับท่ัวไปตองมีขนาด 2 ข้ัว 3 สาย (GND) 220 VAC 50 Hz ท่ีเสียบไดท้ังขากลมและขาแบน ใชกับ

กระแสไฟฟาสลับ ทนแรงดันไฟฟาไดไมต่ํากวา 250 โวลท และทนกระแสไดไมต่ํากวา 10 แอมแปร ตัวเตารับเปนสีงาชาง สีขาว หรือตามท่ีระบุในแบบ ข้ัวตอสายเตารับตองเปนชนิดมีรูสําหรับสอดใสปลายสายไฟท่ีไมไดหุมฉนวน มีสกรูกวดอันขันเขาโดยตรงสามารถกันมือหรือน้ิวแตะเขากับข้ัวโดยตรง หามใชเตารับชนิดท่ียึดสายไฟโดยการทับสายใตตัวสกรูโดยตรง ฝาครอบสวิตชและเตารับภายในตัวอาคารเฉพาะในท่ีแหง ใหใชฝาครอบชนิดพลาสติก ฝาครอบตองเปนของผูผลิตสวิตชและเตารับ

ง. การติดตั้ง ผูรับจางตองติดตั้งสวิตชและเตารับใหฝงเรียบในผนัง โดยใชกลองโลหะและตองตอลงดิน ยกเวนในกรณีท่ีระบุใหติดลอย ใหติดตั้งโดยใชกลองโลหะหลอแบบติดลอย การเปลี่ยนแปลงแกไขตําแหนงของสวิตช และเตารับไดรับอนุมัติจากผูวาจางกอน จึงจะดําเนินงานได ในกรณีท่ีไมสามารถตดิตั้งสวิตชหรือเตารับตามตําแหนงท่ีแสดงไวในแบบได ใหผูรับจางแจงใหผูวาจางทราบ เพ่ือขอดําเนินงานแกไขตอไป โดยท่ัวไป

- การติดตั้งสวิตชใชกลองเหล็กฝงในผนัง สูงจากพ้ืน 1.2 เมตร วัดถึงศูนยกลางของสวิตช เมื่อมีเพลทสวิตชจํานวนมาก โดยติดเรียงตามแนวตัง้ โดยเมื่อติดสวิตชแลวตองเรียบกับผนัง

- ในกลองสวิตชกลองเดียวกัน หามไมใหมีแรงดันระหวางสวิตชเกินกวา 300 โวลท นอกจากจะใสแผนฉนวนก้ันระหวางสวิตช หรือ นอกจากจะใชสวิตชช้ินสวนท่ีมีกระแสไหลไมสามารถถูกตองโดนน้ิวมือได

- เตารับท่ัวไปติดตั้งสูงจากพ้ืน 0.30 เมตร หรือตามท่ีแสดงในแบบ - เตารับสําหรับไฟฉุกเฉิน ติดตั้งต่ําจากใตฝาเพดาน 0.30 เมตร หรือตามท่ีแสดงในแบบ - เตารับในหองนํ้า ติดตั้งสูงจากพ้ืน 0.90 เมตร หรือตามท่ีแสดงไวในแบบเตารับนอกอาคารหรือในท่ีเปยกช้ืนใหใช

ฝาครอบโลหะหลออบสีหรือ ฝาครอบพลาสติกชนิดทนสภาวะอากาศภายนอกอาคาร แบบมีสปริงและยางอัดรอบหรือมีพลาสติกออนครอบ

ดวงโคมไฟหลอด LED 1x16 W ครอบตะแกรงถ่ีแผนสะทอนแสงอะลูมิเนียมชนิดติดลอย 1) ตะแกรงและแผนสะทอนแสง ผลิตจากแผนอะลูมิเนียมท่ีมีคาความบริสุทธ์ิมากกวา 99.85 % มี

ประสิทธิภาพการสะทอนแสง ( Total Reflectance ) 87 % และ 95 % เพ่ือการประหยัดพลังงาน

2) BALLAST LOW LOSS WITH CAPACITY ADJUST PF > 0.95 เพ่ือการประหยัดพลังงาน พรอมชุดอุปกรณตัวโคมทําจากเหล็กแผนคุณภาพสูง หนา 0.8 มม.

3) ขนาดกวาง 310 x ยาว 610 x สูง 105 มม. หรือขนาดตามมาตรฐานโรงงานผูผลิต เคลือบดวยสีฝุน POLYESTER

4) ตัวสะทอนแสงอะลูมิเนียม ดวงโคมไฟหลอด LED 2x16 W ครอบตะแกรงถ่ีแผนสะทอนแสงอะลูมิเนียม ชนิดติดลอย

1) ตะแกรงและแผนสะทอนแสง ผลิตจากแผนอะลูมิเนียมท่ีมีคาความบริสุทธ์ิมากกวา 99.85 % 2) มีประสิทธิภาพการสะทอนแสง ( Total Reflectance ) 87 % และ 95 % เพ่ือการประหยัดพลังงาน 3) BALLAST LOW LOSS WITH CAPACITY ADJUST PF > 0.95 เพ่ือการประหยัดพลังงาน พรอมชุด

อุปกรณตัวโคมทําจากเหล็กแผนคุณภาพสูง หนา 0.8 มม. 4) ขนาดกวาง 310 x ยาว 1220 x สูง 105 มม. หรือขนาดตามมาตรฐานโรงงานผูผลิต เคลือบดวยสีฝุน

POLYESTER 5) ตัวสะทอนแสงอะลูมิเนียม

Page 58: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

55

ไฟฉุกเฉิน 2x35 W Batt & Charger โคมแสงสวางปายทางออก ปายช้ีทางและปายบอกช้ัน

ตองเปนชนิดมีแบตเตอรี่ชนิดไมตองบํารุงรักษาหรือเติมนํ้ากลั่นแบบกรดตะก่ัว ( SEALED LEAD ACID) บรรจุอยูภายใน พรอมดวยระบบควบคุมอัตโนมัติแบบ SOLID STATE ทําหนาท่ีควบคุมประจุไฟฟาเขาและกระจายประจุของแบตเตอรี่ โดยระบบควบคุมน้ีจะตองตัดวงจรเมื่อการคายประจุจากแบตเตอรี่ถึงขีดแรงเคลื่อนไฟฟาท่ีอาจกอใหเกิดอันตรายกับแบตเตอรี่ท่ีประมาณ 1.6 โวลต ตอ เซล แบตเตอรี่และหลอดไฟฟา สําหรับโคมแสงสวางตาง ๆ มีดังน้ี

โคมแสงสวาง หลอดไฟฟา แบตเตอรี ่ ชั่งโมงการทํางาน

ไฟฉุกเฉิน LED 2 x 35 W 12 V.dc.- 26AH (Min) 7

ปายทางออก (2หนา) PL 2x11 W ห รือ FLUORESCENCE 2 x 10 W

6 V.dc.- 4AH (Min) 2

ปายชี้ทางออก (2หนา) PL 2x11 W ห รือ FLUORESCENCE 2 x 10 W

6 V.dc.- 4AH (Min) 2

หมายเหตุ 1. แบตเตอรี่ตองสามารถจายกระแสไฟฟาไดเปนเวลาไมนอยกวาจํานวนช่ัวโมงการทํางานท่ีกําหนด โดยแรงเคลื่อนไมลดลงต่ํากวา 70% ของแรงเคลื่อนปกติของแบตเตอรี ่

2. แผนปายทางออกและปายช้ีทางแตละแผน อยางนอยตองประกอบดวยเครื่องหมายสัญลักษณพรอมตัวหนังสือภาษาไทย ( ดานบน ) และภาษาอังกฤษ ( ดานลาง ) - ใหมีหลอดไฟแสดงสถานภาพการทํางาน ดังน้ี 1. สถานะการประจุแบตเตอรี่ ( Charge และ Full Charge ) 2. สถานะของ Input Line ( Power “ ON” ) 3. สถานการณลัดวงจร - ใหมีปุมทดสอบเพ่ือทดสอบคุณภาพของแบตเตอรี่ - ตัวถังสําหรับบรรจุแบตเตอรี่และอุปกรณควบคุมเปนกลองทําจากแผนเหล็ก หนาไมนอยกวา 1 มิลลิเมตร ผานกรรมวิธีปองกันสนิมอยางดี พนเคลือบดวยสี ENAMEL อยางนอย 2 ช้ัน และมีชองระบายความรอนอยางเพียงพอ - เปนผลิตภัณฑตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.1102 – 2538

รูปภาพตัวอยาง สามารถเปลี่ยนแปลงรูปทรงตามมาตรฐานผูผลิต

1. แผงโซลาเซลล 30 W MONO/POLY CRYSTALLINE หลอดไฟ LED Uitra Bright สี Cool/Warm White อายุการใชงาน 100,000 ช่ัวโมง ความเขมแสงท่ีระยะ 4 เมตร 22 LUX/ ระยะเวลาสองสวาง 12 ช่ัวโมง (ตลอดคนื) / สํารองไฟ 2 วัน แบตเตอรี่ แบตเตอรี่แหง ขนาดความจุ 12V/17AH. (Seal Lead) ความสูง(เสา) ขนาด 4 เมตร พรอมตูกันนํ้าใสอุปกรณ

Page 59: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

56

หมวดท่ี 7 งานวิศวกรรมเคร่ืองกล

7.1 งานพัดลมปรับอากาศ

7.1.1 พัดลมโคจรติดผนัง

- ขนาด 16 น้ิว พัดลมแบบตะแกรงถ่ี และปรับใหหยุดได

- มีสวิตชแบบเชือกดึง

- มอเตอรทนทานดวยระบบหลอลื่นอัตโนมัติ Metal Bearingทนความรอน ลดการสึกหรอของมอเตอร ลดการเสียดส ี

- 3 ใบพัดไดลมแรง ลดแรงสั่นสะเทือน กระจายแรงลมไดท่ัวถึง

- ปรับแรงลมได 3 ระดับ หมุนถึงท้ังซาย – ขวา 4 จังหวะ ข้ึนลง 5 จังหวะ

-------------------------------------

Page 60: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

57

หมวดท่ี 8 มาตรฐานอางอิง

1. วัตถุประสงค ใหผูรับจางดําเนินการนําสงวัสดุตามรายการโดยยึดหลัก 1.1 วัสดุใดมีมาตรฐาน มอก. ใหใชผลิตภัณฑท่ีมี มอก. 1.2 วัสดุใดมีมาตรฐาน มอก. และมาตรฐานฉลากเขียว ใหใชผลิตภัณฑท่ีไดรับมาตรฐาน มอก. และมาตรฐาน

ฉลากเขียว 1.3 วัสดุใดไมมีนรายการมาตรฐาน มอก. และมาตรฐานฉลากเขียว ใหใชตามแบบรูปรายการ 1.4 หากมีขอขัดแยงใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการตรวจการจางเปนผูพิจารณา

2. สถาบันมาตรฐาน (STANDARD INSTITUTE) มาตรฐานท่ัวไปท่ีระบุในแบบกอสราง และรายการประกอบแบบกอสราง เพ่ือใชอางอิงหรือเปรียบเทียบ คุณภาพ หรือทดสอบวัสดุอุปกรณกอสราง ตลอดจนกรรมวิธีการปฏิบัติ วิธีการติดตั้งวัสดุอุปกรณสําหรับงานตามสัญญาในโครงการนี้ ใหถือปฏิบัติตามมาตรฐานของสถาบันดังตอไปนี้

3.1.1 มอก. (สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม) 3.1.2 วสท. (วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ) 3.1.3 AASHTO (AMERICAN ASSOCIATION OF STATE HIGHWAY

TRANSPORTATION OFFICIALS) 3.1.4 ACI (AMERICAN CONCRETE INSTITUTE) 3.1.5 ANSI (AMERICAN NATIONAL STANDARDS INSTITUTE) 3.1.6 ASTM (AMERICAN SOCIETY FOR TESTING AND MATERIALS) 3.1.7 AWS (AMERICAN WELDING SOCIETY) 3.1.8 BS (BRITISH STANDARD) 3.1.9 JIS (JAPANESE INDUSTRIAL STANDARD) 3.1.10 UL (UNDERWRITER LABORATORIES INC.)

3. มาตรฐาน มอก. (สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม) แบงตามประเภทวัสดุหมวดตาง ๆ ดังนี้

มาตรฐาน มอก. ลําดับ รายการ หมายเลข มอก. ขอบังคับ

หมวดงานวิศวกรรมโครงสราง

1 เหล็กเสนกลม มีมอก. 20-2543 มาตรฐานบังคับ 2 เหล็กขอออย มีมอก. 24-2548 มาตรฐานบังคับ 3 ลวดผูกเหลก็ มีมอก. 138-2535 4 เหล็กรูปพรรณข้ึนรูปรอน ชั้นคุณภาพ SM400 มีมอก. 1227-2537 มาตรฐานบังคับ 5 เหล็กรูปพรรณข้ึนรูปเย็น ชั้นคุณภาพ SSC400 มีมอก. 1228-2537 มาตรฐานบังคับ 6 เหล็กกลวง ชั้นคุณภาพ HS 41 มีมอก. 107-2533

7 ปูนซีเมนต มีมอก. 80-2517 8 ปูนซีเมนตปอรตแลนด เลม 1 มีมอก. 15 เลม 1 - 2547 9 แผนพ้ืนคอนกรีตสําเร็จรูป มีมอก. 828-2546

Page 61: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

58

หมวดงานสถาปตยกรรม 10 กระเบื้องเคลือบเซรามิค มีมอก. 37-2529 11 แผนไมอัดซีเมนต มีมอก. 878-2537 12 แผนไฟเบอรซีเมนต มีมอก. 1427-2540 13 คอนกรีตมวลเบา มีมอก.1505 -2541,1501 -

2541

14 กระจกโฟลตใส มีมอก. 880-2547 มาตรฐานบังคับ 15 กระจกโฟลตสีตัดแสง มีมอก. 1344-2541 มาตรฐานบังคับ

16 เครื่องดับเพลิงยกหิ้วชนิดผงเคมีแหง มีมอก. 332-2537 มาตรฐานบังคับ 17 เครื่องดับเพลิงยกหิ้วชนิดโฟม มีมอก. 882-2532 มาตรฐานบังคับ

18 แผนฝาเพดานยิปซ่ัมบอรด มีมอก. 219-2524

19 คราวโลหะชุบสังกะสี รูปตาง ๆ เชน ตัว C มีมอก. 863-2532

20 สีน้ําอะครีลิคแท 100 % มีมอก. 2321-2549 21 สีน้ํามัน มีมอก. 327-2541

22 อะลูมิเนียมทุกชิ้นตัวอยาง มีมอก. 284-2530

23 มุงลวด มีมอก. 313-2522

24 ลูกบิด มีมอก. 756-2535

25 โถสวมแบบนั่งราบ มีมอก. 792-2544

26 อางลางหนาชนิดแขวนผนัง มีมอก. 791-2544

27 ฝกบัวอาบน้ํา มีมอก. 1187-2547

28 ฝกบัวอาบน้ํา รุนประหยัดน้ํา มีมอก.2066-2552 มาตรฐานบังคับ 29 ท่ีใสสบู มีมอก. 797-2544 30 กอกอางลางหนา มีมอก. 2067-2544 มาตรฐานบังคับ 31 อิฐแกว มีมอก. 1395-2540 หมวดงานสุขาภิบาล

31 ทอและขอตอ มีมอก. 17-2532

หมวดงานระบบไฟฟา 32 หลอดไฟฟา มีมอก. 4 เลม 1-2529 มาตรฐานบังคับ

33 หลอดฟลูออเรสเซนต เฉพาะดานความปลอดภัย มีมอก. 956-2533 มาตรฐานบังคับ

34 ฟวสกามปู มีมอก. 10-2529 มาตรฐานบังคับ 35 สายไฟฟาทองแดงหุมดวยโพลิไวนิลคลอไรด มีมอก. 11-2531 มาตรฐานบังคับ 36 สายไฟฟาอะลูมิเนียมหุมดวยโพลิไวนิลคลอไรด มีมอก. 293-2541 มาตรฐานบังคับ 37 สายไฟฟาแรงดันสูงหุมดวยฉนวนครอสลิงกดพอลิ

เอทิลีน ตั้งแต 60 – 115 KVA มีมอก. 2202-2547 มาตรฐานบังคับ

38 บัลลาสตสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต มีมอก. 23-2521 มาตรฐานบังคับ 39 ตัวนําลวดกลมตี เกลียวรวมศูนยกลางสําหรับ

สายไฟฟาเหนือดิน มีมอก. 85-2548 มาตรฐานบังคับ

40 โกลวสตารตเตอรสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต มีมอก. 183-2547 มาตรฐานบังคับ

Page 62: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

59

41 ข้ัวรับหลอดฟลูออเรสเซนตและข้ัวรับสตารตเตอร มีมอก. 344-2549 มาตรฐานบังคับ 42 สวิตชไฟฟา มีมอก. 824-2551 มาตรฐานบังคับ 43 เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือแบบมีอุปกรณปองกัน

กระแสเกิน สําหรับท่ีอยูอาศัย มีมอก. 909-2548 มาตรฐานบังคับ

44 พัดลมไฟฟากระแสสลับ เฉพาะดานความปลอดภัย มีมอก. 934-2533 มาตรฐานบังคับ 45 เครื่องใชอิเล็กทรอนิกสและอุปกรณเก่ียวของท่ีใช

กับแหลงจายไฟฟาประธาน มีมอก. 1195-2536 มาตรฐานบังคับ

46 เครื่องปรับอากาศสําหรับหอง มีมอก. 2134-2548 มาตรฐานบังคับ 47 ทอรอยสายไฟฟา มีมอก. 216-2524 48 หมอแปลงไฟฟา มีมอก. 384-2543

49 ทอเดินสายไฟ EMT , IMC มีมอก. 770-2533 หมวดงานสถาปตยกรรมภายใน

50 แผนไมอัดยาง ทุกความหนา มีมอก.178-2538 51 แผนไมอัดสัก ทุกความหนา มีมอก.178-2538

52 แผนลามิเน็ต ทุกความหนา มีมอก.1163-2536 53 อางลางจานสเตนเลส มีมอก.854-2536 หมวดงานภูมิสถาปตยกรรม

54 บล็อกปูพ้ืน มีรูปทรง ดังนี้ มีมอก.827-2531 55 1.1 จัตุรัส มีมอก.827-2531 หรือเทียบเทา

56 1.2 คฑา มีมอก.827-2531 หรือเทียบเทา

57 1.3 ศรศิลา มีมอก.827-2531 หรือเทียบเทา

58 1.4 ศิลาหกเหลี่ยม มีมอก.827-2531 หรือเทียบเทา

59 1.5 อัฐศิลา มีมอก.827-2531 หรือเทียบเทา

60 1.6 ศิลารูปเหลี่ยม มีมอก.827-2531 หรือเทียบเทา

61 1.7 แพรวศิลา มีมอก.827-2531 หรือเทียบเทา

62 1.8 สายศิลา มีมอก.827-2531 หรือเทียบเทา

63 1.9 ศิลาทับทิม มีมอก.827-2531 หรือเทียบเทา

64 1.10 ดวงศิลา มีมอก.827-2531 หรือเทียบเทา

65 1.11 รวงผึ้ง มีมอก.827-2531 หรือเทียบเทา

66 กระเบื้องคอนกรีตปูพ้ืนภายนอก มีมอก.378-2531,826-2531

67 กระเบื้องคอนกรีตตกแตงพ้ืน มีมอก. 826-2531

หมายเหตุ

1. “ มาตรฐานบังคับ “ คือ เปนวัสดุท่ีตองผานการตรวจสอบตามมาตรฐาน มอก. 2. หากรายการใดมีการเปลี่ยนแปลงวัสดุ ใหยึดการตรวจสอบตามมาตรฐาน มอก. ของวัสดุชนิดนั้น โดยใหถือ

การตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงานเปนท่ีสุด

Page 63: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

60

3. รายการท่ีมีขอความวา “ หรือเทียบเทา “ หมายถึง ใหเปนมาตรฐานตามขอ 1 เทียบเคียงในวัสดุท่ีมีคุณสมบัติและรูปทรงเดียวกันแตอาจใชชื่อเรียกเปนอยางอ่ืน ใหถือวาวัสดุตัวนั้นสามารถอนุมัติไดตามมติของคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงาน

4. รายการใดมีขอขัดแยงใหถือคําวินิฉัยของคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการควบคุมงานเปนท่ีสุด

4. ฉลากเขียว ถาวัสดุกอสรางใดท่ีใชในแบบรูปรายการ เปนผลิตภัณฑท่ีไดรับฉลากเขียว ใหผูรับจางใชผลิตภัณฑท่ีไดรับฉลาก

เขียว ตามนโยบาย สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร. 0506/2180 ลงวันท่ี 24 มกราคม 2551 เรื่องการจัดข้ึนจัดจางสินคาและบริการท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมของภาครัฐ 45 ผลิตภัณฑท่ีมีขอกําหนดเสร็จสมบูรณ พรอมใหผูผลิตย่ืนขอรับการรับรองเครื่องหมายฉลากเขียว

ท่ี ผลิตภัณฑ ขอกําหนด

1 หลอดฟลูออเรสเซนซ TGL-2-R2-02

2 เครื่องสุขภัณฑ TGL-5-R2-03

3 ฉนวนกันความรอน TGL-14-97

4 ฉนวนยางกันความรอน TGL-14/2-01

5 บัลลาสตอิเล็กทรอนิกส TGL-23-R1-03

6 สีเคลือบกระเบื้องมุงหลังคา TGL-32-01

7 กระเบื้องซีเมนตมุงหลังคา TGL-40/1-08

8 กระเบื้องดินเผามุงหลังคา TGL-40/2-09

9 กระเบื้องคอนกรีตมุงหลังคา TGL-40/3-09

10 แผนอัดสําหรับงานอาคาร ตกแตงและอุตสาหกรรมเครื่องเรือน

TGL-41-07

11 ผลิตภัณฑเครื่องดับเพลิง TGL-42-08

12 แผนยิปซัม TGL-49-10

5. อํานาจในการอนุมัติวัสดุ อํานาจในการอนุมัติวัสดุใหเปนของคณะกรรมการตรวจการจาง โดยมอบหมายใหวิศวกรและสถาปนิกผูออกแบบของทางมหาวิทยาลัย เปนผูตรวจสอบ และนํารายงานคณะกรรมการตรวจการจางรับทราบในการประชุมประจําสัปดาห

----------------------------------------

Page 64: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

61

หมวดท่ี 9 ขอตกลงในสัญญาเพ่ิมเติม ประเด็นการประชุม เรื่องแจงใหทราบ

1. รายละเอียดสําคัญของสัญญาจาง 1. ช่ืองาน 2. งบประมาณ 3. ระยะเวลาการกอสราง 4. งวดงาน 5. วันเริ่มสัญญา และวันสิ้นสุดสัญญา

2. แนะนําคณะกรรมการตรวจการจาง คณะกรรมการควบคุมงาน และเจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของ 3. แนะนําผูรับจาง วิศวกรควบคุมงาน/สถาปนิกควบคุมงาน ตัวแทนผูรับมอบอํานาจตามขอ 8 ในสัญญาจาง 4. แนะนําระบบการดําเนินงานและเอกสารท่ีผูรับจางจะตองจัดทําและนําเสนอขออนุมัติ

4.1 แผนการทํางาน 4.2 เอกสารรับรองของวิศวกรควบคุมงาน / สถาปนิกควบคุมงาน ( ถามีระบุใหตองมีในสัญญาหรือในงวดงาน )

4.2.1 เอกสารรับรองมาตรฐานฝมือชาง 4.3 หนังสือแตงตั้งตัวแทนผูรับมอบอํานาจตามขอ 8 ในสัญญา 4.4 เอกสารขอใชนํ้าประปา และไฟฟาของมหาวิทยาลัย

กรณีติดตั้งมิเตอร มหาวิทยาลัยคิดคาใชจาย ดังน้ี - คานํ้าประปา หนวยละ 15 บาท - คาไฟฟา หนวยละ 6 บาท - ชําระเงินทุกสิ้นเดือนท่ีงานการเงิน ช้ันลาง อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ - สําเนาใบเสร็จประกอบเอกสารสงงานประจํางวด

4.5 บันทึกควบคุมงานประจําวัน 4.6 บันทึกสภาพอากาศประจําวัน 4.7 บันทึกการตอกเสาเข็ม (ถามี) 4.8 ใบสั่งคอนกรีตผสมเสร็จ หรือใบจายสินคาคอนกรีตผสมเสร็จ

4.9 เอกสารขออนุมัติดําเนินการกอสราง (สงลวงหนาอยางนอย 30 วันหรือกอนดําเนินงานน้ัน ) สงพรอมแบบแปลนแสดงตําแหนงหรือพ้ืนท่ีดําเนินการ 4.10 เอกสารขออนุมัติใชวัสดุกอสราง (สงลวงหนาอยางนอย 30 วันหรือกอนดําเนินงานน้ัน ) สงพรอม

- เอกสารแสดงรายละเอียด แคทตาล็อก จํานวน 1 ชุดข้ึนไป - วัสดุตัวอยาง / ช้ินวัสดุตัวอยาง จํานวน 1 ชุด ( หากเปนรายการวัสดุเหล็กเสนกลมและเหล็กขอออยให

สงตรวจ ความยาว 1 ม. จํานวน 3 ชุด) - เอกสารแสดงมาตรฐานวัสดุ เชน มอก. หรือภาพถายตรา มอก. ในตัววัสดุ - ใหสําเนาเอกสารการอนุมัติเปนเอกสารประกอบการสงงานประจํางวด

เกณฑการอนุมัต ิ- วัสดุมีคุณลักษณะถูกตองตามแบบรูป รายการ - วัสดุไดรับ มอก. มีเอกสารรับรองเปนลายลักษณอักษรจาก มอก. และเปนปจจุบัน - วัสดุตัวอยางมีคุณลักษณะตามรายละเอียดใน มอก. หรือตามแบบรูปรายการ

การตรวจวัสดุ - สงตรวจ เพ่ือประกอบเอกสารขออนุมัต ิ- สุมตรวจ เมื่อนําวัสดุเขาหนวยงาน - สุมตรวจ เมื่อนําเขาวัสดุเดิมเขามาในหนวยงานครั้งตอไป - สงตรวจ เพ่ือขออนุมัติใหม กรณีใชวัสดุอ่ืนใดแทน

Page 65: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

62

หมายเหตุ - การตรวจสอบเหล็กเสนกลม เหล็กรูปพรรณ ใชการวัดขนาดและช่ังนํ้าหนักใหไดคาท่ีอยูในชวง ความคลาดเคลื่อนท่ียอมใหตาม มอก. - การตรวจสอบเหล็กขอออย ใชการช่ังนํ้าหนักใหไดคาท่ีอยูในชวงความคลาดเคลื่อนท่ียอมใหตาม มอก.

4.11 เอกสารการตรวจสอบคอนกรีต (สงภายใน 1 เดือน หลังครบกําหนดทดสอบ เวนแตกําหนดเปน อยางอ่ืน) - ตรวจสอบผลคาความยุบตัวของคอนกรีต (Slump) - ตรวจสอบผลคากําลังอัดของตัวอยางคอนกรีตท่ีอายุ 28 วัน - ใหสําเนาเอกสารการอนุมัติเปนเอกสารประกอบการสงงานประจํางวด

4.12 หลักฐานรายช่ือเจาหนาท่ีชาง คนงานกอสราง พรอมสําเนาใบรับรองมาตรฐานฝมือชางและสําเนาบัตรประชาชน

4.1.3 เอกสาร As built Drawing ใหผูรับจางนําสง จํานวน 3 ชุด ( ถามีระบุใหตองมีในสัญญาหรือในงวดงาน ) 4.14 เอกสารประกอบการสงงานประจํางวด (ตัวแทนผูรับจางลงนามทุกแผน) ตองประกอบดวย

1. รายงานสรุปเน้ืองานตามงวด 2. แผนการทํางานท่ีแสดงเปรียบเทียบการปฏิบัติงานจริง 3. แผนการใชบุคลากรและวัสดุท่ีแสดงเปรียบเทียบการปฏิบัติงานจริง 4. บันทึกการปฏิบัติงานรายงานประจําวัน 5. รายงานสภาพอากาศ 6. ภาพแสดงการปฏิบัติงาน 7. เอกสารท่ีกําหนดใหสงประจํางวด เชน สําเนาใบเสร็จคาไฟฟา คาประปา สําเนาการอนุมัติวัสดุ สําเนาผล

ตรวจสอบคอนกรีต 5. แนวทางการดําเนินการ

5.1 ผูรับจางตองปฏิบัติตามสัญญาจาง 5.2 ผูรับจางตองดําเนินการโดยยึดแบบรูปรายการ หากพบปญหาความคลาดเคลื่อน ไมชัดเจนหรือขัดแยงใหรีบนําหารือ

กับคณะกรรมการควบคุมงานหรือคณะกรรมการตรวจการจางโดยเร็วเพ่ือวินิจฉัย 5.3 ผูรับจางตองรายงานความบกพรองของงานกอสรางตอผูควบคุมงานทันที เพ่ือการตรวจสอบและวินิจฉัย เชน กรณีรู

โพรงของคอนกรีต เมื่อพบใหรายงาน หามซอมแซมหรืออุดรูโพรงกอนการพิจารณา หากฝาฝนคณะกรรมการจะมีคําสั่งใหทุบหรือรื้อถอนทันที

5.4 ผูรับจางตองดําเนินการกอสรางรั้วเขตกอสราง ติดตั้งปายโครงการกอสราง ปายเขตกอสราง เชน “อันตราย หามบุคคลภายนอกเขา” 5.5 การสง-รับเอกสารระหวางผูรับจางกับมหาวิทยาลัย ใหสงท่ีศูนยประสานงานกอสราง อาคาร 1 ช้ัน 1 เทาน้ัน โดย

หนังสือเรียนประธานคณะกรรมการตรวจการจาง (ผานผูควบคุมงาน) ใหประทับรับหนังสือทุกครั้ง 5.6 การปฏิบัติงานนอกเวลา ตองแจงใหทราบเปนลายลักษณอักษรลวงหนา ท้ังน้ีสําหรับการกอสราง นอกเวลาราชการ

คอื วันจันทรถึงอาทิตย ตั้งแตเวลา 17.00 น. เปนตนไป ผูรับจางตองจายคาตอบแทนแก ผูควบคุมงาน ในอัตราวันละ 300บาท/คน โดยศูนยประสานงานกอสรางจะจัดเจาหนาท่ีควบคุมงาน 2 คน / งาน / วัน ตามความจําเปน เชน กรณีการเทคอนกรีต

5.7 การสัญจรเขาออกมหาวิทยาลัย ใหสามารถใชเสนทางสัญจรไดตามความจําเปนและเขาออกในประตู ท่ีกําหนด โดยผูรับจางตองรับผิดชอบในการเปด-ปดประตูมิใหเกิดความเสียหายกับมหาวิทยาลัย

5.8 ประเด็นหารือ 5.8.1 โรงเก็บพัสดุ 5.8.2 บานพักคนงาน 5.8.3 หองนํ้าหองสวมช่ัวคราว

5.9 เอกสารจากกระทรวงการคลังเรื่องแนวทางการกําหนดสัดสวนความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี 5.10 มหาวิทยาลัยกําชับการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจการจาง กรรมการควบคุมงานใหปฏิบัติหนาท่ีโดยยึดหลัก

ราชการไมเสียประโยชนหรือเปนประโยชนแกราชการ และไมมีนโยบายใหเรียกรับหรือจะรับสินบนผลประโยชนอ่ืนใดจากผูรับจาง หากบุคคลใดมีพฤติกรรมดังกลาวขอใหผูรับจางแจงแกมหาวิทยาลัยเพ่ือดําเนินการตอไป

Page 66: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

63

5.11 งานทุกอยางในแบบโดยหามผูรับจางเช็คระยะเองจากไฟล Auto CAD เด็จขาด เนื่องจากไฟล Auto CAD ไมใชคูสัญญา

6. กําหนดการประชุม 6.1 นัดประชุมทุกวัน.................................เวลา.........................................( คณะกรรมการจะสรุปภายหลัง )

6.2 ผูรับจาง ตัวแทน วิศวกรควบคุมงานหรือสถาปนิกควบคุมงานตองเขาประชุมการกอสรางประจํา สัปดาห หรือตามท่ีผูวาจางนัด

7. หากพบปญหาหรือมีขอสงสัยใด ๆ เก่ียวกับการปฏิบัติงานกอสราง ใหผูรับจางติดตองานออกแบบและ กอสราง หรือศูนยประสานงานกอสราง บริเวณอาคาร 1 ช้ัน 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย โทร. 0-44611221 ตอ 7810 เบอรโทรศัพทมือถือ 085-0240174

8. เมื่องานแลวเสร็จบริบูรณ และผูวาจางไดรับมอบงานจากผูรับจาง หรือจากผูรับจางรายใหม ในกรณีท่ีมีการบอกเลิกสัญญา ตามขอ 5 หากมีเหตุชํารุด บกพรองหรือเสียหายเกิดข้ึนจากการจางน้ี ภายในกําหนด 2 ป นับถัดจากวันท่ีไดรับมอบงานดังกลาว ซึ่งความชํารุดบกพรองหรือเสียหายน้ันเกิดจากความบกพรองของผูรับจางอันเกิดจากการใชวัสดุท่ีไมถูกตอง หรือทําไวไมเรียบรอย หรือทําไมถูกตองตามมาตรฐานแหงหลักวิชา ผูรับจางจะตองรีบทําการแกไขใหเปนท่ีเรียบรอยโดยไมชักชา โดยผูวาจางไมตองออกเงินใดๆ ในการน้ีท้ังสิ้น หากผูรับจางบิดพลิ้วไมกระทําการดังกลาว ภายในกําหนด 15 วัน นับแตวันท่ีไดแจงเปนหนังสือจากผูวาจางหรือไมทําการแกไขใหถูกตองเรียบรอยภายในเวลาท่ีผูวาจางกําหนดให ผูวาจางมีสิทธิท่ีจะทําการน้ันเอง หรือจางผูอ่ืนใหทํางานน้ันโดยผูรับจางตองเปนผูออกคาใชจาย หรือหักจากเงินค้ําประกันผลงาน

----------------------------------

Page 67: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 68: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 69: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Page 70: หมวดที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์