Top Banner
รายงาน เรื่อง : อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร วิชา : การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทําโดย นางสาว สิริมา ขุนจิตรใจ ชั้น ม.6/2 เลขที25 เสนอ อาจารย จุฑารัตน ใจบุญ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐอนุสรณ ต.วังมะปรางเหนือ อ.วังวิเศษ จ. ตรัง 92220
14

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 100

Aug 13, 2015

Download

Documents

Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

รายงาน

เรื่อง : อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร

วิชา : การงานอาชีพและเทคโนโลย ี

จัดทําโดย

นางสาว สิริมา ขุนจิตรใจ

ช้ัน ม.6/2 เลขที่ 25

เสนอ

อาจารย จุฑารัตน ใจบุญ

โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐอนุสรณ ต.วังมะปรางเหนือ

อ.วังวิเศษ จ. ตรัง 92220

Page 2: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

คํานํา

รางานเลมนีเ้ปนสวนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลย ี จัดทําข้ึนเพื่อใหรุนนองหรือผูที่สนใจเร่ืองอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรไดนําไปเปนแนวทางในการศึกษาหรือเปนคูมือในการเรียนการสอนและ สามาร๔ทําใหผูที่สนใจไดรูมากข้ึนในเร่ืองอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรวาเปนอยางไร หากรายงานเลมนี้มีขอผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย

Page 3: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

สารบัญ

เร่ือง หนา

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรประเภทตางๆ 1-2

วิวัฒนาการทางอาชญากรรม 3-4 ความสัมพันธระหวางคอมพิวเตอรกับอาชญากรรม 5-9 แนวโนมอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรจะเพิ่มจํานวนมากข้ึน 9-11

Page 4: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

1

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรประเภทตางๆ

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร (Cyber-Crime) เปนการกระทําท่ีผิดกฎหมายโดยใชวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเพ่ือโจมตีระบบคอมพิวเตอรและขอมูลท่ีอยูบนระบบดังกลาว สวนในมุมมองท่ีกวางขึน้ “อาชญากรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร” หมายถึงการกระทําท่ีผิดกฎหมายใดๆ ซ่ึงอาศัยหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอรหรือเครือขาย อยางไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไมถือเปนอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรโดยตรง ในการประชุมสหประชาชาตคิรั้งท่ี 10 วาดวยการปองกนัอาชญากรรมและการปฏิบัติตอผูกระทําผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซ่ึงจัดขึ้นท่ีกรุงเวยีนนา เม่ือวันท่ี 10-17 เมษายน 2543 ไดมีการจําแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร โดยแบงเปน 5 ประเภท คือ การเขาถึงโดยไมไดรับอนุญาต, การสรางความเสียหายแกขอมูลหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร, การกอกวนการทํางานของระบบคอมพิวเตอรหรือเครือขาย, การยับยั้งขอมูลท่ีสงถึง/จากและภายในระบบหรือเครือขายโดยไมไดรับอนุญาต และการจารกรรมขอมูลบนคอมพิวเตอร โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรและการโจรกรรมทรัพยสินทางปญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามท่ีจะเก็บรวบรวมและเผยแพรขอมูล และคนควาเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร 6 ประเภท ท่ีไดรับความนิยม ซ่ึงสงผลกระทบโดยตรงตอประชาชนและผูบริโภค นอกจากนี้ยังทําหนาท่ีเผยแพรความรูเกี่ยวกับขอบเขตและความซับซอนของปญหา รวมถึงนโยบายปจจุบันและความพยายามในการปญหานี ้ อาชญากรรม 6 ประเภทดังกลาวไดแก

Page 5: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

2

1. อินเทอรเน็ตถูกใชเปนส่ือในการกออาชญากรรม แบบเกา โดยการโจรกรรมทางออนไลนหมายรวมถึง การละเมิดลิขสิทธ์ิ ใดๆ ท่ีเกี่ยวของกับการใชอินเทอรเน็ตเพ่ือจําหนายหรือเผยแพรผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการคุมครองลิขสิทธ์ิ

2. การเจาะระบบ – การใหไดมาซ่ึงสิทธิในการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรหรือเครือขายโดยไมไดรับอนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใชสิทธิการเขาถึงนี้โดยไมไดรับอนุญาต นอกจากนีก้ารเจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรในรปูแบบอ่ืนๆ (เชน การปลอมแปลง การกอการราย ฯลฯ)

3. การกอการรายทางคอมพิวเตอร – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือสรางความหวาดกลัว เชนเดียวกับการกอการรายท่ัวไป โดยการกระทําท่ีเขาขาย การกอการรายทางอิเล็กทรอนิกส (e-terrorism) จะเกี่ยวของกับการเจาระบบคอมพิวเตอรเพ่ือกอเหตุรุนแรงตอบุคคลหรือทรัพยสิน หรืออยางนอยก็มีจดุมุงหมายเพ่ือสรางความหวาดกลัว

4. ภาพอนาจารทางออนไลน – ตามขอกําหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรือการเผยแพรภาพอนาจารเด็กถือเปนการกระทําท่ีผิดกฎหมาย และตามขอกําหนด 47 USC 223 การเผยแพรภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แกเยาวชนถือเปนการกระทําท่ีขัดตอกฎหมาย อินเทอรเน็ตเปนเพียงชองทางใหมสําหรับอาชญากรรม แบบเกา อยางไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีท่ีเหมาะสมท่ีสุดในการควบคุมชองทางการส่ือสารท่ีครอบคลุมท่ัวโลกและเขาถึงทุกกลุมอายุนี้ไดกอใหเกดิการถกเถียงและการโตแยงอยางกวางขวาง

5. ภายในโรงเรียน – ถึงแมวาอินเทอรเน็ตจะเปนแหลงทรัพยากรสําหรับการศึกษาและสันทนาการ แตเยาวชนจําเปนตองไดรับทราบเกี่ยวกับวิธีการใชงานเครือ่งมืออันทรงพลังนี้อยางปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ โดยเปาหมายหลักของโครงการนีค้ือ เพ่ือกระตุนใหเดก็ไดเรียนรูเกี่ยวกับขอกําหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีท่ีเหมาะสมในการปองกันในทางท่ีผิด

Page 6: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

3

วิวัฒนาการทางอาชญากรรม จากเดิมระบบการบริหารบานเมืองสมัยกอนเปนระบบ เวียง วัง คลัง นา พัฒนาตอเนื่องกันมาเปน กระทรวงตางๆ ในปจจุบัน และวิวฒันาการของการประกอบอาชญากรรมก็เชนเดียวกัน มีการพัฒนาตามความเจริญของบานเมือง เชน พาหนะท่ีเดิม จากการเดนิเทา พายเรือ ขี่มา มาใชจกัรยานยนต รถยนต เครื่องบิน อาวุธเดิมใชมีด ขวาน ดาบ ก็เปล่ียนเปนปน อาวธุท่ีทันสมัยอ่ืนๆ กรณีการคาประเวณี สืบเนื่องจากในสมัยกรกีมีความเช่ือวาการไดถวายตัวแกนกับวชถือวาเปนการทําบุญท่ียิ่งใหญ คนสูงอายุท่ีไมสามารถถวายตัวได ก็จะจางเด็กสาวมาทําหนาท่ีนี้แทนตน สืบตอกันมา สําหรับเมืองไทยนั้นเดิมมีการคาประเวณีในสถานบริการ (ซอง) แลวเปล่ียนรูปแบบมาอยูตามโรงแรม สถานเริงรมย ในตางประเทศผูหญิงบรกิารจะยืนอยูขางถนน พรอมรถตู 1 คัน เพ่ือใชปฏิบัตกิารโดยวิ่งไปตามทองท่ีตางๆ คนขับจะนําเงินท่ีไดจากการนี้ไปซอนไวกอนท่ีจะขับรถออกไป เม่ือถูกจับไดก็ไมมีหลักฐานมาผูกมัด นอกจากนีย้ังมีวิธีการเสพอารมณทางโทรศัพท (Sex Phone) โดยลงโฆษณาในหนังสือ พรอมหมายเลขโทรศัพทใหติดตอ กรณียาเสพตดิ เริ่มจากฝน ผานการสกัดเปนมอรฟน จากมอรฟนมาสู เฮโรอีน ซ่ึงมีฤทธ์ิ รายแรงกวาฝน นับสิบนับรอยเทาทีเดียว นอกจากนี้ กัญชา ยาอี ยามา ก็เปนปญหาสําคัญเชนเดียวกนั ทําใหตองมีการตั้งหนวยงานขึ้นมาเพ่ือปราบปรามยาเสพติดโดยเฉพาะ กรณีปญหาการจราจร ในอดีตเม่ือ 50-60 ปท่ีแลว ไมมีปญหาการจราจรแตอยางใด เพราะเหตุวามีรถยนตเพียงไมกีค่นั ดังนั้นหากมีใครเสนอตั้งหนวยงานตํารวจ เพ่ือจัดการจราจร ในขณะนั้น คงจะเปนส่ิงท่ีนาขัน แลวปจจุบันเปนอยางไร วิวัฒนาการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ส่ิงใดมีคุณอนันตยอมมีโทษมหันต กจิกรรมประจําวันตาง ๆ ของมนษุยลวนแตไดรับผลกระทบจากคอมพิวเตอรในรูปแบบ สาระและเวลาท่ีแตกตางกัน เชน การใช ATM และการส่ือสารทางโทรศัพท โดยการเขามาแทนท่ีการทํางานของมนุษย เชน การทอนและนับเงิน การบันทึกการใหบรกิาร การออกใบเรียกเก็บเงิน การส่ังซ้ือสินคา และการนําฝากเช็ค เปนตน ท้ังนี้ชีวิตมนษุยอาจขึ้นกับการทํางานของ

Page 7: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

4 บุคคล เชน แฟมขอมูลบุคลากร แฟมขอมูลท่ีบันทึกคดีอาญา ขอมูลท่ีบันทึกลงในคอมพิวเตอร จดัเก็บไดเปนจํานวนมาก ท่ีจัดเก็บมีขนาดเล็ก เชน แผนดิสต หรือ ฮารดดิสต สามารถเรียกใชหรือดึงขอมูลไดอยางรวดเร็ว จัดทําเครือขายเช่ือมโยงขอมูล สามารถติดตอถึงกนัไดท่ัวประเทศหรือท่ัวโลก จากแนวความคิดท่ีตองการใหเครื่องคอมพิวเตอร 2 เครื่อง สามารถติดตอคุยกัน แลกเปล่ียนขอมูลระหวางกนัได มาสูระบบเครือขายคอมพิวเตอรในปจจุบัน ซ่ึงใน 1 เครือขายนั้น อาจมีจํานวนเครื่องท่ีเปนสมาชิกเครือขาย นับสิบนับรอยเครื่องเลยทีเดียว ความกาวหนาของเทคโนโลยีนํามาสู ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ( InterNet ) ซ่ึงสามารถติดตอส่ือสารกันระหวางเครือขายไดท่ัวโลก คอมพิวเตอร และ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ทําใหเกิดความเปล่ียนแปลง 1. ในระดับพ้ืนฐานของระบบเศรษฐกจิ เชน ระบบการเงินท่ีทํางานผานทางสายโทรศัพท และเครื่องคอมพิวเตอร เปนตน 2. ทําใหเกิดสินทรพัย (Commodity) ในรูปแบบใหม อันไดแก ทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property)) 3. ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงของรูปแบบสังคม (Societal Shift) โดยปรับเปล่ียนตอเนื่องจากสังคมเกษตรกรรม (Agricultural) เปนสังคมอุตสาหกรรม (Industrial) มาเปนสังคมเทคโนโลย ี(Technology) 4. ทําใหเกิดรูปแบบใหมของการใชพลัง (Exercising Power) โดยมีลักษณะเปน องคกรอาชญากรรม และ การรวมกันกอการราย อาชญากรรมทางคอมพวิเตอร มีผูใหความหมายไว 2 ประการ ไดแก 1. การกระทําใด ๆ ก็ตาม ท่ีเกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอร อันทําใหเหยื่อไดรับความเสียหาย และทําใหผูกระทําไดรับผลตอบแทน 2. การกระทําผิดกฎหมายใด ๆ ซ่ึงจะตองใชความรูเกี่ยวของกับคอมพิวเตอร มาประกอบการกระผิด และตองใชผูมีความรูทางคอมพิวเตอร ในการสืบสวน ติดตาม รวบรวมหลักฐาน เพ่ือการดําเนินคด ีจับกุม

อาชญากรทางคอมพิวเตอร ถาจะแปลใหเขาใจงายๆ ก็คือผูกระทําผิดกฎหมายโดยใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเปนสวนสําคญั เปนการกระทําใดๆ ท่ีเกี่ยวกับการใชการเขาถึงขอมูล โดยท่ีผูกระทําไมไดรับ

Page 8: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

5

อนุญาต การลักลอบแกไข ทําลาย คัดลอกขอมูล ทําใหคอมพิวเตอรทํางานผิดพลาด แมไมถึงกับเปนการกระทําท่ีผิดกฎหมาย แตเปนการกระทําท่ีผิดระเบียบกฎเกณฑ จรรยาบรรณของการใชคอมพิวเตอรนั้น ๆ

ความสัมพันธระหวางคอมพิวเตอรกับอาชญากรรม

จากการท่ีคอมพิวเตอรมีคุณประโยชนนานับประการ จึงมีผูนําเทคโนโลยีเหลานั้น มาเปนชองทาง หรือเปนเครื่องมือท่ีใชในการกระทําความผิด ซ่ึงลักษณะหรือรูปแบบของความสัมพันธระหวางคอมพิวเตอรกับอาชญากรรม พอสรุปไดดังนี ้ 1. คอมพิวเตอรเปนเปาหมายในการกออาชญากรรม (Computer as Crime “Targets”) เชน การลักทรัพยเครื่องคอมพิวเตอร หรือ ช้ินสวนของเครื่องคอมพิวเตอร (ชิป หรือ สวนประกอบตางๆ) โดยเฉพาะท่ีมีขนาดเล็ก แตมีราคาแพง 2. คอมพิวเตอร เปนเครื่องอํานวยความสะดวก ในการกออาชญากรรมในรูปแบบ ”ดั้งเดิม” (Facilitation of “Traditional” Crimes) เชน ใชเครื่องคอมพิวเตอรในการเก็บขอมูลลูกคายาเสพติด หรือ ในกรณ ีUNABOMBER ซ่ึงอาชญากรใชคอมพิวเตอรในการกําหนดตัวเหยื่อ จาก On-line Address แลวสงระเบิดแสวงเครื่องไปทางไปรษณีย โดยวัตถุประสงคเพ่ือสังหารบุคคลท่ีชอบเทคโนโลยีช้ันสูง 3. อาชญากรรมท่ีเกดิกับคอมพิวเตอรโดยเฉพาะ (Computer-unique Crime) เชน การสรางใหไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus) แพรระบาดไปในระบบเครือขายคอมพิวเตอรโดยมีเจตนาท่ีจะสรางความเสียหาย ,Nuke, การลักลอบเขาไปในระบบคอมพิวเตอร (Hacking /Cracking) , การละเมิดทรัพยสินทางปญญาท่ีเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (Violation of Computer Intellectual Properties) 4.คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือในการประกอบอาชญากรรม(Computeras “Instrumentality” of Crimes) เชน การใชเครื่องคอมพิวเตอรในการโอนเงินจากบัญชีธนาคาร จากบัญชีหนึ่งไปเขาอีกบัญชีหนึ่ง โดยมีเจตนาทุจริต ,ใชเครื่องคอมพิวเตอรในการเปนเจามือรับพนันเอาทรัพยสิน,หรือ ใชคอมพิวเตอรในการเผยแพรเอกสาร ส่ิงพิมพ รูปภาพ หรือ โฆษณาวัตถุ ลามก อนาจาร ผิดกฎหมาย

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ถูกละเลย สาเหตุบางประการท่ีทําใหอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรถูกละเลย ไมไดรับความสนใจ

1.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรโดยธรรมชาติจะมีความไมเปนสวนตัว (Impersonal) จึงไมมีผลกระทบตอจิตใจและความรูสึก (Emotion) ของประชาชนโดยท่ัวไป และถูกมองขามไป

Page 9: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

6 2.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร เชน การละเมิดทรัพยสินทางปญญา (Theft of Intellectual

Property), การโอนเงินโดยผิดกฎหมาย (Unlawful Transfer of Money), การฉอโกงดานการส่ือสาร (Telecommunication Fraud) มีความแตกตางกับอาชญากรรมแบบดั้งเดิม ท่ีเจาหนาท่ีตํารวจมีความคุนเคยและเขาใจเปนอยางดี เชนการลักทรัพย, ทํารายรางกาย อยางส้ินเชิง

3.เจาหนาท่ีตํารวจมักจะมองไมเห็นวาอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรนี ้เปนปญหาท่ีกระทบตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตน จึงไมใหความสนใจ

4. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรแตกตางจากอาชญากรรมรุนแรง (Violent Crime) จุดความ รูสึกใหเกิดอารมณ ( Emotion )ในหมูชน จึงทําใหเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบมีความจําเปนท่ีจะตองทุมเท สรรพกําลังไปในการแกไขปญหา อาชญากรรมในรูปแบบท่ัวไป 5.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร มีความเกีย่วพันอยางยิ่งกับเทคโนโลยีสมัยใหม ซ่ึงจะทําใหบุคคลท่ีไมมีความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวของ เกิดความไมกลา (Intimidated) ในการท่ีจะเขาไปยุงเกี่ยวของดวย

6.บุคคลโดยสวนมากจะมองอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรในลักษณะ “มิติเดี่ยว” (Unidimensionally) ในลักษณะสภาวะของเหตุการณท่ีเกดิขึ้นเปนครั้งๆ ไป โดยปราศจากการมองใหลึกซ้ึงถึง ผลกระทบ ความรนุแรง การแพรกระจาย และปริมาณของความเสียหายท่ีเกิดขึน้ ในการกออาชญากรรมแตละครั้งนั้น

7.เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวของ และ ประสิทธิภาพในการใชเทคโนโลยีของอาชญากร มีการพัฒนาท่ีรวดเร็ว ทําใหยากตอการเรยีนรูถึงความเปล่ียนแปลง ในวงการของอาชญากรรมประเภทนี ้

8.ผูเสียหาย กลับจะตกเปนผูท่ีถูกประนามวา เปนผูเปดชองโอกาสใหกับอาชญากรในการกระทําผิดกฎหมาย เชน ผูเสียหายมักถูกตําหนวิาไมมีการวางระบบการรกัษาความปลอดภัยท่ีเหมาะสมกับโครงขายงานคอมพิวเตอร บางครั้งจึงมักไมกลาเปดเผยวา ระบบของตนถูกบุกรกุทําลาย

9.ทรัพยสินทางปญญาโดยท่ัวไปจะไมสามารถประเมินราคาความเสียหายไดอยางแนชัด จึงทําใหคนท่ัวไปไมรูสึกถึงความรุนแรงของอาชญากรรมประเภทนี ้

10.พนักงานเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของอาจไมมีความรู ความชํานาญ หรือ ความสามารถพอเพียงท่ีจะสอบสวนดําเนินคดกีับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรไดอยางมีประสิทธิภาพ

11.บุคคลท่ัวไปมักมองเห็นวา อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรนี ้ไมไดเกิดขึน้บอยครั้ง จึงไมควรคาตอการใหความสนใจ

12.เจาหนาท่ีมักใชความรูความเขาใจในอาชญากรรมแบบดั้งเดิมนํา มาใชในการ สืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ซ่ึงเปนเหตุใหอาชญากรรมประเภทนี้ไมครบองคประกอบความผิดตามอาชญากรรมแบบดั้งเดิม และถูกมองขามไปโดยไมพบการกระทําผิด

Page 10: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

7 13.เจาหนาท่ีตํารวจโดยท่ัวไปไมมีการเตรียมการเพ่ือรองรบัอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรอยาง

จริงจัง 14.ในปจจุบันนี้ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ไมใชอาชญากรรมท่ีมีผลกระทบตอความม่ันคง

ทางการเมือง เม่ือเทียบกับอาชญากรรมท่ีเกี่ยวกับทรัพย หรือ ชีวิตรางกาย ซ่ึงทําใหประชาชนเกิดความรูสึกไมปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ลักษณะของอาชญากรทางคอมพิวเตอร สามารถจําแนกไดดังนี ้1.พวกหัดใหม (Novice) เปนพวกท่ีเพ่ิมเริ่มเขาสูวงการ, หัดใชคอมพิวเตอร หรือ อาจเปนพวกท่ีเพ่ิงเขาสูตําแหนงท่ีมีอํานาจหรือเพ่ิงไดรับความไววางใจใหเขาสูระบบเครือขายคอมพิวเตอร

2.พวกจิตวิปริต (Deranged Person) มักเปนพวกที่มีจิตใจวปิริต ผิดปกต ิมีลักษณะเปนพวกที่ชอบความรุนแรง และอันตราย มักจะเปนผูท่ีชอบทําลายไมวาจะเปนการทําลายส่ิงของ หรือ บุคคล เชน พวก UNA Bomber เปนตน แตเนื่องจากจํานวนอาชญากรประเภทนี้มีไมมากนัก จึงทําใหผูรักษากฎหมายไมไดใหความสนใจ

3.เปนกลุมที่ประกอบอาชญากรรมในลกัษณะองคกร (Organized Crime) องคกรอาชญากรรมจะใชคอมพิวเตอรในลักษณะท่ีแตกตางกัน โดยสวนหนึ่งอาจใชเปนเครื่องมือในการหาขาวสารเชนเดียวกับองคกรธุรกิจท่ัวไป หรืออาจจะใชเทคโนโลยีของคอมพิวเตอรนี้เปนตวัประกอบสําคัญในการกออาชญากรรม หรืออาจใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรนี้ในการท่ีทําใหเจาหนาท่ีตามไมทันอาชญากรรมท่ีตนกอขึน้

4.พวกมืออาชีพ (Career Criminal) เปนกลุมอาชญากรคอมพิวเตอรท่ีทวีจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ เปนผูท่ีกออาชญากรรมท่ีเกีย่วของกับคอมพิวเตอรนี้ครั้งแลวครั้งเลา โดยอาชญากรประเภทนี้อาจจะเคยถูกจับกุมในความผิดประเภทนี้มากอนแลว เปนพวกท่ีกระทําผิดโดยสันดาน

5.พวกหัวพัฒนา (Con Artist) เปนพวกท่ีชอบใชความกาวหนาทางคอมพิวเตอรใหไดมาเพ่ือผลประโยชน มาสูตน อาชญากรประเภทนี้จะใชความรูดานเทคโนโลยีและระบบคอมพิวเตอรท่ีตนมีอยูในการท่ีจะหาเงินใหกับตนเองโดยมิชอบดวยกฎหมาย

6.พวกชางคิดชางฝน (Ideologues) เปนพวกท่ีกระทําผิด เนื่องจากมีความเช่ือถือส่ิงหนึ่งส่ิงใดอยางรุนแรง

7.พวก Hacker / Cracker

Page 11: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

8 Hacker หมายถึง บุคคลผูท่ีเปนอัจฉริยะ มีความรูในระบบคอมพิวเตอรเปนอยางด ีสามารถเขาไปถึงขอมูลในคอมพิวเตอร โดยเจาะผานระบบรักษาความปลอดภัยของคอมพิวเตอรได กลุมพวกนี้จะอางวาตนมีจรรยาบรรณไมหาประโยชนจากการบุกรกุ และประนามพวกCracker Cracker หมายถึง ผูท่ีมีความรูและทักษะทางคอมพิวเตอรเปนอยางดี จนสามารถเขาสูระบบได เพ่ือเขาไปทําลายหรือลบไฟลหรือทําใหเครื่องคอมพิวเตอรเสียหาย รวมท้ังการทําลายระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร เปนการหาประโยชนจากการบุกรกุ ลักษณะทั่วไป คานิยม และ สังคม ของพวกนักฝาดาน (Hacker / Cracker)

1. Hacker โดยท่ัวไปจะมีความหมายในทางท่ีคอนขางด ี ซ่ึงหมายถึงบุคคลท่ีมีความรูและความเขาใจในเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเปนอยางด ีและ มีความสามารถในการแกปญหาเกี่ยวกับระบบความปลอดภัยของระบบเครือขายคอมพิวเตอรได

2. Cracker โดยท่ัวไปจะมีความหมายในทางท่ีไมด ี ซ่ึงหมายความถึงบุคคลท่ีแมวาจะมีความรูความเขาใจ ในเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเปนอยางด ี แตกจ็ะใชความรูนั้นในการท่ีจะสรางความเดือดรอน เสียหายใหกับระบบ แฟมขอมูล หรือ ทําใหระบบการทํางานของคอมพิวเตอรไดรับความเสียหาย

3. นักฝาดาน ท้ัง Hacker และ Cracker จะถือวา Internet เปนเสมือนพ้ืนท่ีของตนท่ีจะตองปกปกษรักษา จากพวกนักคอมพิวเตอรหนาใหมเขามาโดยไรมารยาท โดยถือวาเปนการละเมิด เปนการลํ้าถ่ิน และจะกอใหเกดิความไมพอใจอยางยิ่ง

4. ในบรรดาผูท่ีตองหาเกี่ยวกับความผิดดานคอมพิวเตอรนี ้ พวกนกัฝาดาน (ท้ัง Hacker และ Cracker) เปนกลุมบุคคลท่ีสรางความเสียหาย และกอความรําคาญใหกับสังคมเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมากท่ีสุด

5. คนโดยท่ัวไปจะใชคําเรียก Hacker และ Cracker สับเปล่ียนกันไดเสมือนเปนกลุมบุคคลเดียวกนั

6. แตในสังคมนักคอมพิวเตอรแลว มีทัศนคตท่ีิไมดีตอท้ัง Hacker และ Cracker ในการสรางความเสียหายแกระบบฯ คอมพิวเตอร ทําใหไมเปนท่ียอมรับในสังคมของ นักคอมพิวเตอร ลักษณะทั่วไปของนักฝาดาน (Hackers และ Crackers)

1. มักเปนชาย (ไมยากจน) 2. มีความฉลาดหลักแหลม (Intellegence) มีเปนผูท่ีมีหัวไว มีความคิดฉลาดปราดเปรื่อง สามารถ

ปรับตัวเขารับเทคโนโลยีท่ีทันสมัยไดอยางรวดเร็ว มีความอดทน และมีความพยายามสูง แตใชในทางท่ีผิด

Page 12: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

9 3. หยิ่งยโส (Arrogance) มักมีความรูสึกวาตนเองอยูเหนือผูอ่ืน มีความฉลาดปราดเปรื่องเหนือกวา

ผูอ่ืน โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานเทคโนโลย ี4. โอหัง (Egocentric) ถือเอาตนเองเปนท่ีตั้ง กิจกรรมตางๆ หรือไมวาจะเปนการพักผอนหยอน

ใจ จะวนเวยีนอยูแตเรื่องท่ีเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 5. มักเปนพวกท่ีชอบใชเทคโนโลยใีนทางท่ีมิชอบ (Techno-abusive) และมักเปนพวกท่ีชอบกลาว

ตําหนิหรือดูถูกพวกท่ีไมมีความรูดานคอมพิวเตอร หรือวากลาวพวกท่ีไมมีมารยาทในการใช Internet อยางรุนแรง 6. มักเปนนกัสะสม (Collector) ขอมูล ขาวสาร ซ่ึงโดยท่ัวไปจะไมนําไปใชในทางท่ีผิดกฎหมาย หรือในทางท่ีมิชอบ แตความมุงหมายหลักก็เพียงเก็บไวเปนเสมือนกับถวย หรือ โลรางวัล (Trophy) ในความสามารถของเขา ในการท่ีไดเจาะฝาดานปองกนัของระบบคอมพิวเตอรเครื่อขายเขาไปได

7. มักเปนผูท่ีไมคอยมีความรับผิดชอบตอการกระทําของตนเอง พวกนกัฝาดานมักจะโยนบาปเคราะหใหกับผูเสียหาย หรือระบบท่ีไดรับการบุกรกุ โดยไมคํานึกถึงผลลัพธจากการกระทําของตนเอง

8. เปนนักแจก ซ่ึงโดยท่ัวไปบุคคลกลุมนี้มีฐานความคดิท่ีวา บุคคลทุกคนควรท่ีจะตองไดรับขอมูลขาวสารโดยไมเสียเงิน แตในทางกลับกัน พวกนักฝาดาน จะพยายามปองกนับุคคลอ่ืนมิใหลวงรูถึงขอมูลของตนเอง และไมกลาเปดเผยตัวจริง แนวโนมอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรจะเพิ่มจํานวนมากข้ึน

สาเหตุบางประการท่ีทําใหอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรมีแนวโนมท่ีจะทวีจํานวนสูงขึ้น เนื่องจาก 1. บุคคลท่ัวไปสามารถเขาถึงเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอรไดงายขึ้น 2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอรมีราคาต่ําลง 3. เทคโนโลยีท่ีมีสมรรถนะสูงขึน้สามารถนํามาใชไดงายขึ้น 4. คุณคา และ ราคาของทรัพยสินทางปญญาไดเพ่ิมสูงขึ้นอยางรวดเรว็บุคคลไมวาจะ ในฐานะสวนตัวและ/หรือองคกรธุรกิจอันเปนนิติบุคล สามารถเขาสูระบบเครือขายสารสนเทศ ไดโดยงาย และ มีจํานวนเครื่องเพ่ิมสูงขึ้นเรื่อย ๆ 5. มีบุคคลท่ีมีความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเพ่ิมสูงขึ้นเรื่อยๆ 6. สามารถรวบรวมขอมูลไดอยางกวางขวาง 7. งายกวาการจารกรรมเอกสารหรือถายเอกสาร 8. สามารถนําขอมูลท่ีอยูบนแผน Diskette ไปใชประโยชนไดงายกวา

Page 13: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

10 9. การใชคอมพิวเตอรประกอบอาชญากรรม ตรวจสอบและจับกุม ยากกวา 10. มีชองโหวในประเด็นปญหาขอกฎหมาย และแนวทางการปฏิบัต ิ

ประเภทอาชญากรรมดวยคอมพิวเตอร อาจแบงได ดังนี ้ 1.ขอมูลทางการทหารและขอมูลทางราชการลับ 2.จารกรรมทรัพยสินทางปญญาและขอมูลดานธุรกิจ 3.จารกรรมเงินและทําใหเกดิการติดขัดทางดานพาณิชย 4.การโตตอบเพ่ือลางแคน 5.การกอการราย เชน ทําลายขอมูล กอกวนการทํางานของระบบ หรือหนวยงานท่ี สําคัญ และเสนอขอมูลท่ีผิด 6.การเขาสูระบบเพียงเพ่ือแสดงใหเห็นวามีความสามารถทําได แนวโนมอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ขึ้นกับปจจัยตอไปนี ้ 1.จะเพ่ิมขึ้นพรอมกับการขยายตัวและการเขาถึงท่ีงายขึ้นของระบบเครือขายการส่ือสาร 2.การใชคอมพิวเตอรในการปลอมแปลง และเลียนแบบสินคา ปลอมเอกสาร ตัดตอภาพถาย จะมีมากขึ้นและกวางขวางขึ้น 3.การละเมิดทรัพยสินทางปญญาจะเพ่ิมขึน้ ท้ังนี้รวมถึงการจารกรรมความลับทางอุตสาหกรรม การคา และสงครามขอมูลขาวสาร 4.มีการเขาสูระบบฐานขอมูลแบบไมถูกตองเพ่ือกระทําส่ิงท่ีไมไดรับอนญุาต 5.กลุมอาชญากรและผูกอการรายจะใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในกจิการของกลุมเพ่ิมมากขึ้น ประเด็นที่ตองศึกษาทั้งดาน กฎหมาย เทคนิค และพฤติกรรม

1.กฎหมาย รูปแบบใหมตองออกมาเพ่ือรองรับ อํานาจการสอบสวน จดุเกิดเหตตุาม ป.วิอาญา เวลากระทําความผิด สถานท่ีท่ีทําผิด หลักฐานการทําผิดเชน ถามีระบบตรวจสอบไดวามีการใชรหัสนี้เขาไปกระทําความผิด จะถือวาเปนหลักฐานทางกฎหมายไดหรือไม เชนกรณี คนไทยเลนคาสิโนบน Internet จะมีการจดัการทางกฎหมายไดอยางไร ในสหรัฐอเมริกาใชมาตรการทางภาษีโดยจดัเก็บภาษีคาสิโน บน Internet มากถึง 3-4 เทาตัว ปจจุบันแนวโนมอาชญากรรมประเภทนี้นับวันจะมีความรุนแรงมากขึ้น

Page 14: อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100

11 สํานักงานตํารวจแหงชาติ ไดหามาตรการเพ่ือรับมือกับเหลาอาชญากร Computer ท่ีจะมาในรูปแบบตางๆ โดยไดจัดสัมมนาเรื่องอาชญากรรม Computer ไปแลวเม่ือ พ.ย.2539 โดยไดเชิญวิทยากรมาจาก มหาวิทยาลัยมิชิแกน นอกจากนี้ยังมีการรวมมือกับตํารวจสากลเพ่ือหาเบาะแสคดีสําคัญท่ีเปนคด ี ระหวางประเทศ โดยมีศูนยกลางขอมูลท่ีติดตอผานระบบ Computer on line อยูท่ีประเทศ สิงคโปร และแผนตอไปท่ีจะดําเนนิการก็คือการตั้งศูนยในการปราบปรามอาชญากรรมทาง Computer ในภูมิภาคนี้ รวมกับตํารวจอาเซียน 2.เทคนิค ตรวจสอบและควบคุมการเขาสูระบบฐานขอมูลภายในและนอกองคกรสามารถทําไดถึงขั้นใด เพ่ือไมใหเปนการละเมิดสิทธิสวนบุคคล และปดกั้นการศึกษาเทคโนโลยใีหมๆ

3.พฤติกรรม ชอบสนุก ชอบทําลาย ควรจะมีการอบรมทางดานจริยธรรมแกผูท่ีมีสวนเกี่ยวของกับงานดาน Computer เชน ถาเก็บส่ิงของมีคาได ควรสงคืนเจาของ ในกรณ ีComputer ก็เชนเดียวกนัคือถามีชองทางในการทําทุจริต ก็ไมควรใชโอกาสนี้ทําความผิด การ กล่ันแกลงโดยการแพรกระจายไวรัส Computer , Nuke ถือเปนส่ิงไมควรปฏิบัต ิ