R U Derivativesand Risk Management Part3

Post on 19-Oct-2014

2064 Views

Category:

Business

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

 

Transcript

BM624 Derivatives and Corporate Risk ManagementPart 3

ดร.กิตติพันธ คงสวสัดิ์เกียรติ

ตลาดตราสารอนุพันธที่มีในประเทศไทย

การซือ้ขายสัญญาซื้อขายลวงหนาอัตราแลกเปลี่ยน

เงินตราตางประเทศกบัธนาคาร

การซือ้ขายสินคาเกษตรลวงหนาที ่ตลาดสนิคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย

การซือ้ขายดัชนี SET50 Index Futures กบั ตลาดอนพุันธ (ประเทศไทย) จํากดั

ปจจัยที่ทําใหเกิดตลาดอนุพันธในประเทศไทย

การเชือ่มโยงระหวางตลาดการเงินไทยกับตลาดการเงิน

โลก ซึ่งตองเผชิญกับความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ยและ ราคาหุนเพื่อใหมีเครื่องมอืที่มปีระสทิธิภาพในการบรหิารความ

เสี่ยง

เพิ่มทางเลือกในการลงทนุ

ประเภทของอนุพันธที่ซื้อขายในตลาดโลก

อนุพันธที่อางอิงกับดัชนีราคาหลกัทรัพย (Index)อนุพันธที่อางอิงกับหลักทรัพย (Stock)อนุพันธที่อางอิงกับอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate)อนุพันธที่อางอิงกับสินคาโภคภณัฑ (Commodities)อนุพันธที่อางอิงกับอัตราแลกเปลี่ยนเงนิตราระหวางประเทศ (Currency)

ตลาดอนุพันธในประเทศไทย

บมจ.ตลาดอนุพันธ (ประเทศไทย)

Thailand Futures ExcahangePLC (TFEX)เปนบริษัทยอยของตลาดหลักทรัพยฯ ตั้งขั้นเพื่อเปนศูนยกลางการซื้อขายตราสารอนุพันธ เมื่อ 17 พ.ค. 2547 กํากับดูแลโดย สํานกังาน กลต.

ตลาดอนุพันธในประเทศไทย

บริษัทสํานักหักบัญชี (ประเทศไทย) จํากัดThailand Clearing House Co., Ltd.TCHเปนบรษิัทยอยของ ศูนยรับฝากหลักทรัพยฯ ตั้งขึ้นเพื่อเปนสํานักหักบัญชีใหกับตลาดอนุพันธ เมื่อ 9 ส.ค.2547 เพื่อทําการประกันการชาํระราคาใหผูซือ้ผูขาย โดยเรียกหลักประกันจากผูซื้อและผูขาย เพื่อใหมั่นใจวาทั้ง 2 ฝายจะกระทําตามสัญญา

ตลาด OTC และตลาดอนพุันธ

OTCมีความเสี่ยงวา คูสัญญาจะสามารถปฏิบัตติามสัญญานั้นไดหรือไม

สัญญาจะขึ้นอยูกับการเจรจาของ

คูสัญญา ไมเปนมาตรฐานสภาพคลองต่ํา

Derivativesขจัดความเสี่ยงในสวนนี้ได เนื่องจากมีสํานักหกับญัชีเปน

คูสัญญา

ลักษณะของสัญญาเปนมาตรฐาน

เดียวกัน

สภาพคลองสูง

ลางฐานะสัญญากอนหมดอายุได

ลักษณะสําคัญของตราสารอนุพันธ

มีมลูคาขึน้อยูกับสิง่ที่อนพุันธนั้นอางอิงอยู

มีอายุจํากดั

ใชเงินลงทนุนอย ทาํใหการลงทนุใหอัตราผลตอบแทนที่สงู ทัง้ดานบวกและดานลบ

อนุพันธทางการเงินที่มีซื้อขายแลวในปจจุบัน

ตาม พรบ.หลักทรพัยและตลาดหลักทรพัย 2535 อนุพันธทางการเงินบางประเภทถูกนิยามโดยกฎหมาย ใหเปนหลกัทรัพยและสามารถซื้อขายไดในตลาด

หลักทรพัย คือ Warrant และ Derivatives Warrant ที่เปนตราสารที่ใหสิทธิแกผูถือตราสารในการทีจ่ะซื้อสินทรัพยทีต่รา

สารนัน้อางอิงอยู ตามราคาและสัดสวนที่ไดกาํหนดไว

Warrant

ผูออก (Issuer) คือ บริษัทที่เปนเจาของกจิการ จึงสามารถออกหุนใหมใหกบัผูลงทนุที่ใชสทิธิไดโดยตรง

Derivative Warrant

ผูออก (Issuer) ไมใชบริษัทที่เปนเจาของกิจการ จึงตองหาหุนมาสงมอบ เมื่อผูลงทุนขอใชสิทธิ เชน SCIB-C1 ซึ่งออกโดยกองทุนฟนฟูฯ เปนตน

สินคาที่ซื้อขายในตลาดอนุพันธ

ตาม พรบ. สัญญาซื้อขายลวงหนา 2546 สินคาที่สามารถซื้อขายไดในตลาดตราสารอนุพันธ คอื Futures, Options และ Futures บน Option ทีม่ีสินคาอางอิงไดแก หุนสามญั ดชันีกลุมหลกัทรัพย อัตราดอกเบี้ย (พันธบัตร และหุนกู) อัตราแลกเปลี่ยน ทองคาํ น้าํมันดบิ หรือดัชนทีางการเงินอื่น ๆทั้งนี้ไมรวมถึงสินคาเกษตร ซึ่งระบุใน พรบ. ตางฉบับ

สินคาที่ซื้อขายในตลาดอนุพันธ

SET 50 Index Futures และในอนาคตจะมีสัญญา Interest Rate Futures และสัญญาอื่น ๆ เพิ่มเติม

ขั้นตอนการซื้อขายในตลาดอนุพันธ

ผูขาย

บริษัทสมาชิก บริษัทสมาชิกTFEX

ผูซื้อ

สํานักหักบัญชี (TCH)

คํานวณ และ เรียกเงินประกัน

ใครคือสมาชิกของตลาดอนพุันธ

ไดรับอนุญาตประกอบธุรกิจเปนนายหนาอนุพันธ จากสํานักงาน กลต. ซึ่งกําหนดใหผูขอรบัใบอนุญาตจะตองเปน บริษัทหลักทรัพย หรอื บริษัทที่จัดตั้งใหม ซึ่งถือหุนโดยบริษัทหลักทรัพยหรือธนาคารพาณิชยไมต่ํากวา 75%

มีคุณสมบัติตามที่ตลาดตราสารอนุพันธกําหนด (รายงาน

ฐานะทางการเงนิ ความพรอมในการประกอบธุรกิจ และการบริหารงาน)

ประเภทของผูลงทุนในตลาดอนุพันธ

Hedgers ผูลงทนุสถาบนั (ในและตางประเทศ) กองทนุรวม บริษัทประกันภัย กบข. เปนตนSpeculators ผูลงทนุและผูสนใจทัว่ไปArbitrageurs ผูลงทนุสถาบนั (ในและ

ตางประเทศ)

ผูลงทุนไดประโยชนจากอนพุันธ ไดอยางไร

ผูลงทุนที่ถือหุนสามัญอยู และมีความเสี่ยงในการลงทุน จะใชอนพุันธเปนเครือ่งมือในการบริหารความเสี่ยงดวยตนทุน

ต่ํา และปรับสัดสวนการลงทุนไดสะดวกผูที่ตองการเพิ่มอัตราผลตอบแทน เชน คาดวาตลาดจะมีแนวโนมสูงขึ้น ก็จะซื้อ Futures และถาคาดวาตลาดจะมีแนวโนมลดลง ก็จะขาย Futures แตหากพยากรณผิด ก็จะขาดทุน

SET 50 Index Futures

คือ สัญญา ที่ผูซือ้กับผูขายตกลงกนัในวันนี ้วาจะซือ้ขาย SET 50 Index ณ ราคาหนึง่ในอนาคต เชน 3 เดือน หรือ 6 เดอืน เปนตนSET 50 Index เปนดชันี ผูซื้อผูขายจึงไมสามารถสงมอบกนัได จึงมีการจายชําระเงินกาํไรขาดทนุแทนกนั

SET 50 Index Futures

SET 50 Index + Futures= SET 50 Index Futures

SET 50 Index เปนดชันี ดงันัน้ผูซื้อผูขายจึงไมสามารถสงมอบหลักทรพัย(สินทรัพย)ที่อางอิงได การคาํนวณกําไรขาดทนุจึงใชจํานวนเงินแทน (Cash Settlement)

หลักเกณฑการคัดเลือก SET 50 Index

เลือกหุนสามัญที่มี Mkt. Cap. เฉลี่ยตอวันยอนหลัง 12 เดือน สูง 200 ลําดับแรก และไมอยูระหวางการสั่งพักการซื้อขาย (SP) นานเกิน 7 วันจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยไมนอยกวา 6 เดือนมีสัดสวนผูถือหุนรายยอยไมนอยกวา 20%

เปนหุนสามัญทีม่มีูลคาซื้อขายสม่ําเสมอ

พิจารณาคัดเลือกหลักทรัพยทุก 6 เดือน (พ.ค. และ พ.ย.)

SET 50 Index Futures

เชน ณ วันที่ 1 ต.ค. 48 ผูลงทุนซื้อ SET 50 Index Futures จํานวน 1 สัญญา ที่ 45 จุด โดยสัญญามอีายุ 3 เดือน

หมายความวา ณ วันที่ 1 ต.ค. 48 ผูลงทุนไดทําสัญญาตกลงที่จะซื้อ SET 50 Index Futures จากผูขายในราคา 45 จุด โดยกําหนดสงมอบกันในอีก 3 เดือนขางหนา

SET 50 Index Futures

หากวันที่ 30 ธ.ค. 48 ซึ่งเปนวันสงมอบ และ SET 50 Index Futures ปดที่ ระดับ 48 จุด ก็จะมีกําไรจากการซื้อสัญญา SET 50 Index Futures เทากับ 3 จุด (48 – 45 จุด)

ถากําหนดให 1 จุดดัชนี เทากับ 1,000 ก็จะมีกําไรเปนเงินเทากับ 3,000 บาท

ตัวคูณดัชนี (Multiplier)

ดัชนี SET 50 หนึ่งจุด = 1,000 บาทเชน ผูลงทุนขาย SET 50 Index Futures ที่ราคา 530.00 จุด แสดงวามูลคาของสัญญาดังกลาวมีคา = 530.00 x 1,000 = 530,000 บาท

Tick Size

การกําหนดราคาชวงหางของราคาขัน้ต่ํา (Tick Size) ในการเสนอราคาแตละครั้ง หนวยของราคาที่ละเอียดที่สุดที่เสนอไดคือ ดัชนีที่มหีนวยทศนิยมหนึ่งตําแหนง

เชน 500.10 500.20

500.30 500.40

แตไมสามารถเสนอที่ 500.24 ได เปนตน

ซื้อขาย SET 50 Index Futures ทําอยางไร

สงคําสั่งผานบริษัทสมาชิกของตลาดตราสารอนุพันธ

สมาชิกสงคําสั่งผานไปยังระบบซื้อขายของตลาดอนุพันธ

คําสั่งซื้อขายจบัคูกัน

สมาชิกยืนยันไปยังลูกคา

ขั้นตอนการซื้อขาย

สั่งคําสั่งซื้อขายผาน Broker โดยลูกคาจะตองวางเงินประกันขั้นตนกอนคําสั่งซื้อขาย

สรุปกําไรขาดทุนทุกวัน (Daily Mark-to-Market) วางเงินเพิ่ม หรือถอนออก เงินประกันหมั่นตรวจสอบสถานะ เพื่อประเมินและตัดสินใจปรับเปลี่ยนสถานะของตนเอง

ซื้อ SET 50 Index Futures ตางจากการซื้อหุนอยางไร

ผูลงทุนไมตองจายเงินเต็มจาํนวนในวันที่ซื้อขาย

แตเปนการวางหลักประกัน 5 – 10% ของมูลคาสญัญาทุกสิ้นวันจะมีการทาํ Mark to Market ถาหากเงินไมพอ ก็เรียกหลักประกันเพิ่ม หากเงินพอก็สามารถขอคืนได

Price Limit

ชวงการเปลี่ยนแปลงสูงสุดในแตละวนั (Price Limit) ราคาของ Futures ที่เสนอซื้อขายกันจะ เพิ่มขึ้นหรอืลดลงไดไมเกินกวา 30% ของราคาที่สํานักหักบัญชีประกาศในวันกอนหนา

เชน ราคาที่ใชชําระราคาเมือ่วานเทากับ 500 ดังนั้นในวันนี้ราคาสามารถเปลี่ยนแปลงไดไมนอยกวา 350 หรือไมมากกวา 650 เปนตน

Circuit Breaker

Trigger Point 1 เมื่อราคาลดลงไมต่ํากวา 10% ยังมีการซื้อขาย แตจะทําการหยุดการซื้อขายเมื่อ SET หยุดการซื้อขาย เนื่องจาก Circuit Breaker (CB) ครั้งที ่1 ทํางาน จะเริ่มการซื้อขายเมื่อ SET เปด Trigger Point 2 เมื่อราคาลดลงไมต่ํากวา 20% ยังมีการซื้อขาย แตจะหยุดการซื้อขายเมื่อ SET หยุดการซื้อขาย CB ครั้งที่ 2 ทํางาน จะเริ่มการซือ้ขายใหมเมื่อ SET เปด

Circuit Breaker

Final Price ยังเปดใหซื้อขายแตราคาตองไมต่ํากวา 30%

เมื่อใดก็ตามที่ตลาดหลักทรัพยหยุดเมื่อขัดของทางเทคนิค TFEX ก็จะหยุดทันทีเชนกัน

เดอืนที่สัญญาสิ้นอายุ

ตรงกับ เดอืนมนีาคม มิถนุายน กันยายน และ ธันวาคม โดยนบัไมเกินกวา 4 ไตรมาสสัญญาจะสิน้สดุ 1 วันกอนวันทาํการสดุทายของเดือน ซึ่งนบัเปนวันสุดทายของการซื้อขาย

เดอืนที่สัญญาสิ้นอายุ

ณ วันที่ 29 มีนาคม 2550

สัญญาที่มีในระบบ คือSET50MAR07SET50JUN07SET50SEP07SET50DEC07

เดอืนที่สัญญาสิ้นอายุ

ณ วันที่ 30 มีนาคม 2550

สัญญาที่มีในระบบ คือSET50MAR07SET50JUN07SET50SEP07SET50DEC07SET50MAR08สาเหตุทีม่ีสัญญาเพิ่ม เพราะวันสุดทายของการซื้อขาย จึงมรีายการทบักัน 1

วัน

เดอืนที่สัญญาสิ้นอายุ

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2550

สัญญาที่มีในระบบ คือSET50JUN07SET50SEP07SET50DEC07SET50MAR08

ชื่อยอของ SET 50 Index Futures

Jan = F Jul = NFeb = G Aug = QMar = H Sep = UApr = J Oct = VMay = K Nov = XJun = M Dec = Z

ชื่อยอของ SET 50 Index Futures

เชน Series Name

S50H06 = SET50MAR06S50Z06 = SET50DEC06S50H07 = SET50 MAR07

Position Limit

จํานวนสัญญาที่ผูลงทุนสามารถมีสถานะได (Position Limit) สัญญาที่ครบกาํหนดในแตละเดือนไมเกิน 10,000 สัญญาสถานะสุทธิของทุกเดือนรวมกันตองไมเกิน 10,000 สัญญา (Long & Short)

Settlement Price

ราคาที่ใชชําระราคาประจําวัน (Daily Settlement Price) เปนราคาที่เผยแพรทุกสิ้นวัน เพื่อคํานวณกําไรขาดทนุราคาที่ใชชําระราคาวนัสุดทาย (Final Settlement Price) เปนราคาที่ใชคํานวณกําไรขาดทุนในวันสุดทายของสัญญา ใชคาเฉลี่ยถึงทศนิยมตําแหนงที่สอง รายนาที 30 นาที นํามาเฉลี่ย

ขั้นตอนการทํา Marked-to-Market

1 ก.ย. 48 ผูลงทุนซื้อ Futures เดือน ธ.ค. 49 จํานวน 1 สัญญา ที่ราคา 520 จุด ถากําหนดใหวางเงินประกันขั้นตน 50,000 บาท และมีอัตราเงินประกันขั้นต่ํา 35,000 บาทวันที่ 1 ถาดัชนีเปน 522 จุด ผูลงทุนจะมีสถานะทางบัญช ีคือ กําไร (522-520) x 1,000 = 2,000 และเงินประกันขั้นตน 50,000 บาท รวมเปน 52,000 บาท

ขั้นตอนการทํา Marked-to-Market

วันที่ 2 ถาดัชนีเปน 515 จุด จะขาดทุน (515-522) x 1,000 = -

7,000 บาท ทาํใหยอดเงินลดลงเหลือ 52,000 – 7,000 = 45,000 บาท

วันที่ 3 ถาดัชนีเปน 504 จุด จะขาดทุนอีก (504-515)x 1,000 = -

11,000 บาท ทําใหยอดเงินคงเหลือ 45,000 – 11,000 = 34,000 บาท ซึ่งต่ํากวาเงินประกันขั้นต่ํา ผูลงทุนจึงตองนําเงินมาชําระเพิ่มจนเทากับหลักประกันขั้นตน คือ 16,000 บาท

ประโยชนของ SET50 Index Futures

ใชบรหิารความเสี่ยง คือบางครั้งอาจเกิดการขาดทุนในหุน แตกําไรจาก Futuresหากคาดการณวา SET 50 Index จะมแีนวโนมดีขึ้น ใหทําการซื้อ SET50 Index Futuresหากคาดการณวา SET 50 Index จะมแีนวโนมแยลง ใหทําการขาย SET50 Index Futures

ตลาดสินคาเกษตรลวงหนา (ตสล)

ต.ส.ล.หรอืตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหง

ประเทศไทยเปนนิติบุคคลที่จัดตัง้ขึ้นตาม

พระราชบัญญตักิารซือ้ขายสินคาเกษตรลวงหนา

พ.ศ.2542 เปนตลาดซือ้ขายสินคาเกษตรลวงหนา

แหงเดียวในประเทศไทย การซือ้ขายลวงหนาใน

ตลาด (Futures Exchange)

สินคาที่สามารถซื้อขายในตลาดลวงหนาทางการเกษตรได

คือ

1.สินคาประเภทธัญพืช และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ เชน ขาว ขาวสาล ีขาวโอต ขาวบารเลย ขาวฟาง ถั่วเหลือง ฝาย น้ํามนัถัว่เหลอืง น้ํามนัปาลม ฯลฯ 2.ปศุสัตวตางๆ เชน วัว ควาย สุกร ไกงวง ไข ฯลฯ 3.สินคาประเภทเสนใย เชน ฝาย ขนแกะ 4.อาหารอืน่ๆ เชน น้ําตาล มนัฝรั่ง กาแฟ โกโก เปนตน

สินคาที่สามารถซื้อขายในตลาดลวงหนาทางการเกษตรได

คือ

5.โลหะตางๆ เชน ทอง เงิน ทองคําขาว ทองแดง เปนตน 6.ผลิตภัณฑปโตรเลยีม เชน น้ํามนัดบิ น้ํามนัเชื้อเพลิง ฯลฯ 7.เงินตราตางประเทศ เชน เงินปอนดสเตอริง เงินดอลลารแคนาดา เงินดอยซมารค เงินเยน ฯลฯ ตราสารทางการเงินอื่นๆ เชน พันธบัตรรฐับาล ดัชนีราคาหุน และอัตราดอกเบี้ย เปนตน

สินคาที่มีการซื้อขายใน ตสล.

คณะกรรมการกาํกบัการซื้อขายสนิคาเกษตรลวงหนา (ก.ส.ล.) ไดอนุมัติใหตลาดสนิคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย นาํขาวขาว 5% และยางแผนรมควนัชั้น 3 เขาซื้อขายในตลาดฯเปนลําดบัแรกๆของป 2547

ในป 2548 ไดมกีารนาํ มันสาํปะหลังประเภทสตารช ชั้นพิเศษ เขามาจําหนายใน ตสล.

สินคาที่มีการซื้อขายใน ตสล.

ในปจจบุนัสนิคาที่มกีารซือ้ขายใน ตสล. คือ ยางแผนรมควันชั้น 3 ขาวขาว 5% ขอตกลงขนาดเล็ก ยางแทงเอสทอีาร20 แปงมันสําปะหลงัชั้นพิเศษ และ น้ํายางขน

ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ขาวขาว 5 %

วันเริ่มแรกของการซื้อขาย 26 สิงหาคม 2547

สินคา ขาวขาว 5 เปอรเซ็นต

คุณภาพสินคาที่สงมอบ ขาวขาว 5 เปอรเซ็นต

ตามมาตรฐาน

หนวยการซื้อขาย 15,000 กิโลกรัม หรือ

15 เมตริกตัน /หนึ่งหนวยการซื้อขาย

หนวยการสงมอบ 15,000 กิโลกรัม หรือ

15 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการสงมอบ

ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ขาวขาว 5 %

วิธีการซื้อขาย ระบบอเิล็คทรอนิกส

ราคาซื้อขาย บาท / กโิลกรัม

อัตราการขึ้นลงของราคา (ชวงราคา)

0.02 บาท / กโิลกรัม

อัตราการขึ้นลงของราคาสูงสุดประจําวัน

0.32 บาท / กโิลกรัม

(ตลาดอาจเปลี่ยนแปลงอัตราการขึน้ลงของราคาสูงสุดประจําวันโดยใชชวง

ราคาอางอิงตามทฤษฎ)ี

ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ขาวขาว 5 %

อัตราเงินประกันขั้นตน (ไมใชเดือนสงมอบ)

สําหรบับัญชีประกันความเสี่ยง 4,200 บาท ตอขอตกลง

สําหรบับัญชีอื่น ๆ 5,600 บาท ตอขอตกลง

อัตราเงินประกันขั้นตน (เดือนสงมอบ)

สําหรบับัญชีประกันความเสี่ยง 41,300 บาท ตอขอตกลง

สําหรบับัญชีอื่น ๆ 55,000 บาท ตอขอตกลง

ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ยางแผนรมควนัชั้น 3

วันเริ่มแรกของการซื้อขาย 28 พฤษภาคม 2547

สินคา ยางแผนรมควนัชั้น 3

คุณภาพสินคาที่สงมอบ ตามมาตรฐาน Green

Book และผลิตหรอืสงมอบจาก

โรงงานที่ตลาดรับรอง

หนวยการซื้อขาย 5,000 กิโลกรัม หรือ 5

เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการซื้อขาย

หนวยการสงมอบ 20,000 กิโลกรัม หรือ

20 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการสงมอบ

ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ยางแผนรมควนัชั้น 3

วิธีการซื้อขาย ระบบอเิล็คทรอนิกส

ราคาซื้อขาย บาท / กโิลกรัม

อัตราการขึ้นลงของราคา (ชวงราคา)

0.10 บาท / กโิลกรัม

อัตราการขึ้นลงของราคาสูงสุดประจําวัน

2.1 บาท / กโิลกรมั

(ตลาดอาจเปลี่ยนแปลงอัตราการขึน้ลงของราคาสูงสุดประจําวันโดยใชชวง

ราคาอางอิงตามทฤษฎ)ี

ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ยางแผนรมควนัชั้น 3

อัตราเงินประกันขั้นตน (ไมใชเดือนสงมอบ)

สําหรบับัญชีประกันความเสี่ยง 9,500 บาท ตอขอตกลง

สําหรบับัญชีอื่น ๆ 12,700 บาท ตอขอตกลง

อัตราเงินประกันขั้นตน (เดือนสงมอบ)

สําหรบับัญชีประกันความเสี่ยง 65,700 บาท ตอขอตกลง

สําหรบับัญชีอื่น ๆ 87,400 บาท ตอขอตกลง

ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช

ชั้นพิเศษ วันเริ่มแรกของการซื้อขาย 25 มีนาคม 2548

สินคา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช ชั้นพิเศษ

คุณภาพสินคาที่สงมอบ ตามประกาศกระทรวง

พาณิชย

หนวยการซื้อขาย 15,000 กิโลกรัม หรือ

15 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการซื้อขาย

หนวยการสงมอบ 15,000 กิโลกรัม หรือ

15 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการสงมอบ

ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช

ชั้นพิเศษ

วิธีการซื้อขาย ระบบอเิล็คทรอนิกส

ราคาซื้อขาย บาท / กโิลกรัม

อัตราการขึ้นลงของราคา (ชวงราคา)

0.01 บาท / กโิลกรัม

อัตราการขึ้นลงของราคาสูงสุดประจําวัน

0.43 บาท / กโิลกรัม

(ตลาดอาจเปลี่ยนแปลงอัตราการขึน้ลงของราคาสูงสุดประจําวันโดยใชชวง

ราคาอางอิงตามทฤษฎ)ี

ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช

ชั้นพิเศษ

อัตราเงินประกันขั้นตน (ไมใชเดือนสงมอบ)

สําหรบับัญชีประกันความเสี่ยง 6,500 บาท ตอขอตกลง

สําหรบับัญชีอื่น ๆ 8,700 บาท ตอขอตกลง

อัตราเงินประกันขั้นตน (เดือนสงมอบ)

สําหรบับัญชีประกันความเสี่ยง 45,000 บาท ตอขอตกลง

สําหรบับัญชีอื่น ๆ 59,900 บาท ตอขอตกลง

ขอมูลเพิ่มเตมิศึกษาไดที่:

บรษิัท ตลาดอนุพันธ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

Thailand Futures Exchange PCL

www.tfex.co.th

ตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย

The Agricultural Futures Exchange of Thailand

www.afet.or.th

top related