Google Apps for Education Google Apps · 2019. 7. 2. · การศึกษาแล้วมีชื่อว่า Google Apps for Education หรือ Google ... ส...

Post on 24-Sep-2020

15 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

Transcript

1

Google Apps for Education คืออะไร? หลายท่านคงจะรู้จักและเคยใช้งาน Google Apps กันแล้ว ซึ่งบริการ Google Apps นี้เป็นที่นิยมมากในระดับองค์กร และล่าสุด Google ประเทศไทย ได้เริ่มให้บริการ Google Apps ส าหรับการศึกษาแล้วมีชื่อว่า Google Apps for Education หรือ Google Apps ส าหรับการศึกษา Google Apps for Education เป็นชุดเครื่องมือส าหรบัการท างานร่วมกัน ผ่าน Google Apps เช่น Mail, Calendar, Docs, Drive, Site ฯลฯ เพ่ือการสื่อสารกันเหมาะส าหรับอาจารย์ นักศึกษา เจ้าหน้าที่ ของมหาวิทยาลัย

โดย Google ได้จัดเตรียมแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ ไว้ส าหรับรองรับการท างาน ดังนี้ Google Mail Google Drive Google Documents Google sheet Google slide Hangouts (Google Talk) Google Calendar Google Site

2

จุดเด่นของ Google Apps พ้ืนที่เก็บ e-mail มากถึง 25 GB สามารถเก็บ e-mail ทั้งหมดไว้โดยไม่ต้องส ารองข้อมูลแบบ offline ความสามารถใหม่ๆที่ช่วยให้จัดการ e-mail ได้อย่างสะดวก เช่น ป้ายก ากับ , conversation, search operation เข้าใช้งานได้ จากอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้ง Notebook, โทรศัพท์ มือถือ หรือ Tablet ทุกที่ และทุกเวลา ใช้งานได้ทั้ง PC, Mac และสมาร์ทโฟน กรณีท่ีเกิดความเสียหายกับเครื่อง computer ที่ใช้งานอยู่ ข้อมูลทั้งหมดของคุณจะยังคงอยู่อย่าง ปลอดภัย และ เรียกใช้งานจากเครื่องอ่ืน ๆ ได้ทันที จัดตารางนัดหมายขององค์กร(หรือกลุ่ม)ได้ด้วย Calendar ที่ทุกคนในองค์กร(หรือกลุ่ม) ใช้งาน ร่วมกัน ใช้งาน document, spreadsheet ร่วมกัน โดยที่ทุกคนในกลุ่มสามารถเข้าใช้งานและแก้ไขได้พร้อม กัน ใช้งาน IM ได้ทั้ง text, voice หรือ video จากหน้าใช้งาน e-mail โดยทั่วไปในบัญชี Gmail ปกติจะได้รับนามสกุล @gmail.com ต่อท้าย แต่ถ้าเป็น Google Apps for Education เราสามารถปรับแต่งบัญชีให้เข้ากับองค์กร ส าหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ทุกคนจะได้ นามสกุลเป็น @pcru.ac.th โดย Google Apps for Education ได้มีส่วนส าคัญในการเปลี่ยนแปลงโฉมองค์กรในด้านนวัตกรรม การศึกษา และการติดต่อสื่อสารในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ท าให้ครูติดตามนักเรียนอยู่ใกล้ชิดมากขึ้นได้เรียนรู้ตามหลักสูตร ช่วยลดค่าใช้จ่ายของสถาบันการศึกษาด้วยความเป็นระบบคลาวด์

3

รู้จักคลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) หากพูดถึงว่าคลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) คืออะไร? หลายคนอาจจะนึกถึงแค่

บริการ พ้ืนที่ฝากไฟล์บนอินเทอร์เน็ตอย่าง iCloud บน iPhone, iPad หรือ Google Drive บน Android หรือ OneDrive บนมือถือ Windows Phone ซึ่งสิ่งเหล่านี้คือบริการ Cloud Storage อันเป็นบริการ Cloud ประเภทหนึ่งเท่านั้น แต่อันที่จริงแล้วบริการ Cloud Computing มีความหมายกว้างขวางกว่านั้นมาก Cloud computing คือบริการที่ครอบคลุมถึงการให้ใช้ก าลังประมวลผล หน่วยจัดเก็บข้อมูลและระบบออนไลน์ต่าง ๆ จากผู้ให้บริการ เพ่ือลดความยุ่งยากในการติดตั้ง ดูแลระบบ ช่วยประหยัดเวลา และลดต้นทุนในการสร้างระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายเอง ซึ่งก็มีทั้งแบบบริการฟรีและแบบเก็บเงิน หรือพูดให้ง่าย Cloud Computing คือการที่เราใช้ซอฟต์แวร์, ระบบ, และทรัพยากรของเครื่องคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยสามารถเลือกก าลังการประมวลผล เลือกจ านวนทรัพยากร ได้ตาม ความต้องการในการใช้งาน และให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลบน Cloud จากท่ีไหนก็ได้ "Anywhere! Anytime!" คือทุกท่ีทุกเวลา ไม่ว่าคุณจะอยู่ตรงไหนก็ตามขอแค่มี Internet กับ Computer คุณก็ท างานได้ แบบ 24/7 (24 ชั่วโมง 7วัน)

จากภาพด้านบนนี้ จะเห็นว่าด้านในของกรอบที่เป็นก้อนเมฆก็คือทรัพยากรของผู้ให้บริการที่มีทั้ง Hardware และ Software (ซึ่งก็ท างานบน Hardware ของผู้ให้บริการเช่นกัน) ผู้ใช้บริการเพียงแค่ต่อเชื่อมเข้าไปใช้ผ่าน Network ด้วยเว็บบราวเซอร์ หรือ Client แอพพลิเคชั่น บนอุปกรณ์ต่าง ๆของตน เช่น มือถือ, Tablet, Notebook, หรือ Chromebook เป็นต้น

การใช้เข้าใช้งาน Google App for Education หลังจากท่ีได้ Account จาก Admin ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์แล้ว ท่านสามารถเข้าใช้งานได้จาก หน้า www.google.com

4

1. เปิดเว็บบราวเซอร์ Google Chrome พิมพ์ URL ไปที่ www.google.co.th คลิกลงชื่อเข้าสู่ระบบ

2. กรอกชื่อ username@pcru.ac.th และใส่รหัสผ่าน แล้วคลิกปุ่ม ถัดไป

5

3. สังเกตที่มุมขวาบนของเว็บบราวเซอร์ Google Chrome ถ้าหากขึ้นชื่อบัญชีของเราแสดงว่าได้ท าการลง ชื่อเข้าใช้งานเรียบร้อยแล้ว

1. การใช้งาน Google Mail หลังจากท่ีได้ลงชื่อเข้าสู่ระบบแล้ว เมื่อต้องการเข้าใช้งานในส่วนของ Google Mail ให้ดู

สัญลักษณ ์ คลิกแล้วเลือก Gmail ดังรูป

6

1.1 ส่วนต่าง ๆ ของ Google Mail ส่วนต่าง ๆ ของ Google Mail จะประกอบไปด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ ดังนี้

1.1.1 แสดงเจ้าของบัญชีที่ก าลังลงชื่อใช้งานอยู่ และ Link ส าหรับเข้าใช้งานเครื่องมือต่าง ๆ เช่น Search, Google Drive, Calendar, Google+, YouTube เป็นต้น 1.1.2 ช่องส าหรับใส่ keyword เพ่ือใช้ในการค้นหา

1.1.3 การตั้งค่าต่าง ๆ ของการใช้งาน Google Mail

1.1.4 Navigation Pane ส่วนถัดมาเป็นส่วนที่ใช้แสดงจดหมายประเภทต่าง ๆ เช่น กล่องจดหมาย, ติดดาว, ส าคัญ, จดหมายที่ส่งแล้ว, จดหมายร่าง และ ป้ายก ากับที่สามารถสร้างเพ่ิมได้ 1.1.5 Chat Pane แสดงรายชื่อผู้ติดต่อ และสถานะการ online สามารถตั้งสถานะเป็นข้อความส่วนตัวได้ หรือกดที่ชื่อเพ่ือเริ่มสนทนาได้ทันที 1.1.6 Mail List แสดงรายระเอียดต่าง ๆ ของ Message เช่น Sender, Subject และ date

7

1.2 การเขียน Mail ใหม่ 1.2.1 เริ่มต้นการเขียน e-mail ให้เราคลิกท่ีปุ่ม เขียน ในส่วนด้านซ้าย ดังภาพ

1.2.2 จากนั้นหน้าจอจะแสดงหน้าต่างในการเขียน e-mail ขึ้นมาทางด้านล่างขวา ดังภาพ

จากนั้นให้เราท าการเขียน e-mail ใส่ชื่อ e-mail ที่เราต้องการส่งถึง ใส่ชื่อเรื่อง และข้อความท่ีจะเขียน ดังภาพ

8

1.2.3 ถ้าหากเราต้องการแนบไฟล์ให้เราคลิกท่ีปุ่มสัญลักษณ์แนบไฟล์ดังภาพ จากนั้นเลือกไฟล์ที่เราต้องการแนบ

1.2.4 เมื่อแนบไฟล์เสร็จเรียบร้อยจะสังเกตเห็นไฟล์ที่เราแนบดังภาพ จากนั้นให้คลิกท่ีปุ่ม ส่ง เพ่ือท าการส่ง e-mail

9

1.2.5 เมื่อ e-mail ท าการส่งเรียบร้อยแล้ว หน้าจอจะแจ้งเตือนว่า ข้อความของคุณถูกส่งแล้ว ดังภาพ

1.2.6 หากเราต้องการที่จะดู e-mail ที่เราส่ง สามารถเลือกปุ่ม จดหมายที่ส่งแล้ว เพ่ือดู e-mail ที่เราท าการส่งไปแล้วได้

1.2.7 หน้าจอก็จะแสดง e-mail ที่เราได้ท าการส่งทั้งหมด และสามารถเปิดดูได้โดยคลิกที่จดหมาย e-mail นั้น ๆ

10

1.3 การอ่าน E-mail 1.3.1 คลิกเลือกเมนู กล่องจดหมาย ที่เมนูด้ายซ้าย ดังภาพ

1.3.2 ให้เราคลิกเลือกจดหมาย e-mail ที่เราต้องการอ่านได้เลย ดังภาพ

1.3.3 จากนั้น e-mail จะเปิดรายละเอียดให้เราอ่าน ตามตัวอย่างดังภาพ เมื่ออ่านเสร็จแล้วเราต้องการกลับไปกลับ กล่องจดหมายขาเข้าเช่นเดิม ให้คลิกที่ปุ่ม กล่องจดหมาย (ด้านซ้าย)

11

1.4 การลบ E-mail 1.4.1 เมื่อเราเปิดอ่าน e-mail ฉบับนั้น แล้วเราต้องการที่จะลบ ให้เราคลิกท่ีปุ่มสัญลักษณ์ถังขยะ โดยสังเกตจะอยู่ มุมบน เมื่อเวลาเราเปิดอ่านจดหมาย e-mail ให้เราคลิกที่ปุ่มสัญลักษณ์ถังขยะ

1.4.2 จากนั้นหน้าจอจะกลับเข้าสู่กล่องจดหมายเช่นเดิม สังเกตได้ว่า e-mail ฉบับที่เราลบไปจะหายไปจากกล่องขาเข้า ดังภาพ

1.4.3 ***ถ้าหากต้องการลบข้อมูลอีเมล์หลายฉบับพร้อมกัน ให้ท าการคลิกปุ่ม Checkbox เลือกอีเมล์ที่ต้องการแล้ว ให้เราคลิกที่ปุ่มสัญลักษณ์ถังขยะ

12

2. การใช้งาน Google Drive Google Drive เป็นบริการจาก Google ที่ท าให้เราสามารถน าไฟล์ต่าง ๆ ไปฝากไว้กับ Google ซึ่งท าให้เราสามารถใช้ไฟล์เหล่านั้นที่ไหนก็ได้ ไม่เพียงแค่ฝากไฟล์ได้เท่านั้นคุณยังสามารถ สามารถแบ่งปันไฟล์กับคนที่ต้องการ และสามารถแก้ไขร่วมกันได้จากอุปกรณ์หลายประเภท เช่น อุปกรณ์ มือถือ อุปกรณ์แทบเลต หรือคอมพิวเตอร์

เมื่อต้องการเข้าใช้งานในส่วนของ Google Drive ให้ดูสัญลักษณ ์ คลิกแล้วเลือก Google Drive ดังรูป

2.1 การอัปโหลดข้อมูลเข้า Google Drive การอัปโหลดไฟล์ข้อมูลมีด้วยกัน 2 วิธี คือ อัปโหลดข้อมูลแบบไฟล์และอัปโหลดข้อมูลแบบโฟลเดอร์ 2.1.1 อัปโหลดข้อมูลแบบไฟล์ - คลิกปุ่ม ใหม่ เลือก อัปโหลดไฟล์

- เลือกไฟล์ที่ต้องการ จากนั้นกดปุ่ม Open

13

- จากนั้นให้รอข้อมูลที่ก าลังอัปโหลด โดยจะมีหน้าจอแสดงความเร็วในการอัปโหลดอยู่ที่มุมล่างขวาของจอภาพ โดยจะแสดงเวลาที่เหลือของการอัปโหลดข้อมูล

14

- เมื่ออัปโหลดเสร็จสมบูรณ์แล้วจะข้ึนสถานะ อัปโหลดเสร็จสมบูรณ์ จะปรากฏไฟล์ที่อัปโหลดขึ้นไปอยู่ในส่วนของ ไดรฟ์ของฉัน

2.1.2 อัปโหลดข้อมูลแบบโฟลเดอร์ - คลิกปุ่ม ใหม่ เลือก อัปโหลดโฟลเดอร์ จากนั้นจะมีหน้าจอ Browse For Upload ให้เราเลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการจะอัปโหลด เมื่อเลือกเสร็จแล้วกดที่ปุ่ม OK

- จากนั้นให้รอข้อมูลที่ก าลังอัปโหลด โดยจะมีหน้าจอแสดงความเร็วในการอัปโหลดอยู่ที่มุมล่างขวาของจอภาพ โดยจะแสดงเวลาที่เหลือของการอัปโหลดข้อมูล

15

- เมื่ออัปโหลดเสร็จสมบูรณ์แล้วจะข้ึนสถานะ อัปโหลดเสร็จสมบูรณ์ จะปรากฏโฟลเดอร์อัปโหลดขึ้นไปอยู่ในส่วนของ ไดรฟ์ของฉัน

2.2 สร้างโฟลเดอร์ใหม่ผ่าน Google Drive 2.2.1 คลิกปุ่ม ใหม่ เลือก โฟลเดอร์

2.2.2 ป้อนชื่อให้กับโฟลเดอร์ใหม่ จากนั้นคลิกปุ่ม สร้าง

16

2.2.3 เมื่อสร้างเสร็จแล้ว จะสังเกตเห็น โฟลเดอร์ที่สร้างขึ้นมาใหม่ปรากฏขึ้นมา

2.3 การเพ่ิมข้อมูล หรือโฟลเดอร์ย่อยในโฟลเดอร์ สามารถท าได้ โดยคลิกเลือกท่ี โฟลเดอร์ที่ต้องการจะเพ่ิมข้อมูล ในตัวอย่าง จะขอเพ่ิมข้อมูลลงในโฟลเดอร์ที่ชื่อว่า คู่มือ Google ก็ดับเบิลคลิกเลือกที่โฟลเดอร์ที่ต้องการ ระบบจะแสดงแถบชื่อต่อจากไดรฟ์ของฉันเป็นชื่อโฟลเดอร์ที่เลือก

*** ขั้นตอนการอัปโหลดไฟล์หรือสร้างโฟล์เดอร์ในโฟลเดอร์ย่อยสามารถท าตามข้อ 2.1 และ 2.2

17

2.4 การเปลี่ยนสีโฟลเดอร์ 2.4.1 คลิกเลือกขวาทีโ่ฟลเดอร์ที่ต้องการ เลือก เปลี่ยนสี เลือก สี

2.4.2 เมื่อคลิกเลือกแล้วจะได้ผลตามภาพ

2.5 การย้ายไฟล์ข้อมูลผ่าน Google Drive 2.5.1 คลิกเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการย้ายแล้วคลิกขวาเลือก ย้ายไปที่

2.5.2 คลิกเลือกโฟลเดอร์ปลายทางเสร็จแล้วคลิกปุ่ม ย้าย

18

2.5.3 ไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ย้ายจะปรากฏในโฟลเดอร์ปลายทางท่ีเลือก

2.6 การเปลี่ยนชื่อไฟล์หรือโฟลเดอร์ผ่าน Google Drive 2.6.1 คลิกเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการเปลี่ยนชื่อเลือก เปลี่ยนชื่อ

19

2.6.2 ในตัวอย่างนี้จะเปลี่ยนชื่อโฟลเดอร์ ทดสอบสร้างโฟลเดอร์ เป็นชื่อ ทดสอบเปลี่ยนชื่อโฟลเดอร์ เมื่อแก้ไขเสร็จกดปุ่ม ตกลง

2.6.3 ไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่เลือกถูกเปลี่ยนชื่อ

2.7 ลบข้อมูลผ่าน Google Drive 2.7.1 คลิกขวาเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการลบจากนั้นคลิกปุ่ม ลบ

20

2.7.2 จะข้ึนหน้าจอเล็ก ๆ แสดงสถานการณ์ลบที่มุมด้านล่างซ้ายของหน้าจอบอกว่า ลบโฟลเดอร์แล้ว โดยที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่เลือกนั้นหายไป แต่จริงๆแล้วไฟล์นั้นถูกย้ายไปยัง ถังขยะ

3. การใช้งาน Google Document Google Document เป็นโปรแกรมท่ีมีความสามารถจัดการเอกสารได้เหมือน Microsoft word และให้ผู้ใช้งาน สร้าง บันทึก แก้ไข และน าเสนอในรูปแบบเรียลไทม์สามารถปรับปรุง แก้ไขเปลี่ยนแปลงรูปแบบตลอดจนการแทรกรูปภาพ ตาราง หรือสิ่งอื่น ๆ ร่วมกันเพ่ือให้งานเอกสารมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และที่ส าคัญผู้ใช้ Google Document สามารถควบคุมการใช้งาน พร้อมเผยแพร่งานเป็นหน้าเว็บได้ ในการน า Google Document ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เช่น ท าสื่อต่าง ๆ ใบงาน ใบความรู้แบบทดสอบ แบบฝึกหัด ฯลฯ ที่สามารถท าร่วมกันได้และสามารถน าไปใช้ในเชิงบริหารจัดการ เช่น การจัดวาระการประชุม เอกสารการประชุมเพ่ือระดมสมองร่วมกัน การบันทึกการประชุมที่ทุกคนมีส่วนร่วม เป็นต้น 3.1 การสร้างเอกสาร 3.1.1 เมื่อต้องการเข้าใช้งานในส่วนของ Google Document ให้ดูสัญลักษณ์

คลิกแล้วเลือก Google Document ดังรูป หรือถ้าอยู่ใน Google Drive ให้คลิกท่ี เมนู ใหม่ คลิกเลือก Google Docs

3.1.2 จากนั้นคลิกปุ่มเริ่มต้นเอกสารใหม่

21

3.1.3 หน้าตาของ Google Docs จะคล้าย ๆ กันกับ MS Word

3.1.4 เมนูและแถบเครื่องมือ ที่มีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม MS Word สามารถใช้งานได้ง่าย เช่น การก าหนดลักษณะข้อความ แบบตัวอักษร ขนาดตัวอักษร ตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้ ต าแหน่งของข้อความ แทรกตาราง หรือแม้กระทั่งแทรกภาพ เป็นต้น

3.2 การเปลีย่นช่ือเอกสาร

ทุก ๆ ครัง้ที่สร้างเอกสารใหม่ โปรแกรมจะก าหนดชื่อเอกสารเป็น “Untitled document” (เอกสารไม่มีชื่อ) แต่เราสามารถเปลี่ยนชื่อเอกสารเองได้ใหม่ โดยคลิกเมาส์ที่ช่อง แล้วตั้งชื่อเอกสารแล้วกดปุ่ม Enter

22

3.3 การพิมพ์เอกสาร และจัดรูปแบบ การพิมพ์เอกสารและจัดรูปแบบของ Google Docs นั้น จะคล้ายกับการใช้งาน MS Word

3.4 การแทรกรูปภาพ 3.4.1 ให้คลิก “แทรก” แล้วเลือก รูปภาพ -> อัปโหลดจากคอมพิวเตอร์

3.4.2 จะมีหน้าต่างให้เลือกไฟล์รูปขึ้นมา จากนั้นให้เลือกรูปที่ต้องการ

3.4.3 จากนั้นรูปภาพจะมาแสดงที่หน้าเอกสาร

23

3.5 การบันทึกไฟล์เอกสาร การบันทึกเอกสารนั้น โปรแกรมจะท าการบันทึกเอกสารให้เองโดยอัตโนมัติเมื่อมีการพิมพ์หรือแก้ไขเอกสาร เมื่อปิดโปรแกรมไฟล์เอกสารจะไปอยู่ใน Google Drive โดยอัตโนมัติ

24

4. การใช้งาน Google Sheet 4.1 การเข้าใช้งาน Google Sheet

4.1.1 เมื่อต้องการเข้าใช้งานในส่วนของ Google Sheet ให้ดูสัญลักษณ์ คลิกแล้วเลือก Google Sheet ดังรูป หรือถ้าอยู่ใน Google Drive ให้คลิกท่ี เมนู ใหม่ คลิกเลือก Google Sheet

4.1.2. จะปรากฏหน้าชีต (Sheet) และคลิกที่ปุ่ม “สร้างสเปรดชีตใหม”่ (Create new Sheet) เพ่ือเข้าใช้งานหน้าเอกสาร

4.1.3 หน้าเอกสารที่มีลักษณะคล้ายกับ MS Excel

25

4.1.4 เมนูและแถบเครื่องมือของเอกสารสเปรดชีตมีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม MS Excel สามารถใช้งานได้ง่าย เช่น การก าหนดรูปแบบสกุลเงิน วันที่ การใช้ฟังก์ชัน การใส่สูตรค านวณ การแทรก แผนภูมิ เป็นต้น

4.1.5 *** ส่วนเรื่องการเปลี่ยนชื่อเอกสาร, การแทรกรูปภาพ และการบันทึกเอกสารจะเหมือนกับหัวข้อ Google Document ที่ได้กล่าวมาแล้ว

5. การใช้งาน Google Slide 5.1 การเข้าใช้งาน Google Slide

5.1.1 เมื่อต้องการเข้าใช้งานในส่วนของ Google Slide ให้ดูสัญลักษณ์ คลิกแล้วเลือก Google Slide ดังรูป หรือถ้าอยู่ใน Google Drive ให้คลิกที่ เมนู ใหม่ คลิกเลือก Google Slide

26

5.1.2 จะปรากฏหน้าสไลด์ (Slide) และคลิกที่ปุ่ม “เริ่มงานน าเสนอใหม”่ (Create new slide) เพ่ือเข้าใช้งานหน้าเอกสาร

5.1.3 หน้าเอกสารที่มีลักษณะคล้ายกับ MS Power point

5.1.3 เมนูและแถบเครื่องมือของเอกสารสไลด์มีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม MS Power point สามารถใช้งานได้ง่าย

5.1.4 *** ส่วนเรื่องการเปลี่ยนชื่อเอกสาร, การแทรกรูปภาพ และการบันทึกเอกสารจะเหมือนกับหัวข้อ Google Document ที่ได้กล่าวมาแล้ว

27

6. การใช้งาน Google Hangout ประโยชน์ของ Hangouts มีมากมายเช่น - พบปะพูดคุยกับเพ่ือน หรือญาติ หรือคนอ่ืน ๆ ที่อยู่ต่างถิ่น โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย - ประชุมเรื่องงานกันผ่าน hangout ได้ เหมาะส าหรับพนักงานบริษัทใด ๆ ที่มีสาขาอยู่หลายที่ - สอนออนไลน์กันได้ที่บ้าน และผู้เรียนก็เรียนกันอยู่ที่บ้าน อย่างสบาย - นัดกับเพ่ือนๆมาติวหนังสือกันออนไลน์ นั่งติวอยู่บ้าน ประหยัดเวลาเดินทางได้ - และอ่ืน ๆ ลองน าประยุกต์ใช้ดูตามความเหมาะสม โดยในเนื้อหานี้จะเป็นการสอนการใช้งาน Application Hangouts บนคอมพิวเตอร์ในการคุยกันผ่าน Google Hangout นี้สามารถ คุยพร้อมกันได้ถึง 10 คน ในเวลาเดียวกันและ นอกจากจะเห็นหน้ากันแล้วผู้ใช้งานยังสามารถ Share หน้าจอตัวเองให้ผู้ร่วมประชุมเห็นได้อีกด้วย Google ในการคุยกันผ่าน Google Hangout นี้สามารถ คุยพร้อมกันได้ถึง 10 คน ในเวลาเดียวกันและนอกจากจะเห็นหน้ากันแล้วผู้ใช้งานยังสามารถ Share หน้าจอตัวเองให้ผู้ร่วมประชุมเห็นได้อีกด้วย 6.1 การเข้าใช้งาน Google Hangouts 6.1.1 เมื่อต้องการเข้าใช้งานในส่วนของ Google Hangouts ให้ดูสัญลักษณ์

คลิกแล้วเลือก Google Hangouts ดังรูป

28

6.1.2 จะเปิดหน้าจอ ดังรูป แล้วกดปุ่ม HANGOUTS วีดีโอ

6.2 วิธีการใช้งาน 6.2.1 ป้อนชื่อหัวข้อ Hangouts แล้วคลิกปุ่มต่อไป

6.2.2 คลิกปุ่มเชิญคนอ่ืนเข้าร่วม Hangouts

29

6.2.3 กรอกอีเมล์ของผู้ที่ต้องการเชิญเข้าร่วม Hangouts แล้วกดปุ่มเชิญ

6.2.4 จากนั้นผู้ถูกเชิญเข้าร่วมจะได้ระบ Message แจ้งเตือนให้เข้าร่วม จากนั้นให้คลิกปุ่มยอมรับ

6.2.5 จากนั้นจะมีหน้าจอ Hangouts ขึ้นมา ในหน้าจอนี้จะสามารถส่ง Message คุยกันผ่านกล่องข้อความได้

30

6.2.6 เมื่อต้องการออกจาก Hangouts ให้คลิกปุ่มไอคอนออกจาก Hangouts อยู่ด้านบนของหน้าจอ

7. การใช้งาน Google Classroom Google Classroom จะรวมเอาบริการของ Google ที่มีอยู่ อย่าง Drive, Docs และ Gmail เข้ามารวมไว้ด้วยกัน และน าเสนอออกมาเป็นระบบเดียวแบบครบวงจร เพ่ือเป็นเครื่องมือให้ อาจารย์ผู้สอนได้สามารถใช้ประโยชน์ในการสั่งงานและเก็บรวบรวมผลงานต่าง ๆ ของลูกศิษย์ อีกทั้งยังจะช่วยให้นักศึกษาสามารถส่งงานได้ทันทีผ่านทางออนไลน์ ในขณะที่ อาจารย์ผู้สอนเองก็สามารถตรวจการบ้าน พร้อมให้ข้อเสนอแนะแบบเรียลไทม์ได้อีกด้วย โดย อาจารย์ผู้สอนสามารถสร้างหน้าห้องเรียนขึ้นมา และเพ่ิมนักเรียนของตนเข้าไปได้เอง หรือจะแชร์โค้ดให้กับกลุ่มนักเรียน เพื่อให้พวกเขาท าการแอดตัวเองเข้ามาก็ได้ ประโยชน์โดยรวมของ Google Classroom - อาจารย์สร้างห้องเรียนออนไลน์ของวิชานั้น ๆ ขึ้นมา - เพ่ิมรายชื่อนักศึกษาจากบัญชีของกูเกิลเข้ามาอยู่ในห้องเรียน - อาจารย์สามารถน ารหัสผ่านให้นักศึกษาน าไปกรอกเพ่ือเข้าห้องเรียนเองได้ - อาจารย์ตั้งโจทย์การบ้านให้อาจารย์ท า โดยสามารถแนบไฟล์และก าหนดวันส่งการบ้านได้

- อาจารย์เข้ามาท าการบ้านใน Google Docs และส่งเข้า Google Drive ของอาจารย์ - อาจารย์สามารถเข้ามาดูจ านวนนักศึกษาที่ส่งการบ้านภายในก าหนดแล้วและยังไม่ได้ส่งได้ - อาจารย์ตรวจการบ้านของนักศึกษาแต่ละคน พร้อมทั้งให้คะแนนและค าติชม

31

7.1 การเข้าใช้งาน Google Classroom 7.1.1 เมื่อต้องการเข้าใช้งานในส่วนของ Google Classroom ให้ดูสัญลักษณ์

คลิกแล้วเลือก Google Classroom ดังรูป

7.2 การใช้งาน Google Classroom (ส่วนของอาจารย์) 7.2.1 คลิก + มุมบนขวาและคลิกสรางชั้นเรียน

32

7.2.2 ก าหนดชื่อชั้นเรียน และรายละเอียด จากนั้นคลิก สร้าง เพ่ือสรางชั้นเรียน

7.2.3 เมื่อคลิกสรางชั้นเรียนเสร็จแลวจะแสดงหนาตาโดยรวมของ Google classroom

7.2.4 เมื่อเข้าสู่หน้าจอให้อาจารย์ไปที่เมนูนักเรียน เพ่ือตรวจสอบรหัสของชั้นเรียน

33

7.2.5 คลิกปมุ + มุมล่างดานขวาของหนาเว็บจะแสดงเมนูในการสรางกิจกรรมต่าง ๆ ของ Google classroom

จะประกอบด้วยเมนูต่าง ๆ ดังนี้ - ใช้โพสต์ซ้ า - สร้างค าถาม - สร้างงาน - สร้างประกาศ 7.2.6 การสรางประกาศ คลิกปุ่มสรางประกาศจะแสดงหน้าจอขึ้นมา

การสร้างประกาศประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ - รายละเอียดที่ตองการประกาศ - แนบไฟลเอกสารหรือรูปภาพที่ตองการ - แนบไฟลหรือเอกสารที่อยูใน google drive - แนบ vdo จาก youtube - แนบลิงคไปเว็บไซตภายนอก - คลิก โพสต เพ่ือโพสตขาวประกาศ 7.2.7 การสรางงาน คลิกปุ่มสรางงานจะแสดงหน้าจอขึ้นมา

34

การสร้างงานประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ - ใสค าสั่งหรือชื่อของงานที่ไดรับมอบหมาย - ก าหนดวันที่ตองการใหสงงาน - แนบไฟลเอกสารหรือรูปภาพที่ตองการ - แนบไฟลหรือเอกสารที่อยูใน google drive - แนบ vdo จาก youtube - แนบลิงคไปเว็บไซตภายนอก - คลิก มอบหมาย เพื่อโพสตงาน 7.2.8 การค าถาม คลิกปุ่มสรางค าถามจะแสดงหน้าจอขึ้นมา

35

สรางค าถามประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ - กรอกค าถามท่ีตองการ - ก าหนดวันที่ตองการใหสง - เลือกการสรางค าถามเปน ปรนัย หรือ อัตนัย - แนบไฟลเอกสารหรือรูปภาพที่ตองการ - แนบไฟลหรือเอกสารที่อยูใน google drive - แนบ vdo จาก youtube - แนบลิงคไปเว็บไซตภายนอก - เลือกสถานะตอบกลับระหวางกันได - เลือกสถานะใหเรียนแกไขค าตอบได - คลิกโพสตค าถาม 7.2.9 การใชโพสตซ้ า (คือโพสตกิจกรรมตาง ๆ ที่เราเคยโพสตเอาไว น ามาโพสตใหม) คลิกปุ่มสรางการใช้โพสต์จะแสดงหน้าจอขึ้นมา - เลือกชั้นเรียนที่ต้องการ

- เลือกโพสต์ที่ต้องการมาโพสต์ซ้ า จากนั้นคลิกปุ่ม ใช้ซ้ า

7.2.10 การตรวจงานและการใหคะแนน - คลิกเลือกงานที่ต้องการตรวจ

36

- หลังจากตรวจงานเสร็จแล้ว ให้พิมพ์คะแนนของนักเรียนแต่ละคนแล้วให้คลิกปุ่มส่งคืน

7.3 การใช้งาน Google Classroom (ส่วนของนักเรียน) 7.3.1 คลิก + มุมบนขวาและคลิกเข้าร่วมชั้นเรียน

7.3.2 จากนั้นให้พิมพ์รหัสชั้นเรียนที่ได้จากอาจารย์ผู้สอนแล้วคลิกปุ่ม เข้าร่วม

37

7.3.3 เมื่อเข้ามาในระบบจะพบหน้าจอสตรีมของนักเรียน

7.3.4 กรณอีาจารย์ผู้สอนสั่งการบ้าน นักเรียนจะสามารถตรวสอบการบ้านได้ที่หน้าจอสตรีม ให้ท าการกดปุ่มเปิดเพื่อท าการส่งการบ้าน

38

7.3.5 จากนั้นให้ท าการเลือกประเภทงานที่ต้องการส่งโดยการเพ่ิมหรือสร้าง

1. เลือกงานที่สร้างจาก Google ไดรฟ์ 2. แทรก URL จากลิงค์ 3. แทรก ไฟล์ที่สร้างจากในเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ

1. สร้างงานจาก google เอกสาร 2. สร้างงานจาก google สไลด์ 3. สร้างงานจาก google ชีต 4. สร้างงานจาก google วาดเขียน

39

7.3.6 ตัวอย่างกรณีการส่งงานจากการเพ่ิมไฟล์ จาก Google Drive คลิกท่ี ปุ่มเพ่ิม ให้ท าการเลือกไฟล์แล้วคลิกปุ่มเพ่ิม

7.3.7 จากนั้นจะปรากฏไฟล์งานขึ้นมาท่ีหัวข้อการบ้านเพ่ือท าการส่ง จากนั้นคลิกปุ่ม ส่ง เพ่ือท าการส่งงาน

40

7.3.8 เมื่อท าการส่งเรียบร้อย ระบบจะแจ้งเตือนสถานะว่าเสร็จสิ้น

7.3.9 เมื่ออาจารย์ผู้สอนท าการตรวจการบ้านเรียบร้อย จะขึ้นสถานะแจ้งเตือนว่า ส่งคืนแล้ว นักเรียนจะสามารถตรวจสอบคะแนนและความคิดเห็นได้ตามรูป

top related