Ãкº¡ÒõèÍÊÙéàºç´àÊÃç¨ (Total Defense)หลัูกสตรหลักประจําชุดที่ 70 • รร. สธ. รวมเหล า มซ.

Post on 08-Oct-2020

11 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

Transcript

ระบบการตอสูเบ็ดเสร็จ(Total

Defense)

วัตถุประสงคเพื่อใหทราบถงึ• ความเปนมาของระบบการตอสูเบ็ดเสร็จ• กระบวนการในการคิด• การนําไปประยุกตใช ในการวางแผนและการดําเนินการ

พันเอก ชัยณรงค กิจรุงโรจนเจริญ• รร.นาคประสิทธิ์ สามพราน นครปฐม• รร.ตท. รุนที่ 19• รร.จปร. รุนที่ 30• นายทหารเครื่องยิงหนัก รุนที่ 13• ชั้นนายรอย, ชั้นนายพัน เหลา ร.• การจัดตั้งหมูบานตามแนวชายแดน

อิสราเอล• รร.สธ.ทบ. หลักสูตรหลักประจําชุดที ่70• รร.สธ.รวมเหลา มซ.• หลักสูตรการพัฒนาประเทศ ไตัหวัน

• ผบ.มว.ค.60 - ฝอ.3 ร.5 พนั.5• อจ.หก.รร.สธ.ทบ.สบส.• ชรก. ผอ.ชน.สนผ.กอ.รมน.• ผบ.มว.ปล. รอย ร.4055• รอง ผบ.รอย รอย.ร.4055• หน.สวนลวงหนา ร.5 พัน.5• หน.ชพ.501• น.ปฏิบัติการ สง.คพส.• น.ปฏิบัติการ สยพ.ฝกร.

ศปก.ทบ.

หัวขอการ

บรรยาย

• ความหมายของระบบการตอสูเบ็ดเสร็จ

• องคประกอบของระบบการตอสูเบ็ดเสร็จ

• การตอสูเบ็ดเสร็จตามแนวคิดของกองทัพบก

• การพัฒนาระบบการตอสู-เบ็ดเสร็จไปสูระดับชาติ

การตอสูเบ็ดเสร็จ•ตอสูกับอะไร•ตอสูอยางไร• เบ็ดเสร็จอยางไร

ตอสูกับอะไรครับ คําถามนี้อาจจะฟงดูไมคอยเขาทีเทาไรนัก จะมาบรรยายหรือมาถามกันแน แตทราบกัน

หรือไมวา หัวใจของทั้งหมดที่เราจะตองดําเนินการรวมกัน มาจากคําถามนี้ทั้งนั้น ถาเราไปถามคนทั่วไปวาเขากําลังตอสูกับอะไร อาจจะไดคําตอบวา กําลังตอสูกับตัวเอง กําลังเอาชนะใจตัวเอง กําลังตอสูกับความยากจน กําลังตอสูกับความอยุติธรรม กําลังตอสูกับทุกสิ่งทุกอยางที่กลาวมาทั้งหมด

ในทางทหาร การรูวาเรากําลังตอสูกับอะไร คือการกําหนดศัตรูหรอืภัยคุกคามนั่นเอง เมื่อเรากําหนดศัตรูหรือภัยคุกคามไดแลว เราก็เริ่มศึกษาศัตรูของเราวา เขาเปนใคร มาจากไหน มีขีดความสามารถอะไร อะไรคือจุดแข็ง อะไรคือจุดออน เขามาเปนศัตรูเราไดอยางไร และเขามีวิธีที่จะเอาชนะเราไดอยางไร นั้นคือการที่เราจะเริม่กาวเขาไปสู การวิเคราะหฝายตรงขาม เพื่อจะไดหาวิธีเอาชนะนั่นเอง

แตถาหากศัตรูของเราไมใชมีเพียงหนึ่งเดียว เราอาจมศีัตรหูลายคน เราจะทําอยางไร การที่เราเรียนรูและทราบวาเราจะตอสูกับใคร ตอสูอยางไร ดวยวิธีการไหน จะทําใหเราสามารถกําหนดไดวาศัตรูของเราแตละคน จะมีผลตอเรามากนอยเพียงใด จะมีผลตอเราในหวงเวลาไหน และจะกอใหเกิดผลอยางไรกับเรา

สรุปแลว การที่เราทราบวาเราตอสูกับอะไร จะทําใหเรากําหนดภัยคุกคามและจัดลําดับของภัยคุกคาม ไดอยางถูกตอง

ตอสูอยางไรเมื่อเราทราบหรือกําหนดไดแลววา ศัตรูของเราคือใคร มาจากไหน มีจุดออนจุดแขง็

และจะกระทําอยางไรกับเราแลว เราก็ตองมาศึกษาวิเคราะห กันวาเราจะรับมือกับศัตรูของเราเหลานั้นอยางไร เริ่มตนเราทําอยางไรครับ เริ่มตนเราก็ตองเอาศัตรูของเราเปนตัวตัง้วาเขาตั้งใจจะทําอยางไรกับเรา จะกี่วิธีก็ตาม ตองนํามาตั้งใหหมด จากนั้นก็มาดูวาวิธีไหนศัตรูของเรานาจะใชมากที่สุด แลวเราก็เริ่มมาหาวิธีการตอกรกับวธิีที่ศัตรูจะใช เราก็หาวาเราจะตอสูไดอยางไรบาง ในที่สดุเราก็จะเริ่มมองออกวาเราจะตอกรกับศัตรูของเราอยางไร ในวิธีที่เราคิดวาเขานาจะกระทําตอ และในขณะเดียวกันเราก็ยังไมละทิ้งวิธีการอื่นๆ ที่ศัตรูของเรานาจะปฏิบตัิ

ดวยทีนีพ้อเราเริ่มรูแลววาจะจะเอาชนะศัตรูของเราไดอยางไร เราก็เริ่มหันกลับมาดูตัว

เราเองอีกครั้ง วาเครื่องมือหรือสิ่งทีเ่รามีอยูนี้ สามารถตอกรกับศัตรูของเราไดหรือไม ถาไดเหลือเฟอก็แลวไป เราจะไดเก็บเครื่องมือบางสวนของเราไวตอกรกับศัตรูของเรา ในกรณีที่เขา

เปลี่ยนวิธกีาร

ตอสูอยางไรแตถาเราพิจารณาแลวพบวาเครื่องมือของเราที่มีอยูไมเพียงพอละ เราจะทําอยางไร

ยอมแพเลยดีไหม จะไดไมตองวุนวาย หรือวาหาทางเพิ่มขีดความสามารถของเรา ใหสามารถสูกับศัตรูของเราได และใหสามารถตอสูไดหลายๆ วิธีดวย

เห็นยังครับวา คําวา “ตอสูอยางไร” กินความหมายลึกซึง้ และมีความสําคัญอยางไร ถาเราคิดกันงายๆ มันก็จะออกมาเปนการแกปญหางายๆ แกปญหาตรงนี้มันก็ไปมีปญหา ตรงนั้นตอไปอีก วนกันไปไมมีที่สิ้นสุด

ลองมายกตัวอยางใกลตัวของเราดูซิวา ถาเราตั้งปญหาขึ้นมาอยางหนึง่ และเราก็มากําหนดศัตรูของเรา จากศัตรูมากําหนดเปนภัยคุกคาม ตอจากนั้นมาหาวิธีการที่เขานาจะ ปฏิบัติตอเรา เมื่อไดแลวเราก็มาลองหาวิธีการเอาชนะกันดีกวา

(ยกตัวอยางขึน้มา แลวมานั่งวเิคราะหกัน นาจะใชเวลาประมาณ 30 - 50 นาที เปนอยางมาก )

เบ็ดเสร็จอยางไรคําวา “เบ็ดเสร็จ” คืออะไร หากเรานําทั้งสองสิง่ขางหนา มารวมกัน คือ จะตองสูกบั

อะไร และจะตอสูอยางไรแลว เราจะเห็นไดวา การแกไขปญหาหรือการวางแผนที่มีความสลับซบัซอนนัน้ จะตองลงลึกไปถึงรายละเอียดตางๆ ใหมากที่สุดเทาที่จะมากได เมื่อเราแกไขปญหาหนึง่ อาจจะกระทบอีกปญหาหนึ่ง หรือเมื่อเราใชเครื่องมือของเราที่มีอยูไปในการแกปญหาหนึ่ง อาจจะเกิดความขัดสนในการแกปญหาอื่นๆ ที่ยังคงมีอยู ดังนัน้ เราจะวางแผน วาดภาพ และบริหารสิ่งตางๆ เหลานี้ไดอยางไร เปนเรื่องที่ยากมากที่จะดําเนินการไดครอบคลุมในทุกๆ สิ่งที่กลาวไว แตอยางไรก็ตาม หากเราไดวางแผนมาเปนอยางดี คิดถึงสิง่ตางๆ มาอยางถูกตอง จัดวางสิง่ตางๆ ไวเปนระบบ เคยเขาไปในหองผาตัดหรือไม หากเขาไปในหองผาตัดจะเห็นวา เพียงแพทยคนเดียวไมสามารถจะดําเนินการผาตัดได ตองอาศัยวิสัญญแีพทย ตองอาศัยเจาหนาที่ตางๆ เครื่องไมเครื่องมือที่เตรียมไวก็เหมือนกับทุกคราว คือจะตองครบ เพียงแตวาจะผาตัดอะไร เครื่องมืออะไรจะอยูกอนหรือหลัง ใครจะทําอะไร สิ่งตางๆ เหลานี้ ไมไดเกิดขึ้นมาเพราะความบังเอญิ แตเกิดขึ้นมาเพราะประสบการณ นําไปสูการเตรียมการ ดังนั้น หากเรามีประสบการณมากเทาใดก็จะสามารถ

คาดการณไดมากขึ้นเทานัน้

ระบบที่พัฒนาขึ้นนี้ตองมีความออนตัวในลักษณะที่มีความสามารถเอาชนะภัยทุกรูปแบบ ที่

คุกคามตอความมัน่คงปลอดภัยของประเทศ ความออนตัว จะเกิดขึ้นไดก็ดวยการวางแผนอยางรอบคอบ การประกอบกําลังไวตั้งแตยามปกติและการฝก/ปฏบิัติตามแผน รวมทัง้การสนับสนุนที่ได

วางไวอยางละเอียดทุกขั้นตอน ฯลฯ

การตอสูเบ็ดเสร็จตามแนวคดิของ

กองทพั

ปจจัยพจิารณาในระบบการตอสูเบ็ดเสร็จ

สภาพภูมิศาสตร สภาพภูมิประชาชน

สภาพพื้นฐานทางธรรมชาติ

สภาพสังคม

ปจจัยที่เกี่ยวของ

จากภายใน ภัยคุกคามจากภายนอก ภัยธรรมชาติ

มนุษยสรางขึน้

ภัยคุกคามจากภายนอก ภัยคุกคามภายใน

ภัยคุกคาม

ภัยคุกคามจากภายนอก• ระยะสั้น (1 ป) วน.มีขีดความสามารถรุกรานรัฐบาลผสม กพป. ในเขต ทภ.1 และ ทภ.2 ดวยกําลัง 10-12 กองพล โดยอาจรุกล้ําชายแดนไทย และ/หรือ ยึดภมูิประเทศสาํคัญไว

• ระยะปานกลาง (1-5 ป) วน.มีขีดความสามารถรุกราน รัฐบาลผสม กพป. ในเขต ทภ.1 และ ทภ.2 ดวยกําลัง 12-14 กองพล โดยอาจรุกล้ําชายแดนไทย และ/หรือ ยึดภูมิประเทศสําคัญไว

• ระยะยาว (5-10 ป) วน.อาจใชกําลังรุกรานไทย เพื่อยึด 17 จว.ภาคอิสาน และรุกรานกรุงเทพ ดวยกําลัง 18-21 กองพล

ยุทธศาสตรทหารในการปองกันประเทศ• ยุทธศาสตรการปองปราม• ยุทธศาสตรการปองกนัรวม• ยุทธศาสตรการปองกนัในเขตหนา• .....ยุทธศาสตรการตอสูเบ็ดเสร็จ....!!!!!

ระบบการตอสูเบ็ดเสร็จระบบการตอสูเพื่อปองปราม ปองกัน หรอื ตอบโต ภัยคุกคามของชาติทุกรูปแบบ โดยสนธิศักยภาพของทรัพยากรทั้งมวล มาใชผสมผสานกันอยางมแีผน ใหสามารถตอสูเพื่อเอาชนะไดอยางตอเนื่อง ไมจํากัดเวลา ในทุกระดับของความขดัแยง

องคประกอบของระบบการตอสูเบ็ดเสร็จ

• ยุทธศาสตรการตอสูเบ็ดเสร็จ• ยุทธศาสตรพัฒนา

ยุทธศาสตรการตอสูเบ็ดเสร็จการจัดระเบียบทรัพยากรของชาติที่มีอยูแลว และไดรับการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร-พัฒนา ใหเปนระบบการตอสูเบ็ดเสร็จของประเทศ เพื่อใหเกิดความมั่นคงของชาติ

อยางแทจริง ทั้งในการปองกันและตอสูกับภัยคุกคาม

ยุทธศาสตรพัฒนาคือขบวนการพัฒนาทั้งปวงที่ตองใชเครื่องมือทาง

เศรษฐกจิ สังคม เขาไปดําเนินการควบคูกับการใชเครื่องมือทางทหาร มุงหมายใหประชาชนไดรับประโยชนโดยตรงในดานเศรษฐกจิ สังคมจิตวิทยา และบังเกิดผลในดานความมั่นคง ควบคูตลอดเวลา เปนวธิีการที่ทําใหประชาชนเกิดความสํานึกอยางแทจริง ที่จะอาสาสมัครเขาผนึกกําลังในการปองกันประเทส ทั้งจากภัยคุกคามภายในและภัยคุกคาม

จากภายนอก

ระบบการตอสูเบ็ดเสร็จ (Total Defense)

ยุทธศาสตรการตอสูเบด็เสร็จยุทธศาสตรพัฒนา

ใชสราง

คน พื้นที่ยุทธศาสตร

พัฒนา จัดระบบทรัพยากร

ระบบ มาตรการควบคุม สูทุกรูปแบบไมมีขดัจํากัด เพื่อความมั่นคงของชาติ

ยุทธศาสตรการตอสูเบ็ดเสรจ็การสนธิศกัยภาพของทรัพยากรทั้งมวลที่ไดรับการพัฒนาตามแผนงานยุทธศาสตรพัฒนา เขาตอสูเอาชนะภัยคกุคามทุกรปูแบบใหได โดยไมจํากัดเวลา เพื่อใหระบบการตอสู-เบ็ดเสร็จของประเทศรักษาความมั่นคงของชาติไดอยางแทจริง

ยุทธศาสตรพัฒนาเพื่อการตอสูเบ็ดเสรจ็

การพัฒนาที่มีผลเกื้อกูลทางยุทธศาสตรตอการรักษาความสงบเรียบรอยภายในประเทศ และการปองกันประเทศ โดยพัฒนาในพื้นที่ยุทธศาสตรพฒันา เพื่อใหเกิดความมั่นคงทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจติวทิยา และการทหาร ซึ่งตองดําเนินการแบบเบ็ดเสร็จเรงดวน ดวยความเด็ดขาดการรวมการและตองการผลในเวลาอันสั้น

กําลังที่ใชในการตอสูเบ็ดเส็จ1. กําลังรบหลัก ทหารประจําการ

กสร., หนวยบัญชาการสงครามพิเศษ 2. กําลังประจําถิ่น

2.1 ทหารประจําการบางสวน2.2 กําลังกึ่งทหาร ทบ.,ทร. จัดตั้ง2.3 กําลังกึ่งทหาร หนวยอี่นตั้ง

3. กําลังประชาชน กนช.,อพป.ทสปช. ปชด.

การจัดพื้นที่ แบง พท. เปน 3 พท.หลัก

1. พท.ระวังปองกัน / พท.อทิธิพลของขาศึก- ภาวะปกติ คือ พท.ขศ.ยึดครอง / นอกแนวชายแดนปจจบุัน- ภาวะสงคราม เปลี่ยนแปลงได + อาจรวมพท.ในประเทศดวย

2. พท.การรบ- พท.ที่คาดวาจะใชปฎิบตัิการรบ- ตั้งแตแนวไมยอมใหขศ.ผาน แนวจํากัดการรุก

3. พท.เขตหลงั- หลังแนวไมยอมใหขศ.ผาน พท.ที่เหลือทั้งหมด

แนวไมยอมให ขศ.ผาน แนวชายแดน แนวจํากัดการรุกเสนเขตหลังของกองพล :

พท. :การรบ :

พท. X :เขตหลัง X พท.อิทธิพลขอขาศึก

/พท.การรบ

ความรับผิดชอบกําลังสวนตางๆ

กําลังรบหลัก รบัผิดชอบภารกิจหลักที่ ทบ.มอบให

กําลังประจําถิ่น , กาํลังประชาชน- รับผดิชอบพ.ท.ในภารกิจตามขดีความสามารถ- ภารกิจทีร่ับผดิชอบตองสอดคลอง/สนับสนุนภารกิจของกําลงัรบหลัก

ภารกิจหลักทีร่วมอยูในระบบการตอสูแบบเบ็ดเสร็จ1. ภารกิจในพื้นที่อิทธิพลของขาศึก

- ทําสนบ.เพื่อลดขีดความสามารถในการรบของขาศึก2. ภารกิจในพื้นที่การรบ

- ทําการรบตามแบบ+การรบแบบกองโจร3. ภารกิจในพื้นที่สวนหลัง

- ระวังปองกันปมคมนาคม- ตําบลสงกําลังบํารุง- แหลงทรพัยากร

ปจจัยแหงความสําเร็จ1.การจัดตั้งและควบคุมบังคับบัญชาทุกสวนอยางแนนแฟน2.การกําหนดแนวทางปฏิบัติที่เปนผลในทุกระดับ3.การเตรียมพื้นที่ทั้งภายในและภายนอกประเทศ4.การฝกกําลังพลในแตละสวนใหมีความเขาใจในบทบาทของตน5.การปลกูฝงอุดมการณซึ่งจะกอใหเกิดขวัญและกําลังใจในกําลังใจในการตอสู6.การเตรียมแหลงสะสม/ซุกซอนยุทโธปกรณเพื่อใชในการตอสูแบบยืดเยือ้7.การประสานการปฏิบัติอยางแนนแฟน8.ปจว.&ปชส.

การปฏิบัตใินยามปกติ

• ปองกันและปราบปรามการกอความไมสงบ• สนับสนุนและรวมมือกบัหนวยงานตางๆของรัฐและเอกชน

• เตรียมการปองกนัสงครามปฏิบัติในรูปแบบอื่นที่อาจเกิดขึ้น

การปฏิบัติในยามปกติของกําลังรบหลัก

• เตรียมการปองกนัประเทศในฐานะเปนสวนหนึ่งของกําลังตอสูเบ็ดเสรจ็

• เตรียมพืน้ที่ในการทํา สนบ.• ซักซอมการปฏิบัติรวมกับกาํลังสวนอื่นๆในการตอสูเบ็ดเสร็จ

การปฏิบัติในยามปกติของกําลังประจําถิ่น

• ทดแทนกําลังหลักในการปองกันและปราบปรามการกอความไมสงบ

• เตรียมการปฏบิัติในพื้นที่ระวังปองกัน บางสวนของพื้นที่การรบ ในพื้นที่สวนหลัง

• สนับสนุนและรวมมือกับหนวยงานตางๆของภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาประเทศ

การปฏิบัติในยามปกติของกําลังประชาชน

• สนับสนุนการปฏิบัติของกําลังรบหลักและกําลังประจําถิ่น เชน การขาว รปภ.พื้นที่

• รวมพัฒนาทองถิ่นใหมีความมั่นคง โดยเฉพาะหมูบานที่จัดตั้งขึ้นแลว เชน หมูบาน ปชด. อพป. และ กนช.เปนตน

การปฏิบัติในสถานการณใกลสงคราม

• เปนการปฏิบัติเพือ่การเตรียมการในการปองกันประเทศ

• มีการฝกขั้นสุดทายเพื่อทดสอบกําลัง แตละสวนตามระบบการตอสูเบ็ดเสร็จ

การปฏบิัติของกําลังรบหลัก ในสถานการณใกลสงคราม

• เตรียมการปฏิบัติการรบตามแบบ เชน การเตรียมพื้นที่ตั้งรบั

• กําลัง รพศ. ปฏิบัตกิารสนับสนุนในพื้นที่ ระวังปองกัน และจัดตั้ง บก.ควบคุม

• ควบคุมทางยุทธการตอกําลังประจําถิน่และกําลังอื่นๆ

การปฏบิัติของกําลังประจําถิ่น ในสถานการณใกลสงคราม

• เตรียมการปฏิบัติการรบในลักษณะสงครามกองโจร

• ใหการสนับสนุนและขึ้นควบคุมทางยุทธการ ตอกาํลังรบหลัก

การปฏบิัติของกําลังประชาชน ในสถานการณใกลสงคราม

• เตรียมการปฏิบัติการในการพิทกัษพื้นที่สวนหลัง• รปภ.ในทองถิ่นรวมกับ จนท.พลเรือน • ในพื้นที่การรบกาํลังประชาชนจะใหการสนับสนุนภารกิจ สนบ.

การปฏิบัติในยามสงครามของกําลังรบหลัก• หนวย รพศ.

–ปฏิบัตกิาร สนบ. ใน พท.สวนหลังของ ขศ.• กําลังตามแบบ

–ตั้งรับตามแผนปองกนัประเทศ–ปฏิบัตกิารเชิงรุกใน พท.รวป. ประสาน กับหนวย รพศ.– เมื่อ ขศ.รุกเขามาใน พท.ตั้งรับ และถูกตดัขาด สลายตัวเปนกองโจรรวมกับกําลงักองโจร

การปฏิบัติในยามสงครามของกําลังประจําถิ่น

• ปฏิบัติการรวมกับกําลังรบหลัก โดยเปน สวนกําบัง , รั้งหนวง

• ปองกนการแทรกซึม• ขึ้นควบคมุทางยุทธการตอ ทบ./ทร. โดย ทภ./ทน.• ปฎิบตัิการใน พท.สวนหลัง โดยอยูในความควบคมุของ มทบ./จทบ.

การปฏิบัติในยามสงครามของกําลังประชาชน

• สนบัสนุนการปฏิบัติของกําลังรบหลัก /กําลังประจําถิ่น โดยการแจงเตือนการเขามาของ ขศ.

• สนบัสนุนการทํา สนบ. เมื่อ ขศ.รุกเขามาได เชน เสบยีงอาหาร,นําทางแทรกซึม

• สนบัสนุนการพิทักษสวนหลัง (หาขาว,รปภ.สถานที่)

ยามปกติพท.รวปพท.การรบพท.สวนหลัง พท.ทางลึก

ขนพร./แนวชายแดน

sp spsp

spL

L

P

P

P

L

ใกลเกิดสงครามพท.รวปพท.การรบพท.สวนหลัง พท.ทางลึก

ขนพร./แนวชายแดน

sp spsp

sp

มทบ/จทบ P

P

L

L

ยามสงคราม

มทบ/จทบ P L

พท.การรบ พท.รวปพท.สวนหลัง พท.ทางลึก

sp spspP

L sp

ขนพร. ไมจําเปนตองเปนแนวชายแดน

หนาที่ของกําลังตอสูเบ็ดเส็จ1.กําลังรบหลกั 1.1 ทบ.-วางแผนการใชกําลังในระบบการตอสูเบ็ดเส็จ-ควบคุมอํานวยการ กําลังรบตามแบบ ผาน ทภ./ทน.ในพท.การรบหลัก ,นสศ.ในพท.รวป.

-ควบคุมอํานวยการพทิักพื้นที่สวนหลังผาน ทภ. มทบ./จทบ.-กํากับดูแลกําลัง ทั้งสามแบบ

1.2 ทภ.-วางแผนการใชกําลังทั้งสามสวน-สนับสนุนการทํา สนบ. ของนสศ.ในพท. ระวังปองกัน-ปองกันประเทศในพท.รับผิดชอบ-อํานวยการพิทักพท.สวนหลังใน พท.รับผิดชอบ ผาน มทบ./จทบ.1.3 นสศ.-วางแผนการปฏิบัติของ หนวย รพศ. และ กําลงัอื่นๆ ในการทํา สนบ. ในพท.ระวังปองกัน และ พท.อิทธิพลของขาศึก

-สนับสนุน ทภ.ในการรบแบบกองโจร ในพท.การรบในประเทศ-จัดตั้ง บก. ควบคุมกองโจร ใน พท.ที่ขาศึกอาจเขายึดครอง

1.4 มทบ./จทบ.-ทําหนาที่เปน บก.ควบคมุการทาํสงครามกองโจรในพื้นที่ตั้งรับหนา-ควบบคมุอํานวยการในการระวังปองกันในพท.สวนหลังตามแผน ทภ.-ประสานการปฏิบัติ กับ กระทรวงมหาดไทย ในเรืองการพทิักษ พ.ท.สวนหลัง และการปองกันภัยฝายพลเรือน

2.กําลังประจําถิ่น2.1 พัน.ร.มทบ./รอย.จทบ.,พัน.สห./รอยสห. มทบ./จทบ.

-เปนหนวยรบหลักในการพิทักษพท.สวนหลัง2.2 ตชด./นปพ.

-รวมรบแบบกองโจรกับกําลังสวนอื่นๆของทบ. และ ที่ทบ.ควบคุม-เปนกําลังในการพิทักษ พท.สวนหลัง โดย มทบ./จทบ.ควบคุม

2.3อสจ./อสอ.-รวมรบแบบกองโจรกับกําลังสวนอื่นๆของทบ. และ ที่ทบ.ควบคุม-เปนกําลังในการพิทักษ พท.สวนหลัง โดย มทบ./จทบ.ควบคุม

3. กําลังประชาชน-สนับสนุนการทําสงครามกองโจรใน พท.ตัง้รับหนา-สนับสนุนการพิทักษ พท. สวนหลัง-รวมมือกับ จนท.ฝายพลเรือน และ ตร.รักษาความสงบ+ปลอดภัย

-เปนแกนกลางในการรวมมือกับประชาชนใน พท.

การจัดการบังคบับญัชายามปกติศปก.ทบ./กอรมน.

มทบ./จทบ.

กอ.ปพร.ภาค

กอ.ปพร.จว.กอ.รมน.จว.

กอ.ปพร.รจ.

ทภ./กอรมน.ภาค

กองพลรบ

กําลังรบหลักขึ้นการบังคับบัญชา

ประสานงาน

การจัดการบังคับบัญชายามสงคราม

กองพลรบ มทบ./จทบ. กป.พร.จว.กอ.รมน.จว.

กอ.ปพร.ภาค

ขึ้นการบังคับบัญชาประสานงาน

กอ.ปพร./รจ.

ตามการรองขอ

ศปก.ทบ./กอรมน.

ทภ./กอรมน.ภาคนศส.

หนวยรบพิเศษ

กําลังรบหลัก

ขึ้นควบคุมทางยุทธการ

การพัฒนาระบบการตอสูเบ็ดเสร็จ

1 แนวความคิด

7 Who What Where How

6 ยกระดับ และปรับหลักนิยม

5 ปฏิบตัิการ4 จัดระบบ (แนวทางเดยีวกัน)3 สรางสรรค2 พื้นฐาน

ทาํใหเปนรูปธรรม เปน ขั้นตอน วางแผน

เมื่อมภีัยคุกคาม ทกุคนรูวาจะตองทาํอะไร

ขั้นการพฒันาชุมชน• ขั้นที่ 1 ใหมีพอกินพอใจ• ขั้นที่ 2 พัฒนาในระดับ Intensive

Farming โดยใช Technology• ขั้นที่ 3 พัฒนาหมูบาน - - - - เกษตร, เกษตรอตุสาหกรรม, อตุสาหกรรม

พื้นที่ยุทธศาสตรพัฒนา• พื้นที่เพือ่ความมั่นคงตามแนวชายแดน• พื้นที่เพือ่ความมั่นคงภายใน

หมูบานยุทธศาตรพัฒนา• ประเภทที่ 1 อยูในพื้นที่เพื่อความมัน่คงตามแนวชายแดน และอยูในแนวทางเคลื่อนที่ที่สําคัญของขาศึกตามสมมตุิฐานของแผนปองกันประเทศ

• ประเภทที่ 2 อยูในพื้นที่เพื่อความมัน่คงตามแนวชายแดน แตอยูนอกแนวทางเคลื่อนที่ทีส่ําคัญของขาศึกตามสมมตุิฐานของแผนปองกันประเทศ

• ประเภทที่ 3 อยูในพื้นที่เพื่อความมัน่คงภายใน

top related