CHAPTER 12 การวิเคราะหจ์ดุพอดีทุน และการวิเคราะห์ต้นทุน...

Post on 20-Apr-2020

1 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

Transcript

LOGO

CHAPTER 12

การวิเคราะหจ์ดุพอดีทนุ และการวิเคราะหต้์นทนุ ปริมาณ ก าไร

Cost and Budget Analysis (IE 255432) ©Copyright

Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 1

การวิเคราะหจ์ดุพอดีทุน

จดุพอดีทุน (Break Even Point Analysis) คือ ปริมาณขายอนัจะท าให้ราคาขายเท่ากบัต้นทนุทัง้หมดท่ีเกิดขึน้จากการผลิตและในการจ าหน่ายสินค้า การขายตามปริมาณขาย ณ จุดพอดีทุนนี้จะไม่ท าให้กิจการได้ก าไรหรือขาดทุน ฉะน้ันการค านวณหาจุดพอดีทุน จึงบอกให้ทราบว่าจะต้องขายในปริมาณเท่าใดจึงจะมกี าไร

Cost and Budget Analysis (IE 255432) ©Copyright

Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 2

การค านวณหาจดุพอดีทุน (Break Even Point)

จ านวนหน่วยขายพอดีทุน =

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

จ านวนเงินขายพอดีทุน =

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 3

ตวัอย่างที ่12.1 บริษทัสยามธรุกิจ จ ากดั มีต้นทนุในการผลิตและจ าหน่ายสินค้า ดงัรายละเอียดต่อไปน้ี

ต้นทุน ต้นทุนผนัแปร ต้นทุนคงท่ี ต้นทุนรวม - วตัถดิุบ - แรงงาน - ค่าใช้จ่ายโรงงาน - ค่าใช้จ่ายในการจดัจ าหน่าย - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

2,000,000 5,000,000 1,000,000 300,000 200,000

8,500,000

- -

4,000,000 500,000 800,000

5,300,000

2,000,000 5,000,000 5,000,000 800,000

1,000,000 13,800,000

ราคาขายต่อหน่วยเป็น 10 บาท จ านวนเงินขายได้ทัง้หมด 18,000,000 บาท

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การค านวณหาจดุพอดีทุน (Break Even Point) (Con.)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 4

การค านวณ

ก. จ านวนเงินขายพอดีทนุ = =

= =

= 10,000,000 บาท

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การค านวณหาจดุพอดีทุน (Break Even Point) (Con.)

000,000,18

000,500,81

000,300,5

53.0

000,300,5

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 5

ข. จ านวนหน่วยขายพอดทุีน =

=

= =

= 1,000,000 หน่วย

การค านวณหาจดุพอดีทุน (Break Even Point) (Con.)

000,800,1

000,500,810

000,300,5

3.5

000,300,5

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

6

ถ้าค่าขาย 10,000,000 บาท

หกัค่าใช้จ่ายผนัแปร 4,700,000 บาท

(47% ของราคาขาย)

ก าไรส่วนเกิน 5,300,000 บาท

หกัค่าใช้จ่ายคงท่ี 5,300,000 บาท

0 บาท

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การค านวณหาจดุพอดีทุน (Break Even Point) (Con.)

พิสจูน์การค านวณ

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 7

การแสดงแผนผงัจดุพอดีกนั (Break Even Chart)

การแสดงปริมาณการขาย ณ จุดพอดีทุนอาจแสดงได้ในรูปของกราฟ โดยสมมติตัวอย่างการค านวณตามตัวอย่าง ท่ี 12 .1 คือค่าใช้จ่ายคงท่ีโดยปกติน้ีเท่ากบั 5,300,000 บาท และค่าใช้จ่ายผนัแปรเป็น 47% ของราคาขาย

Cost and Budget Analysis (IE 255432) ©Copyright

Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 8

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การแสดงแผนผงัจดุพอดีกนั (Break Even Chart) (Con.)

กราฟ Break Even ชนิดท่ี 1

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 9

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

กราฟ Break Even ชนิดท่ี 2

การแสดงแผนผงัจดุพอดีกนั (Break Even Chart) (Con.)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 10

จากกราฟถ้าพิจารณาท่ีระดบัการขาย 5 แสนหน่วย ในราคาเดิมคือหน่วยละ 10 บาท กิจการจะได้รบัก าไรส่วนเกิน 2,650,000 บาท (จาก 5,000,000 – 2,350,000) และขาดทุน 2,650,000 บาท (จาก 2,650,000 – 5,300,000) ซ่ึงตรวจสอบได้กบัการค านวณดงัน้ี

รายได้จากการขาย 5,000,000

หกั ค่าใช้จ่ายผนัแปร 2,350,000

ก าไรส่วนเกิน 2,650,000

หกัค่าใช้จ่ายคงท่ี 5,300,000

ขาดทุน 2,650,000

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การแสดงแผนผงัจดุพอดีกนั (Break Even Chart) (Con.)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 11

การใช้ผงัแสดงจดุพอดีทุน

1. ค่าใช้จ่ายคงท่ี เป็นค่าใช้จ่ายท่ีประมาณว่าจะคงท่ีส าหรบัช่วงหน่ึงของระดบัการด าเนินงาน ผงัแสดงจดุพอดีทนุนัน้จึงเป็นผงัท่ีแสดงเฉพาะช่วงของระดบัการด าเนินงานท่ีก าหนดในการประมาณค่าใช้จ่ายคงท่ี

2. ค่าใช้จ่ายผนัแปรจะเปล่ียนไปโดยลกัษณะแปรผนัตรงกบัปริมาณขาย

3. ราคาขายต่อหน่วยคงท่ี

4. ไมมี่การเปล่ียนแปลงในราคาต้นทนุหรือค่าใช้จ่ายอ่ืน

5. อตัราส่วนปริมาณการขายของสินค้าประเภทต่างๆ (Sales Mix) คงท่ี

6. ไมมี่การเปล่ียนแปลงในวิธีการผลิต สมรรถภาพในการด าเนินงานและสถานการณ์อ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องกบัการผลิตและการขาย

Cost and Budget Analysis (IE 255432) ©Copyright

Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 12

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การใช้ผงัแสดงจดุพอดีทุน (Con.)

กราฟ Break-Even Chart with Detailed Fixed and Variable Cost

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 13

การวิเคราะหจ์ดุพอดีทุนในกรณีรายได้และต้นทุนแปรผนัไม่เป็น เส้นตรงตามปริมาณการผลิต (Non Linear Break Even Analysis)

แผนภมิูจดุพอดีทนุ รายได้และต้นทนุแปรผนัไม่เป็นเส้นตรงตาม

ปริมาณการผลิต

Cost and Budget Analysis (IE 255432) ©Copyright

Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 14

การวิเคราะหจ์ดุพอดีทุนส าหรบัผลิตภณัฑห์ลายชนิด

Cost and Budget Analysis (IE 255432) ©Copyright

Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 15

ตวัอย่างที ่12.2 บริษทั วิศวใจเดียว จ ากดั ท าการผลิตสินค้าพืน้เมืองและของท่ีระลึกรายใหญ่ของหมูบ่า้นหนองหอย ซ่ึงในปี 2548 ทางบริษทัได้ผลิตสินค้าทัง้หมด 6 ประเภทและมีการบนัทึกข้อมลูไว้ดงัน้ี

ประเภทสินค้า ยอดขายรวม ต้นทุนแปรผนั ต้นทุนคงท่ี 1. เส้ือผ้า 2. หมวก 3. เครื่องดนตรี 4. ไม้แกะสลกั 5. เครื่องประดบัสตรี 6. ของท่ีระลึก

4,000,000 2,000,000 3,000,000 1,000,000 5,000,000 2,500,000

2,000,000 1,000,000 3,000,000 500,000 3,500,000 1,500,000

3,500,000

(ก) จงค านวณยอดขายพอดีทนุ (ข) เขียนกราฟแสดงก าไรของแต่ละสินค้าและก าไรรวม

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การวิเคราะหจ์ดุพอดีทุนส าหรบัผลิตภณัฑห์ลายชนิด (Con.)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 16

(ก) จ านวนยอดขายพอดีทุน

ประเภทสินค้า ยอดขายรวม ต้นทุน แปรผนั

%ของต้นทุน แปรผนั

ต่อยอดขาย ก าไรส่วนเกิน

1. เส้ือผา้ 2. หมวก 3. เครื่องดนตรี 4. ไม้แกะสลกั 5. เครื่องประดบัสตรี 6. ของท่ีระลึก

4,000,000 2,000,000 3,000,000 1,000,000 5,000,000 2,500,000

2,000,000 1,000,000 3,000,000 500,000 3,500,000 1,500,000

ค่าใช้จ่ายคงท่ี ก าไรสทุธิ

50% 50% 100% 50% 70% 60%

2,000,000 (50%) 1,000,000 (50%) 0 (0%) 5,000,000 (50%) 1,500,000 (30%) 1,000,000 (40%)

6,000,000 (34.29%) 3,500,000 2,500,000

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การค านวณ

การวิเคราะหจ์ดุพอดีทุนส าหรบัผลิตภณัฑห์ลายชนิด (Con.)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 17

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การวิเคราะหจ์ดุพอดีทุนส าหรบัผลิตภณัฑห์ลายชนิด (Con.)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 18

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การวิเคราะหจ์ดุพอดีทุนส าหรบัผลิตภณัฑห์ลายชนิด (Con.)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 19

(ข) กราฟแสดงก าไรรวมและจดุพอดีทนุของผลิตภณัฑห์ลายชนิด

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การวิเคราะหจ์ดุพอดีทุนส าหรบัผลิตภณัฑห์ลายชนิด (Con.)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 20

การวิเคราะหค์วามสมัพนัธข์องต้นทุน ปริมาณ ก าไร

การวิเคราะหต้์นทุน ปริมาณ ก าไร (Illustration of Cost Volume Profit Analysis) เป็นการก าหนดพื้นฐานส าหรบัการวางแผนตดัสินใจปัญหาท่ีส าคญัๆ เช่น การขยายกิจการ การก าหนดราคา การส่งเสริมผลิตภณัฑเ์ฉพาะอย่างและการว่าจ้างคนงาน การวิเคราะหต้์นทุน ปริมาณ ก าไร น้ีจะช่วยให้ฝ่ายบริหารได้ให้ความสนใจกบัปัญหาท่ีส าคญัๆ และเตรียมหาทางออกไว้ส าหรบัแต่ละกรณีด้วย

Cost and Budget Analysis (IE 255432) ©Copyright

Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 21

การปรบัปรงุก าไร

1. การเพ่ิมราคาขาย : เพ่ิมก าไรโดยการเพ่ิมราคาขาย

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 22

การปรบัปรงุก าไร

2. การลดต้นทุนแปรผนั : เพ่ิมก าไรโดยการลดต้นทุนแปรผนั

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 23

3. การลดต้นทุนคงท่ี : เพ่ิมก าไรโดยการลดต้นทุนคงท่ี

การปรบัปรงุก าไร

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 24

การปรบัปรงุก าไร

4. การเพ่ิมปริมาณการผลิต : เพ่ิมก าไรโดยการเพ่ิมปริมาณการผลิต

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 25

ตวัอย่างที ่12.3 บริษทั บางจาก จ ากดั เป็นบริษทัท่ีด าเนินการจ าหน่ายน ้ามนัรถยนต ์โดยเช่าปัม๊มาด าเนินกิจการ ปัจจบุนัมีอยู่ถึง 200 สาขาทัง้ประเทศ และก าลงัพิจารณาตดัสินใจว่าควรท่ีจะเปิดด าเนินการจ าหน่ายน ้ามนัรถยนต์น้ีในแหล่งอ่ืนๆ อีกหรือไม่ โดยมีข้อมูลเก่ียวกบัรายได้และค่าใช้จ่ายเป็นดงัน้ี

บาทต่อแกลลอน % ต่อยอดขาย ราคาขาย ต้นทุนน ้ามนัรวมค่าขนส่งและภาษีแล้ว ก าไรขัน้ต้น ค่าใช้จ่ายคงท่ีรายเดือนเป็นดงัน้ี ค่าเช่าปัม๊ ค่าไฟฟ้า ค่าแรงงาน เงินเดือน ต้นทุนคงท่ีอ่ืนๆ รวมต้นทุนคงท่ี

0.40 0.34 0.06

800 บาท 200 บาท 2,500 บาท 300 บาท 300 บาท 3,600 บาท

100 85 15

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การปรบัปรงุก าไร

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 26

1. จงค านวณจดุคุ้มทุนรายเดือน เป็นจ านวนแกลลอน และจ านวนเงิน จ านวนขาย ณ จดุพอดีทนุ = ค่าใช้จ่ายคงท่ี ก าไรส่วนเกินต่อหน่วย = 3,600 0.06 = 60,000 แกลลอน และจ านวนเงินขาย ณ จดุพอดีทนุ = 60,000 x 0.40 = 24,000 บาท ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การปรบัปรงุก าไร

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 27

2. วาดกราฟแสดงความสมัพนัธข์องต้นทุน – ปริมาณ – ก าไร ตามข้อ 1

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การปรบัปรงุก าไร

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 28

3. ถ้าค่าเช่าเพ่ิมท าให้ต้นทุนคงท่ีเพ่ิมเป็น 4,400 บาท

จาก จ านวนหน่วยขายพอดีทนุ = ค่าใช้จ่ายคงท่ี

ก าไรส่วนเกินต่อหน่วย

= 4,400

0.06

= 73,334 แกลลอน

และจ านวนเงินขายพอดีทนุ = 73,334 0.4 = 29,334 บาท ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การปรบัปรงุก าไร

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 29

4. สมมติว่า ค่าเช่าไม่มีการเปล่ียนแปลงแต่ ถ้าผูจ้ดัการปัม๊น ้ามนัจ่ายค่านายหน้าเพ่ิมขึน้แกลลอน ละ 2 สตางค ์จดุคุ้มทนุราย

เดือนจะเป็นเท่าใด

จ่ายค่านายหน้าเพ่ิมแกลลอนละ 2 สตางค ์ท าให้

ต้นทนุของน ้ามนั = 0.34 + 0.02 =0.36 บาท/แกลลอน

จาก จ านวนหน่วยขาย ณ จดุพอดีทนุ = ค่าใช้จ่ายคงท่ี

ก าไรส่วนเกิน

=

= 90,000 แกลลอน

และจ านวนเงินขายพอดีทนุ = 90,000 x 0.40 = 36,000 บาท ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การปรบัปรงุก าไร

)36.040.0(

600,3

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 30

5. โดยใช้ข้อมลูเดิม ถ้าบริษทัต้องการก าไรสทุธิอย่างต า่ 600 บาทต่อเดือน จะต้อง ขายน ้ามนัก่ีแกลลอนและเป็นเงินเท่าใด ก าไรสทุธิ = ราคาขาย – ต้นทุน

600 = (0.40 X) - (0.34 X) – 3,600 เมื่อ X = ปริมาณขาย

600+3600 = 0.06 X

จะต้องขายน ้ามนัทัง้ส้ิน 70,000 แกลลอน เป็นเงิน 28,000 บาทต่อเดือน ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การปรบัปรงุก าไร

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 31

6. โดยใช้ข้อมลูเดิม ฝ่ายบริหารก าลงัพิจารณาว่าไม่ควรเปิดบริการตลอด 24 ชัว่โมง

โดยพิจารณาปิดเวลาท าการตัง้แต่ 23.00 น. – 7.00 น. ซ่ึงจะท าให้ลดค่าไฟฟ้าลงได้ 50 บาทต่อเดือน และลดค่าจ้างลงได้เดือนละ 300 บาท แต่จะส่งผลให้ยอดขายลดลง 10,000 แกลลอน/เดือน บริษทัควรเปิดบริการตลอด 24 หรือไม่ ถ้ายอดขายปัจจบุนัท่ีเปิดบริการ 24 ชัว่โมงเท่ากบั

ก. 60,000 แกลลอน ข. 90,000 แกลลอน

ก าไรส่วนเกินลดลง 10,000 แกลลอนเป็นเงิน 600 บาท

ต้นทนุคงท่ีท่ีประหยดัได้ 350 บาท

ทัง้สองกรณี ก าไรสทุธิท่ีคาดไว้ลดลง 250 บาท

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การปรบัปรงุก าไร

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 32

(ก) (ข) เปิด 24 ชม. ปิด เปิด 24 ชม. ปิด

จ านวนแกลลอน ราคาขาย ต้นทุนแปรผนั ก าไรส่วนเกิน ต้นทุนคงท่ี ก าไรสทุธิ

60,000 24,000 20,400 3,600 3,600 0

50,000 20,000 17,000 3,000 3,250 (250)

90,000 36,000 30,600 5,400 3,600 1,800

80,000 32,000 27,200 4,800 3,250 1,550

ยอดเปล่ียนแปลงในก าไรสทุธิ (250) (250)

ไม่ว่ายอดขายปัจจบุนัจะเป็นเท่าไรถ้าปิดช่วง 23.00 – 7.00 น. จะมีผลก าไรสทุธิลดลง 250 บาท ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

การปรบัปรงุก าไร

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 33

แผนภมิูก าไรต่อหน่วย (The Unit Profit Graph)

ตวัอย่างที ่12.4 บริษทั ค้าวฒันาธรุกิจ มียอดรบัจากการขายสินค้า 1,000 หน่วยๆ ละ 100 บาท มีต้นทนุแปรผนัเป็น 30,000 บาท ส่วนต้นทนุคงท่ีคือ 20,000 บาท

จงค านวณหา

1. จดุคุ้มทนุและจ านวนเงิน ณ จดุพอดีทนุ

2. จงแสดงให้เหน็ว่าถ้ามีการเปล่ียนแปลงปริมาณการผลิตจะมีผลกระทบกระเทือนอย่างไร

Cost and Budget Analysis (IE 255432) ©Copyright

Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 34

การค านวณ

จ านวนหน่วยขาย ณ จดุพอดีทนุ = ค่าใช้จ่ายคงท่ี

ก าไรส่วนเกินต่อหน่วย

= 20,000

100 – 30

จ านวนเงินขายพอดีทนุ = 28,600 บาท

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

แผนภมิูก าไรต่อหน่วย (The Unit Profit Graph)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 35

ถ้าปริมาณการผลิตลดลงจะท าให้ค่าใช้จ่ายคงท่ีต่อหน่วยสงูขึน้ ดงัน้ี

ตารางท่ี 12.1 แสดงอิทธิพลของการเปล่ียนแปลงปริมาณการผลิตท่ีมีต่อต้นทุนคงท่ีต่อหน่วย

จ านวนหน่วย 100 500 1,000 1,500 2,000

ต้นทุนผนัแปรต่อหน่วย ต้นทุนคงท่ีต่อหน่วย รวมต้นทุนต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย ก าไร (ขาดทุน) ต่อหน่วย

30 200 230 100 (130)

30 40 70 100 30

30 20 50 100 50

30 13 43 100 57

30 10 40 100 60

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

แผนภมิูก าไรต่อหน่วย (The Unit Profit Graph)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 36

แสดงกราฟก าไรต่อหน่วยแสดงต่อผลของต้นทนุคงท่ีต่อหน่วย Cost and Budget Analysis (IE 255432)

แผนภมิูก าไรต่อหน่วย (The Unit Profit Graph)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 37

สตูรต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost Formulas)

ต้นทนุต่อหน่วย =

เมื่อ a = ต้นทนุคงท่ี

b1 = ต้นทนุเปล่ียนแปลง ณ ระดบัก าลงัผลิตปกติ

b2 = จ านวนหน่วยผลิต ณ ระดบัก าลงัผลิตปกติ

x = ระดบัก าลงัการผลิต (เป็น % ของระดบัก าลงัผลิตปกติ)

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

x2

1

b

xb a

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 38

ตวัอย่างที ่12.5 โรงงานผลิตเส้ือผา้ส าเรจ็รปูแห่งหน่ึงมีค่าใช้จ่ายคงท่ี 15,000 บาท ค่าใช้จ่ายเปล่ียนแปลง 30,000 บาท ณ ก าลงัการผลิต 100% ปริมาณการผลิต 500 หน่วย ราคาขายหน่วยละ 110 บาท จงหา ก. ก าลงัการผลิต ณ จดุพอดีทนุ ข. ต้นทนุหน่วยละ ณ ระดบัก าลงัการผลิตของจดุพอดีทนุ ค. ต้นทนุหน่วยท่ีระดบัก าลงัการผลิต 90%

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

สตูรต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost Formulas)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 39

(ก) ก าลงัการผลิต ณ จดุพอดีทนุ

จ านวนหน่วย ณ จดุพอดีทนุ = ค่าใช้จ่ายคงท่ี

ก าไรส่วนเกินต่อหน่วย

= 15,000

110 – 60

= 300 หน่วย

(ต้นทนุเปล่ียนแปลงต่อหน่วย ค านวณจาก 30,000/ 500 = 60 บาทต่อหน่วย)

ก าลงัผลิต ณ จดุพอดีทนุ = = 60% ของก าลงัการผลิตปกติ ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

สตูรต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost Formulas)

500

300

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 40

(ข) ต้นทุนหน่วยละ ณ อตัราการผลติของจุดพอดทุีน

จาก Unit Cost =

=

= 110 บาท ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

สตูรต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost Formulas)

x2

1

b

xb a

%)60(500

%)60(000,30000,15

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 41

(ค) ต้นทนุต่อหน่วย ท่ีระดบัก าลงัการผลิต 90%

จาก Unit Cost =

=

= 93 บาท ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

สตูรต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost Formulas)

x2

1

b

xb a

%)90(500

%)90(000,30000,15

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 42

อตัราส่วนก าไรต่อหน่วย (Profit Volume Ratio)

P/V Ratio =

และ P = (S x PV) – F

S = ยอดขาย

PV = อตัราส่วนก าไรต่อหน่วยท่ีเพ่ิมขึน้ (%)

F = ค่าใช้จ่ายคงท่ี

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

IncreaseSales

IncreaseofitPr

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 43

ตวัอย่างที ่12.6 บริษทั ป้ากะปู่ ธรุกิจ จ ากดั มีข้อมลูการผลิตสินค้าเมื่อเดือนเมษายน และเดือนพฤษภาคมท่ีผา่นมา ดงัน้ี

ยอดขาย ตน้ทุน ก าไร เมษายน พฤษภาคม ผลต่างสทุธ ิ

60,000 50,000 -10,000

40,000 35,000 -5,000

20,000 15,000 -5,000

ก. จงค านวณหาก าไรของบริษทั ในเดือนมิถนุายนถ้าพยากรณ์ยอดขายเป็น 70,000 บาท ข. ค านวณหาต้นทนุคงท่ีของบริษทัน้ี

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

อตัราส่วนก าไรต่อหน่วย (Profit Volume Ratio)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 44

(ก) จาก PV Ratio = Profit Increase

Sales Increase

= - 5,000 = 50%

-10,000

ในเดือนมิถนุายน

50% = Profit Increase 70,000 – 50,000

Profit Increase = 10,000 บาท

ในเดือนพฤษภาคมมีก าไร = 15,000 บาท

ในเดือนมิถนุายน = 15,000 + 10,000

= 25,000 บาท ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

อตัราส่วนก าไรต่อหน่วย (Profit Volume Ratio)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 45

(ข) การลดลงของยอดขายในเดือนพฤษภาคม 10,000 บาท เป็นผลให้ต้นทนุลดลง 5,000 บาท และก าไรลดลง 5,000 บาท เช่นกนั นัน่ความหมายว่า ใน 1 บาทท่ีลดลง เป็นต้นทนุแปรผนั 0.5 บาท และอีก 0.5 บาทเป็นก าไรและต้นทนุคงท่ี ซ่ึงสามารถหาต้นทนุคงท่ีได้ดงัน้ี

เดือนเมษายน ต้นทนุรวม 40,000

ต้นทนุแปรผนั 60,000 x 0.5 30,000

ต้นทนุคงท่ี 10,000

เดือนพฤษภาคม ต้นทนุรวม 35,000

ต้นทนุแปรผนั 50,000 x 0.5 25,000

ต้นทนุคงท่ี 10,000

ต้นทนุคงท่ีของบริษทัคือ 10,000 บาท / เดือน ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

อตัราส่วนก าไรต่อหน่วย (Profit Volume Ratio)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 46

ตวัอย่างที ่2.7 บริษทั หมีน้อย จ ากดั ประกอบธรุกิจผลิตและประกอบอปุกรณ์อิเลคทรอนิคสซ่ึ์งมีข้อมลูดงัน้ี

- ยอดขายในเดือนมกราคม 2548 7,000,000 บาท

- ค่าใช้จ่ายคงท่ีรายเดือน 2,000,000 บาท

- ยอดขายในเดือนกมุภาพนัธ ์2548 8,000,000 บาท (ก าไร 1,000,000 บาท)

ถ้าบริษทัมี PV Ratio เมื่อเทียบกบัปี 2547 เป็น 40%

(ก) ค านวณหาก าไรของบริษทั ในเดือนมกราคม 2548

P = (S x PV) – F

P = (7,000,000 40%) – 2,000,000

P = 800,000 บาท ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

อตัราส่วนก าไรต่อหน่วย (Profit Volume Ratio)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 47

(ข) จงหา PV Ratio ของบริษทัโดยใช้ข้อมลูล่าสดุท่ีมีอยู่

ในเดือนกมุภาพนัธ ์P = (S x PV) – F

1,000,000 = (8,000,000 x PV) – 2,000,000

PV Ratio = 37.5 % ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

อตัราส่วนก าไรต่อหน่วย (Profit Volume Ratio)

(ค) ถ้ามี PV Ratio เป็น 50% และในเดือนมีนาคมบริษทัขาดทนุ 300,000 บาท จ านวนเงินขายจะเป็นเท่าใด

P = (S x PV) – F

- 300,000 = (S x 50 %) – 2,000,000

S = 3,400,000 ตอบ

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 48

ตรวจค าตอบ

ยอดขาย 3,400,000 บาท

หกั ต้นทนุแปรผนั 50% 1,700,000

ต้นทนุคงท่ี 2,000,000 3,700,000 บาท

ขาดทุน 300,000 บาท

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

อตัราส่วนก าไรต่อหน่วย (Profit Volume Ratio)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 49

ระดบัปลอดภยั (Margin of Safety) ระดบัปลอดภยั หรือ MS น้ีคือ ผลต่างระหว่างยอดขายกบัจ านวนขายพอดีทุน

เพราะเป็นส่วนของปริมาณขายท่ีจะลดต า่ลงไปได้จนกระทัง่ต า่กว่าจดุพอดีทุน กิจการจึงเร่ิมขาดทนุ ระดบัปลอดภยัน้ีจะค านวณเป็นอตัราส่วนของค่าขาย ดงัน้ี

อตัราส่วนระดบัปลอดภยั = ยอดขาย – ยอดขายพอดีทนุ

(Margin of Safety Ratio , M/S) ยอดขาย

Cost and Budget Analysis (IE 255432) ©Copyright

Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 50

ตวัอย่างที ่12.8 ถ้าสมมติว่ารายได้จากการขายเป็น 20,000,000 บาท จะได้ว่า

M/S = 20,000,000 – 10,000,000

20,000,000

= 50%

นัน่คือ ยอดขายสามารถลดลงได้อีก 50% โดยไม่ท าให้บริษทัประสบภาวะขาดทนุ ระดบัปลอดภยัน้ี จะสมัพนัธก์บัก าไรสทุธินัน่คือ

อตัราก าไรสทุธิของกิจการ = อตัราส่วนก าไรส่วนเกิน x อตัราส่วนระดบัปลอดภยั

จาก ตวัอย่างท่ี 12.8 จะได้ว่า

อตัราก าไรสทุธิของกิจการ = 53% x 50%

= 26.5 %

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

ระดบัปลอดภยั (Margin of Safety)

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 51

ในกรณีน้ีทราบอตัราก าไรสทุธิของกิจการ และทราบอตัราก าไรส่วนเกินกจ็ะสามารถค านวณอตัราส่วนระดบัปลอดภยัได้เช่นกนั

อตัราส่วนระดบัปลอดภยั = อตัราก าไรสทุธิ

อตัราก าไรส่วนเกิน

อตัราก าไรสทุธิของกิจการ =

= 50 %

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

ระดบัปลอดภยั (Margin of Safety)

53.0

265.0

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 52

บทสรปุ

การวิเคราะหจ์ดุพอดีทนุเป็นการวิเคราะหเ์ปรียบเทียบต้นทนุและราคาขาย เพ่ือหาว่าจะต้องขายในปริมาณเท่าใดจึงจะคุ้มกบัต้นทุนท่ีเกิดขึ้น ซ่ึงเทคนิคท่ีใช้ในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนน้ีจะมี 3 วิธี คือ ใช้สมการ ใช้ก าไรส่วนเกินต่อหน่วย และใช้กราฟ ทัง้น้ีขึน้อยู่กบัความสามารถและความเหมาะสมในการใช้

การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ ก าไร เป็นการศึกษาความสมัพนัธ์ระหว่างการขาย ต้นทนุและก าไร ซ่ึงเป็นการก าหนดพืน้ฐานส าหรบัการวางแผนตดัสินใจในปัญหาส าคญัๆ เช่น การขยายกิจการ การก าหนดราคา การส่งเสริมผลิตภณัฑ์เฉพาะอย่าง และการว่าจ้างแรงงาน เพ่ือเตรียมหาทางออกท่ีดีท่ีสุดไว้ส าหรบัแต่ละกรณี อย่างไรก็ตามการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนและความสมัพนัธ์ของ ต้นทุน ปริมาณ ก าไรนัน้ จะต้องกระท ารายได้สมมติฐานท่ีตัง้ไว้ เพราะว่าความสมัพนัธ์ดงักล่าวจะถกูต้องเฉพาะในช่วงท่ีมีความหมายตามท่ีก าหนดเท่านัน้

Cost and Budget Analysis (IE 255432) ©Copyright

Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 53

LOGO

THE END

Cost and Budget Analysis (IE 255432) ©Copyright

Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014 54

top related