การวิจัยเชิงคุณภาพ Qualitative Researchstatistic.cad.go.th/download/quality_stat.pdf · 2007-12-11 · หรือควบคุมสภาพแวดล

Post on 24-Feb-2020

0 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

Transcript

การวจิัยเชิงคุณภาพการวจิัยเชิงคุณภาพQualitative ResearchQualitative ResearchMK421: Marketing ResearchMK421: Marketing Research

Department of MarketingDepartment of MarketingBangkok UniversityBangkok University

MK421MK421 22

Qualitative methodQualitative methodการปฏิบัติกระทํากับขอมูล ที่แจงนับไมได (หรือไมเปนตัวเลข) นั่นคอื ไมไดใชวิธีวิเคราะหทางสถิติมาวิเคราะหทั้งหมดเนนการสรางแนวคิด การตีความเพื่อใหเกิดความเขาใจในมนุษยและสังคมใชการสังเกต สัมภาษณ สนทนาและจดบันทึก

MK421MK421 33

Qualitative methodQualitative methodใหความสําคัญกับขอมูลประเภทอัตชีวประวัติ โลกทัศนและความรูสึกนึกคิดของปจเจกบุคคลเปนหลักไมจําเปนตองใชสถิติชั้นสูงในการวิเคราะห แตใชการอุปมาน (induction approach)

MK421MK421 44

ยุทธวธิีในการวิจยัยุทธวธิีในการวิจยัเปนการทําวิจัยในสภาพธรรมชาต:ิ ไมมีการจัดหรือควบคุมสภาพแวดลอมผูวิจยัจะสรุปปญหาดวยตรรกะแบบอุปนยั (Induction)มองภาพรวมรอบๆ ดาน (Holistic Perspective)เนนขอมูลเชงิคุณภาพเนนกระบวนการพลวตั (Dynamic)

MK421MK421 55

ยุทธวธิีในการวิจยัยุทธวธิีในการวิจยัเนนเกี่ยวกับบริบท (Contextual)วิธีการวจิัยมีความยืดหยุนสงูเนนความรูสกึรวม ความเขาใจ (Empathy and insight)คุณภาพของผูวิจัย: ตองเปนกลาง

MK421MK421 66

วัตถุประสงคของการวจิัยเชงิคุณภาพ

เนนความเขาใจ ความหมาย ไมใชความถกูตอง โดยไมตั้งอยูบนพื้นฐานของการทดสอบสมมติฐาน และนัยสาํคัญทางสถติิ

MK421MK421 77

ความแตกตางในการเก็บขอมูลความแตกตางในการเก็บขอมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ– เนนการวิจัยภาคสนาม– จํานวนหนวยการศึกษานอย– ไมมโีครงสรางคําถามตายตัว

MK421MK421 88

ความแตกตางในลักษณะของขอมูล

ตองการหาขอมูลประเภท “ทําไม” และ “อยางไร” มากกวาแคใครทําอะไรเทานัน้ใหความสาํคัญกบัความหมายในทศันะของผูตอบ ไมใชผูศึกษา

MK421MK421 99

ความแตกตางในการวเิคราะหขอมูล

ไมจําเปนตองใชสถิติขั้นสูงเนนการอธิบายระบบโดยรวม

MK421MK421 1010

ขอเดน ขอดี และขอจํากัดของการวิจัยเชิงคุณภาพขอเดน– มีความตองการขอมูลทีร่อบดาน– มีวตัถุประสงคที่จะอธิบายปรากฏการณอยางลึกซึ้ง– ตองการเขาใจระบบความคิด ระบบความเชื่อของผูตอบโดยตรง– แสดงความสัมพันธระหวางสมาชิกของกลุม– คนหาสาเหตุและความสัมพันธระหวางองคประกอบตางๆ– เก็บขอมูลจากบุคคลที่ไดเลือกสรรมาอยางดแีลว

MK421MK421 1111

ขอดี และขอจํากัดของการวิจัยเชิงคุณภาพขอดี– ทําใหเขาใจปรากฏการณตางๆ อยางลึกซึ้ง– ชวยเสริมสรางการศึกษากระบวนการอยางลึกซึ้งรอบดาน– เปนการศึกษาเพื่อหาขอสมมติฐานเพื่อนําไปสูเชิงปริมาณ– เปนประโยชนเมื่อทําวจิัยในกลุมคนขนาดเล็ก หรือมีขอจํากัดบางประการ

MK421MK421 1212

ขอดี และขอจํากัดของการวิจัยเชิงคุณภาพขอดี– เปนงานวิจัยที่เอื้อตอการวิจัยในลักษณะที่เปนนามธรรม– ชวยเสริมงานวิจัยเชิงปริมาณ ใหคําตอบที่ชัดเจนและหนักแนนยิ่งขึ้น

– สงเสริมใหเกิดการมีสวนรวมของประชาชน

MK421MK421 1313

ขอดี และขอจํากัดของการวิจัยเชิงคุณภาพขอจํากัด– เปนงานที่เกี่ยวกับสถานการณเฉพาะ – ความแมนตรงเชื่อถือไดของเทคนิคการเก็บรวบรวมยากจะทดสอบ

– ตองมีปฏิสัมพันธระหวางนักวิจัยและประชากรทีศ่กึษา– ไมมีโครงสรางการเก็บขอมูลที่แนนอน จึงยากตอการนําไปใชซ้ํา

MK421MK421 1414

วิธกีารเกบ็รวบรวมขอมูลเชิงคณุภาพการสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง(Unstructured Interview) หรอืการสัมภาษณเชงิลึก (In-depth interview)การสนทนากลุม (Focus Group interview)การสังเกตโดยตรง (Direct Observation)การวิเคราะหเนื้อหาของเอกสาร (Content Analysis of Written Material)

MK421MK421 1515

เทคนิคการสัมภาษณสวนบุคคลเชิงลึกอยูในบรรยากาศเปนสวนตัวเปนการสื่อความหมายแบบโตตอบกันทั้ง 2 ฝายตองใชเทปบันทึกเสียงไมมคีําถามตายตัวถามกี่คน?: หยุดเมื่อคาํตอบเริ่มเหมือนกันมากขึ้น และสรุปผลไดในที่สุด

MK421MK421 1616

ความเชือ่ถอืและไววางใจในคุณภาพ สําหรับการวิจัยเชิงคณุภาพ

ความเชือ่ถือไดความเชือ่ถือได (Credibility):(Credibility): ความสอดคลองของความสอดคลองของขอมลูขอมลู และการตีความของผูวิจัยและการตีความของผูวิจัย เกี่ยวกับความจริงเกี่ยวกับความจริงกับความคิดของผูใหขอมูลวาสอดคลองกันหรือไมกับความคิดของผูใหขอมูลวาสอดคลองกันหรือไมการพึ่งพากับเกณฑอื่นการพึ่งพากับเกณฑอื่น (Dependability):(Dependability): ใชใชนักวิจัยหลายคนรวมสังเกตนักวิจัยหลายคนรวมสังเกต

MK421MK421 1717

ความเชือ่ถอืและไววางใจในคุณภาพ สําหรับการวิจัยเชิงคณุภาพ

การถายโอนผลการวิจัยการถายโอนผลการวิจัย (Transferability):(Transferability): สามารถสามารถใชผลงานนี้ไปอางอิงกับงานอื่นที่คลายคลึงกันไดใชผลงานนี้ไปอางอิงกับงานอื่นที่คลายคลึงกันไดการยืนยันผลการวิจัยการยืนยันผลการวิจัย (Confirm ability):(Confirm ability): เปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นที่คลายกันเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นที่คลายกัน ทําใหมองเห็นทําใหมองเห็นปญหาไดชัดเจนขึ้นปญหาไดชัดเจนขึ้น

MK421MK421 1818

องคประกอบและขั้นตอนในการวางแผนองคประกอบและขั้นตอนในการวางแผนการวิจัยเชิงคุณภาพการวิจัยเชิงคุณภาพ

• ปญหาชั่วคราว• เลือกพืน้ที่• เวลาศึกษา• ตัวแปรตางๆ ที่ศึกษา

• ปญหาชั่วคราว• เลือกพืน้ที่• เวลาศึกษา• ตัวแปรตางๆ ที่ศึกษา

• สมมติฐานชั่วคราว• ไดปญหาวิจัย

• สมมติฐานชั่วคราว• ไดปญหาวิจัย

• สัมภาษณ• สังเกตแบบมีสวนรวม• ขอมูลเอกสาร• ปรับวิธีการเก็บ• ปรับสมมติฐาน

• สัมภาษณ• สังเกตแบบมีสวนรวม• ขอมูลเอกสาร• ปรับวิธีการเก็บ• ปรับสมมติฐาน

• ลดทอนขนาดขอมูล• จัดทําใหเปนระบบ• การแสดงหลักฐาน• ตรวจสอบขอมูล / ทฤษฎี• การสรุป

• ลดทอนขนาดขอมูล• จัดทําใหเปนระบบ• การแสดงหลักฐาน• ตรวจสอบขอมูล / ทฤษฎี• การสรุป

• รูปแบบ• วิธีเขียนแสดงหลกัฐาน• การพิมพ• การตรวจสอบ• ฯลฯ

• รูปแบบ• วิธีเขียนแสดงหลกัฐาน• การพิมพ• การตรวจสอบ• ฯลฯ

การวางแผน สมมตฐิานในการทํางาน การเกบ็ขอมูล

การเขียน การวิเคราะหแปลผล

MK421MK421 1919

ระเบียบวิธีวจิัยเชงิคุณภาพกําหนดประเด็นปญหาหรอืหัวขอการวจิัยกําหนดวัตถุประสงคการวิจัย– วัตถุประสงคเฉพาะหนา– วัตถุประสงคทายสุดสรางกรอบความคิดสรางแนวคําถาม (ตอ)การวางแผนเพื่อวิเคราะหขอมูลวิเคราะหขอมูลและการเขยีนรายงานวิจัย

MK421MK421 2020

แนวคาํถามในการสมัภาษณมีเคาโครง (Outline)มีความยืดหยุน (Flexibility)การเรียงลําดับคําถามเนื้อหาของคาํถามในการศึกษาเรื่องเดียวกันไมจําเปนตองเหมือนกันความยาวของแนวคําถาม

MK421MK421 2121

การวิเคราะหขอมูล

วิเคราะหระหวางเก็บรวบรวมขอมูลวิเคราะหขอมลูหลังเก็บรวบรวมขอมูลครบถวนแลว

MK421MK421 2222

การเขียนรายงานวิจัยเชิงคุณภาพเขียนเปนภาษาพูดมากกวาภาษาทางการตองระวังการบรรยายเพราะมีผลตอการตีความเปนการเขียนแบบเลาเรื่อง (Narrative)

MK421MK421 2323

จรรยาบรรณนักวิจัยรับผิดชอบตอผูใหขอมลู– รกัษาความลับผูใหขอมูล– ใหเกียรตแิละปกปองสวสัดิภาพ– ตองไดรับความยินยอม– ใหคาตอบแทนผูใหขอมูลรับผิดชอบตอองคกรรับผิดชอบตอผลงานวิจัย

top related