วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบuto.moph.go.th/strategy/other/web/content/content4.15.pdf · ประกอบด วย...

Post on 29-Aug-2019

5 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

Transcript

วาระที่ 4 เร่ืองเพื่อทราบ 4.15 อุบัติภัยรถไฟตกราง

โดย สถาบันการแพทยฉกุเฉินแหงชาติ (เสนอเปนเอกสาร)

1  

เรื่องสรุปเหตุการณรถไฟตกรางที่สถานีเขาเตา อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรขีันธ โดย สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ (เสนอเปนเอกสาร)

บทสรุปผูบรหิาร

เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลาประมาณ 04.45 น. เกิดเหตุรถไฟขบวนที่ 84 เปนรถเร็วกันตัง-กรุงเทพ ตกราง ที่สถานีเขาเตา อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ ขบวนรถดังกลาวมี 17 โบกี้ ฝาไฟแดงมาตั้งแตสถานีกอน กอนถึงสถานีเขาเตาที่สถานีไดใหสัญญาณไฟแดงใหหยุดรถเพื่อรอใหขบวนรถสินคาซึ่งกําลังจอดรอเขาสถานีในทิศตรงกันขาม ซึ่งเจาหนาที่สถานีเขาเตาไดสับรางไวเพื่อใหขบวนรถสินคาเขาไปในรางหลีก แตรถไฟที่ฝาไฟแดงมาดวยความเร็วสูงถึง 105 กิโลเมตรตอชั่วโมงไดผานเขาไปในรางที่สับหลีกไวแทน ซึ่งรางหลีกนั้นจะรองรับรถไฟที่ความเร็วไดไมเกิน 60 กม.ตอชั่วโมง จึงหลุดจากรางเปนเหตุใหรถไฟตกราง 9 โบกี้ ซึ่งการเกิดอุบัติเหตุครั้งนี้มีพบวามีผูไดรับบาดเจ็บ 88 ราย เสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุ 7 ราย

จากการสืบสวนเหตุการณโดยสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ พบวาในขณะเกิดเหตุไดมีการแจงเหตุจากผูโดยสารบนรถไฟไปยังหมายเลขโทรศัพท 1669 ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการจังหวัดประจวบคีรีขันธ จึงไดประสานสั่งชุดปฏิบัติการตางๆออกปฏิบัติหนาที่อยางทันทวงที ขณะที่ชาวบานผูประสบเหตุไดโทรศัพทไปยังมูลนิธิสงเคราะหหัวหิน ซึ่งไปถึงจุดเกิดเหตุเปนชุดแรก จากนั้นตามดวยหนวยกูภัย /กูชีพตางๆภายในจังหวัด ประกอบดวย มูลนิธิสงเคราะหหัวหิน, มูลนิธิสวางแผไพศาลปราณบุรี, มูลนิธิสวางรุงเรือง, มูลนิธิสวางประจวบฯ, มูลนิธิเมธีสามรอยยอด, มูลนิธิรวมกตัญู, มูลนิธิปอเตกตึ้ง, หนวยสิรินทร(ของตํารวจ) หนวยกูชีพจากรพ.ประจวบฯ,ราม,รพ.หัวหิน, รพ.สามรอยยอด, รพ.ปราณบุรี,รพ.กุยบุรี, รพ.ทับสะเก, สถานีกาชาด และหนวยเฉพาะกิจหัวหิน (มีชุดปฏิบัติการแพทย/พยาบาล /อาสากูชีพ/กูภัย /รถAmbulance ประมาณ 24 คัน และรถมูลนิธิ ประมาณ 27 คัน) มูลนิธิสงเคราะหสวางหัวหิน โดยคุณวิสุทธิ์ หัวหนาหนวยกูภัย สมาชกิสภาเมอืงหวัหิน ใหขอมูลวา เมื่อเวลาประมาณ 04. 45 น. ไดรับการแจงเหตุการณทางโทรศัพทจากประชาชน และไปถึงที่เกิดเหตุเปนหนวยแรก ตามดวยหนวยกูชีพรพ.หัวหิน และหนวยกูชีพรพ.ปราณบุรี ณ จุดเกิดเหตุ พบวาสภาพตูโบกี้รถไฟตูตกรางพลิกตะแคงอยู การปฏิบัติการชวยเหลือผูบาดเจ็บมีการประสานการทํางานรวมกับหนวยกูชีพรพ.ตางๆ โดยรพ.หัวหินไดตั้งหนวยเฉพาะกิจ โดยใชรถAmbulance และพยาบาลทําหนาที่คัดแยกผูบาดเจ็บ กอนนําสงโรงพยาบาลที่เหมาะสม มูลนิธิสวางแผไพศาลปานบุรี โดยคุณเชาวลิต รัตนสุทธิกุล และทีมงาน ใหขอมูลวา เปนหนวยกูภัยที่มีความพรอมดานคน อุปกณ เชน มีชุดปฏิบัติการรถ ,ชุดปฏิบัติการทางน้ํา(เรือ)/ชุดประดาน้ํา ,รถดับเพลิง ,ฝายดูแลหองเย็น,ชุดเครื่องตัดถาง เปนตน เมื่อเวลาประมาณ 04.45 น. ของวันที่ 5 ตุลาคม 2552 ไดรับการแจงเหตุจากศูนยรับแจงเหตุและสั่งการจังหวัดประจวบคีรีขันธ ทางวิทยุสื่อสาร วามีเหตุรถไฟตกราง ที่สถานีรถไฟเขาเตา จึงไดออกปฏิบัติการพรอมรถ/อาสามูลนิธิ ถึงจุดเกิดเหตุ เวลาประมาณ 05.15 น. สภาพ

2  

อากาศมีฝนตก ไดนํารถไปจอดที่บริเวณพื้นที่โลง ไมมีปญหาที่จอดรถ ณ จุดเกิดเหตุพบวาสภาพตูโบกี้รถไฟตกรางพลิกตะแคงอยู ผูบาดเจ็บหนักสวนใหญอยูที่โบกี้ที่ 3,4 โดยนับหัวรถจักรเปนลําดับที่ 1 เบื้องตนผูสั่งการ ณ จุดเกิดเหตุ คือคุณเชาวลิต รัตนสุทธิกุล ตําแหนงรองเลขาธิการมูลนิธิสวางแพรไพศาลปานบุรี การเขาชวยเหลือผูบาดเจ็บภายในโบกี้รถ ตองทุบกระจกหนาตางรถไฟ ทั้งโบกี้ที่ 3 (ปรับอากาศนอน)และ 4 (ปรับอากาศนั่ง) โบกี้ 3 พบวามีบาดเจ็บ 3 ราย ตาย 2 ราย (เด็ก 1 ราย ผูใหญ 1 ราย) แตพ้ืนที่ในการชวยเหลือแคบมาก ยืนไดประมาณ 3-4 คน ซึ่งจากแรงกระแทรกทําใหเตียงนอนเบียดอัดกัน ทําใหการชวยเหลือผูบาดเจ็บตองใชอุปกรณเครื่องตัดถาง/โซ เบื้องตนมีการประเมินอาการผูบาดเจ็บ มีSupport หลัง, การให IV Fluid รายสุดทายใชเฝอกลมBlocksหลังแลวผูกตัวติดกับเปลกระดาษดึงขึ้นมา จากนั้นลําเลียงผูบาดเจ็บดังกลาวสงโรงพยาบาล โบกี้ 4 ตาย 3 บาดเจ็บสาหัส 4 ทั้งนี้การปฏิบัติการชวยเหลือทั้งโบกี้ 3,4 จะทําไปพรอมๆกัน มีการนําสงผูปวยฉุกเฉินไปยังสถานพยาบาลดังนี้คือ โรงพยาบาลหัวหิน โรงพยาบาลซานเปาโล โรงพยาบาลคายธนะรัตน โรงพยาบาลปราณบุรี

การสัมภาษณผูบาดเจ็บที่นอนรักษาตัว ณ โรงพยาบาลหัวหิน จํานวน 3 ราย รายแรก นางสาวปทิตา อาริยกิตติคุณ มีอาการบาดเจ็บปวดหลังมากเกิดจากการกระแทรก เปนผูโดยสารอยูตูชั้นปรับอากาศนั่ง No 54(โบกี้ 4) ใหขอมูลวา เวลาประมาณ 04.10 น. เดินออกจากหองน้ํากลับมาที่นั่ง ไมถึง 5 นาที่ ไดยินเสียงกึกๆ 3 ครั้ง ครั้งแรกรถไฟตกราง เสียงกึก 3,4 ตูรถไฟเอียงคว่ําลง ตนเองก็ตกลงจากเกาที่นั่ง ไปติดอยูซอกเกาอี้ดานหนา และมองเห็นวามีผูโดยสารคนอื่นๆที่นั่งอยูดานหลังของตูลอยขามศีรษะไป บางคนก็กระเด็นออกนอกตูรถไฟทางชองหนาตางรถที่แตก ระหวางนั้นไดยินเสียงคนโทรศัพทแจงเหตุขอความชวยเหลือที่หมายเลขโทรศัพท 1669 และ 191 ทั้งนี้รอการชวยเหลืออยูประมาณ 1 ชั่วโมง ก็มีอาสาของมูลนิธิทุบกระจกหนาตางรถไฟเขามาใหการชวยเหลือออกมาได โดยของการชวยเหลืออาสาของมูลนิธิ ไดมีการประเมินอาการบาดเจ็บเบื้องตน โดยรองถามวา “คนไหนที่เดินไดใหเดินออกมากอน” (เขาทางประตูรกไฟไมได เนื่องจากเสียหายมาก) รายที่ 2 นางปานทิพย นวนหนู อายุ 57 ป มีอาการบาดเจ็บแขนซายหัก เปนผูโดยสารที่อยูตูปรับอากาศนอนเตียงลาง (โบกี้ 3) ใหขอมูลวา เวลาประมาณ 04.20 น. เดินกลับจากหองน้ํามาที่เตียงนอนไดประมาณ 2 นาที ไดยินเสียงกระแทก ตูรถไฟเอียง และไถลไปกับพื้น เตียงนอนบนฝงตรงกันขามก็ตกลงมากระแทรกตนเอง จากนั้นไฟก็ดับลง รอการชวยเหลืออยูประมาณ ½ ชั่วโมง ก็มีอาสากูชีพชวยเหลือนําตนออกมาทางหนาตางรถไฟ รายที่ 3 นายสันติ แทวิรุฬห อายุ 21 ป บาดเจ็บเล็กนอยชวยเหลือตนเองได มีแผลที่นิ้วมือ เปนผูโดยสารที่อยูตูปรับอากาศนอนเตียงลาง N0. 28 (โบกี้ 3) ใหขอมูลวา เวลาประมาณ 04.00 น.ตื่นมาเขาหองน้ํา หองน้ําไมวาง เลยกลับมานั่งรอ จากนั้นไดยินเสียงกระแทกดานหนารถไฟ แรงมาก ทําใหตนเองกระเด็นไปชนเบาะขางหนา ไฟดับในตูดับลง ไดพยายามชวยตนเอง โดยใชผาหมพันมือเพื่อทุบกระจกหนาตางรถไฟ แลวมุดตัวออกมายืนบนโบกี้รถ จากนั้นยังไดชวยดึงผูโดยสารคนอื่นๆออกมาอีกดวย

3  

วิเคราะห การเตรียมความพรอม (Preparedness) 1. อุบัติภัยรถไฟตกราง(Rail Accident) เปนสาธารณภัย (Hazard) ชนิดหนึง่ที่มีระดับความรุนแรงระดบักลาง 2. ความออนแอ (Vulnerability) เกิดจากระบบการจัดการที่ไมไดรองรบัความผิดพลาดที่เกิดขึ้นเพียงอยาง

เดียว กรณีทีส่าเหตุผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากผูขับรถไฟเพยีงประการเดยีวก็เกิดอุบัติภัยข้ึนไดแลว แมทราบวารถไฟไดฝาไฟแดงตั้งแตสถานีกอนแลวแตไมสามารถปองกันอุบตัิภัยได รางและไมหมอนเกา รวมทั้งรถไฟเกาแลว

3. ศักยภาพในการจัดการสาธารณภัย (Capacity) หมายถึง ผลรวมของสมรรถนะ (Capability and Competency) ทรัพยากร การเตรียมความพรอม (Preparedness) ซึ่งเหตุการณนี้จะเห็นวาภาครัฐมีศักยภาพดอยกวาบรรดามูลนิธิ ที่มีความพรอมมากทั้งการสื่อสาร การเขาถึงจุดเกิดเหตุ การมีอุปกรณการกูภัยที่พรอม และมีความรูความชํานาญทั้งการกูภัย และการกูชีพ

4. ความเสี่ยงตอภัย (Risk) ที่จะเกิดความเสยีหายเชนการเสียชีวิต การบาดเจ็บ ตามสตูร ความเสี่ยง (Risk) = Hazard X Vulnerability Capacity(Readiness for response)

วิเคราะห การจัดการตอบโตภาวะฉุกเฉนิ (Emergency Response) 1. พ้ืนที่ปฏิบัตกิารกวางเพราะเปนพื้นที่วาง (Operational Zoning Area) จุดจอดรถพยาบาล (Ambulance

Vehicle Parking Point) และ จุดนําสงผูปวยข้ึนรถพยาบาล (Loading Point) ไมมีปญหา 2. การรับแจงเหตุและสื่อสาร (Call Taking) ทําไดเร็วเพราะมีผูพบเหน็เหตุการณและแจงเหตุเรว็ (Early

Detection and Early Reporting) 3. ชุดปฏิบัติการ (Emergency Medical Unit)ไปถึงที่เกิดเหตุเร็ว แตการคัดแยกทําไมได (Triage) เพราะเปนที่

แคบ ๆมีการประสานการชวยเหลือเปนไปอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ไมวาจะเปนขั้นตอนทั้งการกูภัยและการกูชีพ

4. การบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ (On Scene Care) การลําเลียงหรือขนสง (Care In Transit) การนําสงสถานพยาบาล (Transfer to Definitive Care) ทําไดเร็วและเหมาะสม

5. ผลลัพธ คือนอกจากการเสยีชีวิต ณ จุดเกิดเหต ุ7 ราย แลว ผูปวยฉุกเฉินไมมีการเสียชีวิตเพิ่มจากการปฏิบัติการฉุกเฉินกอนถึงสถานพยาบาล (Pre-hospital Emergency Medical Care)

วิเคราะห การจัดการหลังเกดิภัย (Rehabilitation and Reconstruction) 1. ทั้งภาครัฐและเอกชนใหความชวยเหลือเยียวยาผูประสพภัยและญาติ 2. มีการใหคําปรึกษาทางจิตใจ ที่โรงพยาบาลหัวหิน 3. มีการจัดการศพและการเคลือ่นยายศพที่เหมาะสมโดยสถานพยาบาลและมลูนิธ ิ

4  

สรุปยอดผูบาดเจ็บ

ปจจุบันผูบาดเจ็บนอนพักทั้งหมด

อาการคงที่ ICU NO โรงพยาบาล

ปจจุบันผูบาดเจ็บทั้งหมด

เสียชีวิตที่โรงพยาบาล

ชาย หญิง

รวมนอนรพ.ทั้งหมด

ชาย หญิง ชาย หญิง

หมายเหตุ

1. ยายไป รพ.สุราษฎร หญิง 2 ราย (5 ต.ค. 52)

2. ยายไป รพ.เกษมราษฎรประชาชื่น ชาย 1 ราย(5 ต.ค. 52) 1 หัวหิน 71 - 6 6 12 4 6 2 -

3. ยายไป รพ.พญาไท 2 หญิง 1 ราย

2 ซานเปาโล 11 - 1 3 4 1 3 - - 1. ยายไป รพ.เกษมราษฎรบางแค หญิง 1 ราย (สปส.) (5 ต.ค. 52)

3 คายธนะรัตน 2 - - 1 1 - 1 - - 1.รับยายจาก รพ.ปราณบุรี หญิง 1 ราย (5 ตค52)

4 ปราณบุรี 4 - - - - - - - - สงตอไปรพ.คายธนะรัตน หญิง 1 ราย(5 ต.ค 52) และกลับบาน 3 ราย

5 สุราษฎรธานี - - - 2 2 2 - - 1. รับยายจาก รพ.หัวหิน หญิง 2 ราย (5 ต.ค. 52)

6 เกษมราษฎรบางแค - - - 1 1 1 - - 1. รับยายจาก รพ.หัวหิน หญิง 1 ราย (5 ต.ค 52) (สิทธิ์ สปส.)

7 เกษมราษฎรประชาชื่น - - 1 1 1 - - 1. รับยายจาก รพ.หัวหิน ชาย 1 ราย (5 ต.ค 52) สิทธิ์ประกันชีวิต

8 พญาไท 2 - - - 1 1 1 - - 1. รับยายจาก รพ.หัวหิน หญิง 1 ราย เปนพนักงานของ รพ.พญาไท 2 (5 ต.ค. 52) (สปส.รพ.เปาโล)

รวม 88 - 8 14 22 6 14 2 0

เสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุ 7 ราย เปนหญิง ขอมูลจาก : สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาต ิ

จึงเรียนมาเพื่อทราบ

1

รายงานการสบืคน

การแพทยฉุกเฉิน : อุบัติภัยรถไฟตกราง

สถานีรถไฟเขาเตา อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ

สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ

สรุปผลการสืบคนทางการแพทยฉุกเฉิน

กรณีรถไฟตกราง วันที่ 5 ต.ค 2552

Hazard(สาธารณภัย) = อุบัติภัยระบบราง(Rail Accident)

Vulnerability(ความออนแอ)=รถไฟ ราง ระบบความปลอดภัย

Risk (ความเสี่ยง) = ความเสียหาย

Preparedness (การเตรียมความพรอม)

Response (การสนองตอบ)

ประเด็นที่สบืคน

สถานีเขาเตา

ลําดับเหตุการณ

รถไฟ เปนขบวนรถเรว็ หมายเลข ๘๔ จาก กันตัง – กทม.

จํานวน ๑๗ โบกี้ (รวมหวัรถไฟ) สถานีขึ้นสัญญาณไฟแดง

ใหหยุดรอกอนถึงสถานี

ขบวนรถสินคา หมายเลข ๗๐๑ หยุดรอหลีกเขาทางหลีก

สถานีสับรางไวรอรถสนิคาเขา

แผงควบคุม

สัญญาณไฟ

จุดสับราง

รางหลกั

รางหลกีรถสนิคา

จุดสับราง

จุดสับราง

รางรองรับความเร็วเพียง ๖๐ กม.ตอชั่วโมง

หลุดออกจากราง

คว่าํ

โบกีท้ี่ ๑ หัวรถไฟ

โบกีท้ี่ ๒ รถเสบียง

โบกีท้ี่ ๒ รถเสบียง

โบกีท้ี่ ๒ รถเสบียง

โบกี้ ๓ และ ๔

โบกี้ ๔ และ ๓

โบกี้ ๓ และ ๔

โบกี้ ๓

โบกี้ ๔

โบกี้ ๕ และ ๔

โบกี้ ๖

โบกี้ ๕ โบกี้ ๔โบกี้ ๓

โบกี้ ๗

โบกี้ ๖

โบกี้ ๘

โบกี้ ๙

สอบถาม

รองผูวาราชการจังหวัด

ถอดบทเรียนอาสาสมคัร

เวลา ๐๔.๔๕ น.ไดรับแจงเหตุ ๑๖๖๙ จากผูโดยสารบนรถไฟ

ชาวบานแจงไปยังมูลนิธิหัวหินสงเคราะห ถึงที่

เกิดเหตุเวลา ๐๕.๐๐ น.

มูลนิธิสวางแผไพศาล ปราณบุรี ไดรับแจงจาก

ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการ จังหวัดประจวบฯถงึที่

เกิดเหตุ หลัง ๐๕.๐๐ น. เล็กนอย

มูลนิธิ

โบกี้ ๓ ตาย ๒ สาหัส ๓

เครือ่งตัดถาง

ชองแคบๆ

ชวยทีละคน พบใครกอนชวยกอน

เครือ่งตัดถาง ใชโซผูกกับอีกโบกีห้นึ่ง

ใหน้ําเกลอืกอน

โบกี้ ๔ ตาย ๓ สาหัส ๔

ตํารวจจดัจราจร การจอดรถ พื้นที่กวาง

โรงพยาบาลหัวหิน

โรงพยาบาลหัวหิน

ผูอํานวยการโรงพยาบาล

NO รพ.

ปจจุบัน

ผูบาดเจ็บ

ทั้งหมด

เสียชีวิต

ที่รพ.

ปจจุบัน

ผูบาดเจ็บ

นอนพัก

ทั้งหมด

รวมนอน

รพ.

ทั้งหมด

อาการคงที่ ICUหมายเหตุ

ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง

1 หัวหิน 71 - 6 6 12 4 6 2 -1. ยายไป รพ.สรุาษฎร

หญิง 2 ราย (5 ต.ค. 52)

2. ยายไป รพ.เกษมราษฎร

ประชาชื่น ชาย 1 ราย(5

ต.ค. 52)

3. ยายไป รพ.พญาไท 2

หญิง 1 ราย

2 ซานเปาโล 11 - 1 3 4 1 3 - -

1. ยายไป รพ.เกษมราษฎร

บางแค หญิง 1 ราย

(สปส.)(5 ต.ค. 52)

3 คายธนะรัตน 2 - - 1 1 - 1 - -1.รบัยายจาก รพ.ปราณ

บุรี หญิง 1 ราย (5 ตค52)

NO รพ.

ปจจุบัน

ผูบาดเจ็บ

ทั้งหมด

เสียชีวิต

ที่รพ.

ปจจุบัน

ผูบาดเจ็บ

นอนพัก

ทั้งหมด

รวมนอน

รพ.

ทั้งหมด

อาการคงที่ ICUหมายเหตุ

ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง

4 ปราณบรุี 4- -

- - - -- -

สงตอไปรพ.คายธนะรัตน

หญงิ 1 ราย(5 ต.ค 52) และ

กลับบาน 3 ราย

5 สุราษฎรธานี - - - 2 2 2 - -1. รับยายจาก รพ.หัวหิน หญงิ

2 ราย (5 ต.ค. 52)

6เกษมราษฎร

บางแค-

- - 1 1 1 - -1. รับยายจาก รพ.หัวหิน หญงิ

1 ราย (5 ต.ค 52) (สิทธิ์ สปส.)

7เกษมราษฎร

ประชาชื่น-

-1 1 1

- -

1. รับยายจาก รพ.หัวหิน ชาย

1 ราย (5 ต.ค 52) สิทธิ์ประกัน

ชีวิต

8 พญาไท 2 -

-

- 1 1 1

- -

1. รับยายจาก รพ.หัวหิน หญงิ

1 ราย เปนพนักงานของ รพ.

พญาไท 2 (5 ต.ค. 52) (สปส.

รพ.เปาโล)

รวม 88 - 8 14 22 6 14 2 0

เสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุ 7 ราย เปนหญิง ขอมูลจาก : สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ

วิเคราะห การเตรียมความพรอม (Preparedness)

1.อุบัติภัยรถไฟตกราง(Rail Accident) เปนสาธารณภัย (Hazard) ชนิด

หนึ่งที่มีระดับความรุนแรงระดับต่ําหรือกลาง

2.ความออนแอ (Vulnerability) เกิดจากระบบการจัดการที่ไมได

รองรับความผิดพลาดที่เกิดขึ้นเพียงอยางเดียว กรณีที่สาเหตุ

ผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากผูขับรถไฟเพียงประการเดียวก็เกิดอบุัติภัยขึ้น

ไดแลว แมทราบวารถไฟไดฝาไฟแดงตั้งแตสถานีกอนแลวแตไม

สามารถปองกันอุบัติภัยได รางและไมหมอนเกา รวมทั้งรถไฟเกา

3.ศักยภาพในการจัดการสาธารณภยั (Capacity) หมายถงึผลรวมของสมรรถนะ

(Capability and Competency) ทรพัยากร การเตรยีมความพรอม

(Preparedness) จะเหน็วาภาครัฐมีศกัยภาพดอยกวาบรรดามูลนิธิ ที่มีความ

พรอมมากทั้งการสือ่สาร การเขาถึงจุดเกิดเหต ุการมีอุปกรณการกูภยัทีพ่รอม

และมีความรูความชํานาญ

4.ความเสี่ยงตอภยั (Risk) ที่จะเกิดความเสยีหายเชนการเสยีชีวิต การบาดเจ็บ

ความเสีย่ง (Risk) = Hazard X Vulnerability

Capacity(Readiness for response)

วิเคราะห การจัดการตอบโตภาวะฉุกเฉิน (Emergency

Response)

1.พื้นที่ปฏิบัติการกวางเพราะเปนพื้นที่วาง (Operational Zoning Area)

จุดจอดรถพยาบาล (Ambulance Vehicle Parking Point) และ จุดนําสง

ผูปวยขึ้นรถพยาบาล (Loading Point) ไมมีปญหา

2.การรับแจงเหตุและสื่อสาร (Call Taking) ทําไดเร็วเพราะมีผูพบเห็น

เหตุการณและแจงเหตุเร็ว (Early Detection and Early Reporting)

3.ชุดปฏิบัติการ (Emergency Medical Unit)ไปถึงที่เกิดเหตุเร็ว แตการ

คัดแยกทําไมได (Triage) เพราะเปนที่แคบๆ มีการประสานการ

ชวยเหลือเปนไปอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ทั้งกูภัยและกูชีพ

4.การบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน ณ จุดเกดิเหตุ (On Scene Care) การ

ลําเลียงหรือขนสง (Care In Transit) การนําสงสถานพยาบาล

(Transfer to Definitive Care) ทําไดเร็วและเหมาะสม

5.ผลลัพธ คอืนอกจากการเสียชวีิต ณ จุดเกิดเหตุ 7 ราย แลว ผูปวย

ฉุกเฉินไมมีการเสียชีวิตเพิ่มจากการปฏิบัติการฉุกเฉินกอนถึง

สถานพยาบาล (Pre-hospital Emergency Medical Care)

วิเคราะห การจัดการหลังเกิดภัย (Rehabilitation and Reconstruction)

1.ทั้งภาครัฐและเอกชนใหความชวยเหลือเยียวยาผูประสพภัยและญาติ

2.มีการใหคําปรึกษาทางจิตใจ ที่โรงพยาบาลหัวหนิ

3.มีการจัดการศพและการเคลื่อนยายศพที่เหมาะสมโดยสถานพยาบาลและมูลนิธิ

รถไฟกรุงเทพฯ-น้ําตก ขบวนที่ 901 ตกรางที่กาญจน 6 โบกี้

11..00 น. วันที่ 8 ก.ค.

รถไฟสายธนบุรี-น้าํตก ขบวนที่ 257 ตกราง

5 โบกี้ที่กาญจน เพราะฝนตกถนนลื่น ผูโดยสารไทย

และเทศกวา 100 คน รอด

10.55 น.

วันที่ 1 ตุลาคม

เมือ่วันที่ 14 ตุลาคม เวลา 15.40 น. รถไฟสาย

กรุงเทพฯ-กาญจนบุรี ตกรางที่บริเวณสถานียอยทรง

พล เขตเทศบาลเมอืงบานโปง จ.ราชบุรี ผูโดยสาร 280

คน ปลอดภัย คาดวาเกดิจากทางรถไฟเกาชาํรุด

เมือ่วันที่ 16 ตุลาคม เวลา 6.30 น. รถไฟสาย

นครราชสีมา – แกงคอย ชนรถปกอพั ใกลสถานีแกง

คอย คนขับรถปกอพัเสียชีวติ

สถาบันการแพทยฉกุเฉนิแหงชาติ

ขอบคุณครับ

top related